คุณสมบัติของคอนกรีตสด

Download Report

Transcript คุณสมบัติของคอนกรีตสด

คุณสมบัตขิ องคอนกรีตสด
คอนกรีตสด (Fresh Concrete) คือ คอนกรีตที่
ผสมเสร็จใหม่ หรือ คอนกรีตที่ยงั มีความเหลวเหมาะ
ทีจ่ ะนาไปใช้ งาน
คุณสมบัติของคอนกรีตสดทีด่ ี
- ผสมได้เพียงพอจนมีเนื้อสม่ำเสมอเหมือนกันทั้งโม่
- มีควำมสำมำรถเทได้
- ไม่เกิดกำรแยกตัว ระหว่ำงกำรลำเลียงหรื อขณะเทคอนกรี ต
- ไม่เกิดกำรเยิม้ มำกเกินไป จนทำให้แต่งผิวหน้ำไม่สะดวก และมีผลกระทบต่อ
คุณภำพของคอนกรี ตเมื่อแข็งตัวแล้ว
- มีเวลำในกำรก่อตัวนำนพอที่สำมำรถทำงำนได้
- มีอุณหภูมิพอเหมำะไม่สูงเกินไป
- ควรมีปริ มำณฟองอำกำศพอเหมำะ
ความสามารถเทได้ (workability)
คานิยาม ปริ มำณงำนที่ใช้ในกำรอัดคอนกรี ตให้แน่นโดยปรำศจำกกำรแยกตัว
ช่ องว่ างในเนือ้ คอนกรีต
มี 2 ประเภทคือ
1. ช่องว่ำงเนื่องจำกกำรจี้เขย่ำไม่ดี(Entrapped Air)
2. ช่องว่ำงที่เกิดจำกน้ ำส่ วนเกิน(Excess Water)ที่ระเหยออกไป
ช่องว่ำงที่อยูใ่ นเนื้อคอนกรี ตจะทำให้ควำมหนำแน่นของคอนกรี ตลดลงและ
ส่ งผลให้กำลังอัดลดลงอย่ำงมำก โดยช่องว่ำง 5 %ทำให้กำลังอัดลดลงถึง 30 %
การลดช่ องว่ าง ทำได้โดยเลือกใช้คอนกรี ตที่มีค่ำอัตรำส่ วนน้ ำต่อซีเมนต์
ที่ต่ำ เลือกใช้มวลรวมที่มีส่วนคละดี คอนกรี ตต้องมีควำมเหลวพอที่จะจี้เขย่ำเข้ำ
แบบได้ง่ำย รวมทั้งเลือกใช้น้ ำยำผสมคอนกรี ตที่มีประสิ ทธิภำพ และต้องจี้เขย่ำ
คอนกรี ตอย่ำงถูกต้องและเพียงพอ
กำรทดสอบควำมสำมำรถเทได้ทำได้หลำยวิธี โดยทัว่ ไปนิยมใช้กำร
ทดสอบกำรยุบตัว แต่มีวิธีอื่นอีกเช่น
กำรทดสอบ
มำตรฐำนกำรทดสอบ
1.กำรอัดแน่น
2.เวลำ vebe
3.กำรยุบตัว
4.กำรจมตัวของลูกบอล
5.กำรไหลตัว
BS 1881
BS 1881
ASTM C 172/BS 1881
ASTM C 360
DIN 1048
ขอบข่ำยกำรใช้
คอนกรี ตแข็ง-แข็งมำก
คอนกรี ตแข็ง-แข็งมำก
คอนกรี ตทัว่ ไป
คอนกรี ตเหลวปำนกลำง
คอนกรี ตเหลวมำก
การวัดค่ าความสามารถเทได้ วธิ ีอนื่ ๆ
1.การทดสอบสั ดส่ วนการอัดแน่ น
วัตถุประสงค์ เพื่อหำว่ำคอนกรี ตมีควำมสำมำรถทำงำนมำกน้อยเพียงใด
เหมำะที่จะทดสอบกับคอนกรี ตแห้งหรื อควำมสำมำรถทำงำนได้ต่ำ
มำตรฐำนที่ใช้ BS 1882 : PART 103 : 1983
