การเยิ้ม

Download Report

Transcript การเยิ้ม

คุณสมบัตขิ องคอนกรี ตสด
Properties Fresh Concrete
คอนกรีตที่ผสมเสร็จใหม่ ๆ เรียกว่ า “คอนกรีตสด”
คุณสมบัตทิ ่ สี าคัญของคอนกรีตสดคือ
-- ความสามารถเทได้ (Workability)
คอนกรี ตที่มี workability ดี จะสามารถเทลงแบบหล่อได้ ดี
-- ทาให้ คอนกรีตแน่ นได้ ง่าย
คอนกรี ตเมื่อแข็งตัวแล้ วไม่เป็ นโพรง มีเนื ้อคอนกรี ตสม่าเสมอ เป็ นผลให้
คอนกรี ตได้ กาลังอัดตามที่ออกแบบและมีความทนทานต่อสภาวะต่างๆ
ได้ ดี
คุณสมบัตขิ องคอนกรีตสดที่ดี
คอนกรี ตที่มีความเหมาะสมที่จะนาไปใช้ งานจะต้ องมีคุณสมบัติ
ที่สาคัญที่ถือว่ าเป็ นคอนกรี ตที่ดี ดังนี ้
1.
2.
3.
4.
ผสมได้ เพียงพอจนมีเนื ้อสม่าเสมอเหมือนกันทังโม่
้
มีความสามารถเทได้
ไม่เกิดการแยกตัว ระหว่างการลาเลียงหรื อขณะเทคอนกรี ต
ไม่เกิดการเยิ ้มมากเกินไป จนทาให้ แต่งผิวหน้ าไม่สะดวก และมีผลกระทบ
ต่อคุณภาพของ คอนกรี ตเมื่อแข็งตัวแล้ ว
5. มีเวลาในการก่อตัวนานพอที่สามารถทางานได้
6. มีอณ
ุ หภูมิพอเหมาะไม่สงู เกินไป
7. ควรมีปริมาณฟองอากาศพอเหมาะ
ความสามารถเทได้ (WORKABILITY)
เป็ นคุณสมบัตทิ ่ ตี ้ องการอย่ างหนึ่งของคอนกรีตสด
- ความสามารถเทได้ หมายถึง การที่คอนกรี ตสดสามารถไหลเข้ าแบบหล่อ
ได้ ดี ส่วนผสมไม่เกิดการแยกตัว สามารถทาให้ คอนกรี ตแน่นตัวได้ งา่ ย
โดยเนื ้อคอนกรี ตไม่เป็ นโพรงความสามารถเทได้ ของคอนกรี ตเป็ นสิ่งที่ไม่