Method for Determination of COMPACTING FACTOR
วิธีทดสอบ
1.ตักคอนกรี ตใส่ กรวยบนจนเต็ม
2.เปิ ดฝำของกรวยบนให้คอนกรี ตตกลงมำกรวยล่ำง
3.เปิ ดฝำกรวยล่ำงให้คอนกรี ตตกไปยังภำชนะทรงกระบอก
4. ปำดผิวหน้ำภำชนะทรงกระบอกให้เรี ยบ
5.ชัง่ น้ ำหนักคอนกรี ต ถือเป็ น Weight of Partially Compacted Concrete
6.เทคอนกรี ตออก จำกนั้นใส่ ใหม่เป็ นชั้นๆ 6 ชั้น กระทุง้ ให้แน่น
7.ชัง่ น้ ำหนักคอนกรี ตอัดแน่น ถือเป็ น Weight of Fully Compacted
Concrete
8.หำ Compaction Factor(C.F.)จำก
C.F.= Weight of Partially Compacted Concrete
Weight of Fully Compacted Concrete
f96f6a411
2.การทดสอบวีบ(ี Vebe Test)
เหมำะสำหรับทดสอบในห้องปฏิบตั ิกำรและคอนกรี ตที่ค่อนข้ำงแห้ง
มำตรฐำนที่ใช้ BS 1881 : PAST 104 : 1983
Method for Determinate of VEBE TIME
วิธีทดสอบ
1.วำงกรวยกลำงชุดเขย่ำ ตักคอนกรี ตใส่ ดึงกรวยขึ้น
2.เลื่อนแผ่นแก้ววำงบนคอนกรี ต
3.เริ่ มเขย่ำจนกว่ำผิวแก้วจะสัมผัสกับคอนกรี ต
ทัว่ แผ่น โดยช่องอำกำศใต้ผวิ แก้วจะถูก
กำจัดไป
4.จับเวลำตั้งแต่เริ่ มเขย่ำจนเสร็ จ
3.การทดสอบการจมของลูกบอลล์เคลลี่
เป็ นกำรทดสอบควำมสำมำรถเทได้ของคอนกรี ตที่ง่ำยและรวดเร็ ว
มำตรฐำนที่ใช้ ASTM C 360
Test for BALL PENETRATION IN FRESH PORTLAND
CONCRETE
วิธีทดสอบ
1.ตักคอนกรี ตผสมเสร็ จใหม่
ใส่ ภำชนะ
2.หย่อนลูกกลมโลหะเคลลี่อย่ำงเบำๆลง
คอนกรี ตที่เรี ยบได้ระดับแล้ว
3.สังเกตควำมลึกของกำรจมตัว
องค์ ประกอบทีม่ ีผลต่ อความสามารถเทได้
1. จานวนนา้ ในส่ วนผสม
- กำรเพิ่มน้ ำจะทำให้เกิดกำรหล่อลื่นในระหว่ำงอนุภำคมำกขึ้น
- น้ ำที่เพิ่มขึ้นจะทำให้เกิดช่องว่ำงเมื่อคอนกรี ตแข็งตัว จึงควรหำปริ มำณที่
เหมำะสม
2. คุณสมบัตขิ องหิน ทราย
- หิ นทรำยที่มีส่วนคละดีจะทำให้คอนกรี ตมีควำมสำมำรถในกำรเทได้ดี
- หิ นที่กลมเกลี้ยงจะลื่นไหลดีกว่ำหิ นแบนหรื อขรุ ขระ
- ควำมพรุ นมวลรวมจะทำให้ดูดซึมน้ ำสู งและลดควำมสำมำรถเทได้ลง
3. ส่ วนผสมของคอนกรีต
- ส่ วนผสมที่มีอตั รำส่ วนน้ ำต่อซีเมนต์คงที่ ค่ำควำมสำมำรถเทได้จะเพิ่มขึ้นถ้ำ
อัตรำส่ วนของมวลรวมต่อซีเมนต์ลดลง
- ส่ วนผสมที่มีอตั รำส่ วนของทรำยต่อมวลรวมทั้งหมดต่ำ ทำให้ควำมสำมำรถ
ในกำรเทได้ต่ำลง
4. ชนิดของปูนซีเมนต์
5. สารผสมเพิม่
- สำรผสมเพิ่มที่เป็ นผง จะช่วยเพิ่มควำมลื่นไหล
- สำรเพิม่ ฟองอำกำศจะทำให้ลื่นไหลดี แต่กำลังอัดอำจลดลง
- น้ ำยำประเภทลดน้ ำและยืดเวลำกำรก่อตัวจะช่วยเพิม่ กำรลื่นไหล
การยึดเกาะ(Cohesion)
คานิยาม คุณสมบัติของเนื้อคอนกรี ตที่สำมำรถจับรวมตัวเป็ นกลุ่มหรื อสลำยตัว
ออกจำกกันได้ยำก
ปัจจัยสาคัญ
- ปริ มำณของซีเมนต์เพสต์ที่เพียงพอที่จะยึดหิ นทรำยเข้ำด้วยกัน
- มีควำมข้นเหลวที่เหมำะสม
การแยกตัว(Segregation)
คานิยาม กำรแยกออกของส่ วนประกอบต่ำงๆในเนื้อคอนกรี ต ทำให้ส่วนผสมมี
เนื้อไม่สม่ำเสมอ
รู ปแบบของการแยกตัวของคอนกรีต
1. มวลรวมหยำบแยกตัวออกจำกส่ วนผสม เนื่องจำกกำรเคลื่อนที่ของ
คอนกรี ตผ่ำนทำงชันหรื อมวลรวมหยำบจมตัวลงมำกกว่ำมวลรวมละเอียด
2. น้ ำปูนแยกตัวออกจำกส่ วนผสมเนื่องจำกส่ วนผสมเหลวมำกเกินไป
สาเหตุการแยกตัวของคอนกรีต
1. ใช้หินทรำยที่มีควำมถ่วงจำเพำะแตกต่ำงกันมำก
2. ใช้สดั ส่ วนผสมคอนกรี ตไม่เหมำะสม
3. กำรขนย้ำย กำรเทลงแบบ และกำรจี้เขย่ำไม่ถูกวิธี
การป้ องกันการแยกตัว
1. ใช้หินทรำยที่มีขนำดคละดี มีควำมถ่วงจำเพำะแตกต่ำงกันไม่มำก
2. ทำให้คอนกรี ตเหลวและมีควำมสำมำรถเทได้โดยใช้น้ ำยำประเภทลดน้ ำ
3. เลือกสัดส่ วนผสมคอนกรี ตให้เหมำะสมและจี้เขย่ำคอนกรี ตอย่ำงถูกวิธี
การเยิม้ (Bleeding)
คานิยาม กำรแยกตัวชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นเมื่อส่ วนประกอบที่หนักกว่ำจมตัวลง
ดันน้ ำซึ่งเบำที่สุดขึ้นสู่ ผวิ คอนกรี ต
ผลกระทบต่ อคุณภาพคอนกรีต
1.ผิวด้ำนบนของคอนกรี ตมีค่ำอัตรำส่ วนน้ ำต่อซีเมนต์สูง ทำให้คอนกรี ตมี
กำลังอัดและควำมคงทนลดลง เมื่อถูกแรงกระทำและขัดสี จะแตกร้ำวและผิวหน้ำ
หลุดร่ อน
2. นอกจำกมีน้ ำลอยตัวขึ้นมำ ยังมีบำงส่ วนถูกกักไว้ใต้มวลรวมหยำบหรื อ
เหล็กเสริ ม ทำให้เมื่อคอนกรี ตแข็ง จะเกิดช่องว่ำงเรี ยงตัวในทิศทำงเดียวกัน ทำให้
เนื้อคอนกรี ตเป็ นโพรง กำรซึมผ่ำนของน้ ำในคอนกรี ตจึงเพิ่มขึ้น
ค่ำกำรเยิม้ =
ระยะยุบตัว
x 100%
ควำมสู งเดิมของคอนกรี ต
ตัวอย่ าง ควำมสู งเดิมของคอนกรี ต 10 ซม. ระยะยุบตัว 0.1 ซม.
ค่ำกำรเยิม้ = 0.1 x 100 = 1%
10.0
ปัจจัยที่มีผลต่ อการเยิม้
1. ปริ มำณน้ ำในส่ วนผสม กำรลดน้ ำจะลดกำรเยิม้
2. คุณสมบัติของปูนซีเมนต์ กำรเยิม้ จะลดลงถ้ำปูนซีเมนต์มีควำมละเอียดเพิม่ ขึ้น
3. องค์ประกอบทำงเคมีของปูนซีเมนต์ คือถ้ำเป็ นด่ำงมำกจะมีกำรเยิม้ น้อย
4. อุณหภูมิ
5. สัดส่ วนคอนกรี ตที่ใช้ปูนซีเมนต์มำกมี
แนวโน้มเกิดกำรเยิม้ น้อยกว่ำคอนกรี ตที่
ใช้ปูนซีเมนต์นอ้ ย
6. สำรกักกระจำยฟองอำกำศจะลดกำรเยิม้
เวลาการก่ อตัว(Setting Time)
กำรก่อตัว จะมี 3 ขั้นตอน
เริ่ มผสม กำรเริ่ มก่อตัว
กำรก่อตัวเริ่ มต้น
(Stiffening Time) (Initial Setting Time)
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการก่ อตัว
- ชนิดของปูนซีเมนต์
- อุณหภูมิของอำกำศ
- ควำมชื้นสัมพัทธ์
- ควำมหนำบำงของโครงสร้ำงคอนกรี ต
กำรก่อตัวสุ ดท้ำย
(Final Setting Time)
การก่อตัวผิดปกติของคอนกรีต
1. การก่ อตัวผิดจังหวะ (False Set) คือ หลังจำกผสมระยะหนึ่ง คอนกรี ตจะ
แข็งตัวชัว่ ขณะ แต่พอผสมต่อไป ก็จะเหลวเหมือนคอนกรี ตปกติ
2. การก่ อตัวเร็ว(Flash Set) ลักษณะกำรก่อตัวจะเกิดขึ้นเร็ วมำกและจะไม่
คืนสู่ สภำพเหลวอีก เนื่องจำกมีส่วนผสมของ Calcium Aluminate
หรื อ Monosulfo Aluminate มำกเกินไป
การทดสอบคอนกรีต
วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบว่ำส่ วนผสมคอนกรี ตที่ออกแบบไว้มี
คุณสมบัติตำมที่ตอ้ งกำรหรื อไม่
มำตรฐำนที่ใช้ ASTM C 192
Standard method of MAKING AND CURING CONCRETE
TEST SPECIMENTS IN LABORATORY
วิธีทดสอบ
หลังจำกออกแบบส่ วนผสม ให้นำส่ วนผสมมำชัง่ น้ ำหนัก โดย
น้ ำหนักหิ น ทรำย ปรับตำมควำมชื้นในสภำพอำกำศ จำกนั้นเทวัตถุดิบลงโม่
โดยโม่มี 2 ลักษณะ คือ
โม่แบบ Tilt
โม่แบบ Pan
ก่อนกำรผสมคอนกรี ตเพื่อใช้จริ ง ควรผสมมอร์ตำ้ เคลือบโม่ก่อน เพื่อให้
ส่ วนผสมคอนกรี ตที่ผสมถูกต้องและเพื่อให้วตั ถุดิบทั้งหมดผสมเข้ำกันได้ดี
วิธีการผสมตามมาตรฐาน
1. ผสมส่ วนผสม 3 นำที
2. หยุดเครื่ องผสม 3 นำทีปิดฝำโม่ กันไม่ให้น้ ำระเหยออก
3. ผสมต่ออีก 2 นำที
ซึ่งทัว่ ๆ ไปจะมีข้นั ตอนกำรป้ อนส่ วนผสมดังนี้
1.เติมน้ ำประมำณ 10% ลงในเครื่ องผสมแล้วป้ อนมวลรวม 10 % เข้ำเครื่ องผสม
2. เริ่ มเติมปูนซีเมนต์ และ เติมน้ ำ 80% ระหว่ำงกำรป้ อนวัสดุอื่น ๆ
3. เติมน้ ำ 10% สุ ดท้ำยเมื่อป้ อนวัสดุอื่น ๆ ทั้งหมดเข้ำเครื่ องแล้ว
4. หำกมีกำรใส่ น้ ำยำผสมคอนกรี ตประเภทผง ควรผสมรวมกับปูนซีเมนต์ก่อน
หำกเป็ นของเหลว ควรละลำยน้ ำยำผสมกับน้ ำ
หลังจำกผสมคอนกรี ตเสร็ จเรี ยบร้อยให้เทคอนกรี ตใส่ รถเข็นเพื่อนำไปทดสอบ
การทดสอบ
1. การวัดอุณหภูมิ
วัดอุณหภูมิอำกำศและวัดอุณหภูมิคอนกรี ต เพื่อใช้ในกำรวิเครำะห์
2. การทดสอบค่ าการยุบตัว
วัตถุประสงค์ เพื่อหำควำมสำมำรถกำรไหลหรื อเทคอนกรี ตสดลงแบบ
มำตรฐำนที่ใช้ ASTM C 143
Standard Test Method of SLUM OF PORTLAND CEMENT
CONCRETE
วิธีทดสอบ 1.นำอุปกรณ์จุ่มน้ ำให้เปี ยก
2.วำงแผ่นเหล็กบนพื้นรำบ นำโคน
ขึ้นวำง ใช้เท้ำเหยียบปลำยทั้งสองข้ำง
3.ตักคอนกรี ตใส่ โคนแบ่งเป็ นสำมชั้น
ให้ปริ มำณเท่ำๆกัน โดยแต่ละ
ชั้นให้ตำด้วยเหล็กตำ 25ครั้ง เมื่อเต็มโคน
ให้ปำดผิวหน้ำคอนกรี ตให้เรี ยบ
4.ดึงโคนขึ้นตรงๆ แล้ววัดกำรยุบตัวของคอนกรี ต
*ค่ าการยุบตัว คือ ค่ำระยะที่คอนกรี ตยุบตัวลงจำกเดิม โดยวัดที่ก่ ึงกลำงของ
คอนกรี ตที่ยบุ ลงในกำรวัดให้วดั ละเอียดถึง 0.5 ซม.
รู ปแบบกำรยุบตัว
1.กำรยุบตัวแบบถูกต้อง(True Slump) เป็ นกำรยุบตัวภำยใต้น้ ำหนักของ
คอนกรี ต
2.กำรยุบตัวแบบเฉื อน(Shear Slump) เกิดจำกกำรเลื่อนไถลของคอนกรี ต
ส่ วนบน ในลักษณะเฉื อนไปด้ำนข้ำง
3.กำรยุบตัวแบบล้ม(Collapse Slump) เกิดจำกคอนกรี ตเหลวมำก
ค่ำควำมคลำดเคลื่อนในค่ำกำรยุบตัว
มำตรฐำนทัว่ ไปกำหนดให้ควำมคลำดเคลื่อนมีค่ำ + 2.5 ซม.
ค่ ายุบตัวสาหรับงานชนิดต่ างๆและงานพิเศษ
ชนิดของงำนก่อสร้ำง
ฐำนรำก
แผ่นพื้น , คำน , ผนัง ค.ส.ล. , เสำ
ถนน,สนำมบิน
งำนที่ใช้คอนกรี ตปั๊ ม
เสำเข็มเจำะระบบแห้ง
งำนเทคอนกรี ตใต้น้ ำ (Trimie)
งำนคอนกรี ตที่มีเหล็กเสริ มอย่ำงหนำ
ค่ำยุบตัว(ซม.)
7.50 + 2.5
10.0 + 2.5
5.0 + 2.5
10.0 + 2.5
10.0 + 2.5
มำกกว่ำ 15
มำกกว่ำ 15
3.การทดสอบเวลาก่อตัว
วัตถุประสงค์
มำตรฐำนที่ใช้
เพื่อหำเวลำที่เหมำะสมเพื่อนำคอนกรี ตไปใช้งำน
ASTM C 403
Standard Test Method of TIME OF SETTING OF
CONCRETE MIXTURE BY PENETRATION RESISTANCE
วิธีทดสอบ
1.ร่ อนคอนกรี ตผ่ำนตะแกรงเบอร์ 4
2.เทคอนกรี ตที่ผำ่ นตะแกรงลงในแบบทรงลูกบำศก์
3.ใช้เหล็กตำตำให้ทวั่ เพื่อไล่ฟองอำกำศ
4.วัดอุณหภูมิ ปำดผิวให้เรี ยบ
5.วำงทิ้งไว้ เมื่อมีน้ ำลอยขึ้นมำให้ใช้ลูกยำงดูดออก
6.ยกแบบวำงบนเครื่ องทดสอบที่ใส่ หวั กดไว้เรี ยบร้อย แล้วกดหัวกดให้
จมคอนกรี ต 2.5 ซม. จดค่ำน้ ำหนักบนสเกล เวลำที่ใช้กด และขนำดหัวกด
การคานวณ แรงต้ำนทำน = น้ ำหนักที่อ่ำนได้จำกสเกล
พื้นที่หวั กด
4.การทดสอบปริมาณอากาศ
วัตถุประสงค์ งำนก่อสร้ำงบำงประเภท เช่น ห้องเย็น,เขื่อน มี
ข้อกำหนดให้ใช้คอนกรี ตที่มีปริ มำณอำกำศ 3-5%
ถ้ำน้อยกว่ำข้อกำหนดจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ในด้ำนควำมต้ำนทำน
ถ้ำมำกกว่ำเกินไปทำให้กำลังอัดของคอนกรี ตต่ำ
วิธีทดสอบ
1.นำอุปกรณ์จุ่มน้ ำให้เปี ยก
2.ตักคอนกรี ตใส่ แอร์มิเตอร์ แบ่งเป็ น 3 ชั้น แต่ละชั้นใช้
เหล็กตำ ตำ 25 ครั้ง
3.ใช้คอ้ นยำงตีรอบๆแอร์มิเตอร์เพื่อไล่อำกำศ
4.ปำดผิวคอนกรี ตให้เรี ยบ ปิ ดฝำ ขันสกรู ให้แน่น
5. เปิ ดวำล์วใส่ น้ ำทั้งสองข้ำง จนเต็ม
6.อัดอำกำศเข้ำไปในหม้อลมจนเต็ม โดยหน้ำปัดเครื่ อง เข็มจะชี้ที่เลขศูนย์
7.กดปุ่ มอัดอำกำศ ดูค่ำปริ มำณอำกำศจำกหน้ำปัด บันทึกค่ำ
5.การทดสอบหน่ วยนา้ หนัก
วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบหน่วยน้ ำหนักของคอนกรี ต หน่วยน้ ำหนักที่ได้
จำกกำรคำนวณว่ำถูกต้องหรื อไม่
มำตรฐำนที่ใช้ BS 1881 : PART 107
Method of Determination of DENSITY OF COMPACTED
FRESH CONCRETE
วิธีทดสอบ
1.ชัง่ น้ ำหนักถังเปล่ำ
2.ใส่ คอนกรี ต โดยแบ่งเป็ น 6 ชั้น ใช้เหล็กตำ ตำแต่ละชั้นไม่
น้อยกว่ำ 60 ครั้ง
3.ปำดคอนกรี ตให้เรี ยบ
4.ชัง่ น้ ำหนักและคำนวณค่ำหน่วยน้ ำหนัก
การคานวณ
หน่วยน้ ำหนักคอนกรี ต = น้ ำหนักคอนกรี ตในถัง
ปริ มำณถัง
6.การทดสอบการไหลตัว
วัตถุประสงค์ ปัจจุบนั ใช้คอนกรี ตที่มีควำมเหลวมำก ถ้ำวัดค่ำยุบตัวจะ
ได้ค่ำมำกกว่ำ 15 ซม. จึงต้องทดสอบด้วยกำรไหลแทน
มำตรฐำนที่ใช้ DIN 1048 : PART 1
Method for DETERMINATION OF FLOW
วิธีทดสอบ
1.ทำอุปกรณ์ให้เปี ยก
2.วำงโคน ตักคอนกรี ตใส่ โคน 2 ชั้น ตำชั้นละ 10 ครั้ง
3.ปำดผิวให้เรี ยบ
4.ยกโคนขึ้นตรงๆ
5.ยกโต๊ะเขย่ำให้ถึงขอบและปล่อย ทำอย่ำงนี้ 15 ครั้ง คอนกรี ต
จะกระจำยบนโต๊ะเขย่ำ
6.วัดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงคอนกรี ตที่แผ่ออก วัด 2 แนวที่ต้ งั ฉำกกัน
7.ค่ำกำรไหลคือ ค่ำเฉลี่ยเส้นผ่ำนศูนย์กลำงทั้งสองที่วดั ได้ ตำม
มำตรฐำนต้องมำกกว่ำ 55 ซม.
7.การทดสอบการสู ญเสี ยค่ ายุบตัว (slump loss)
เพื่อดูคอนกรี ตมีค่ำยุบตัวลดลงตำมเวลำอย่ำงไร
1.นำคอนกรี ตผสมเสร็ จ วัดอุณหภูมิและหำค่ำกำรยุบตัว
2.เทคอนกรี ตกลับโม่ผสม ปิ ดฝำโม่ไม่ให้น้ ำระเหยและ
ควรเปิ ดเครื่ องผสมเป็ นระยะ
3.เทคอนกรี ตหำค่ำยุบตัว ทำทุกๆ15นำทีจนไม่มีค่ำยุบตัว
วัตถุประสงค์
วิธีทดสอบ
เวลำหลังผสม(นำที)
0
15
30
60
ไม่ใส่ น้ ำยำ
กำรยุบตัว(ซม.)
ใส่ น้ ำยำประเภทยืดเวลำกำรก่อตัว
10
9
7.5
5
10
10
9
7.5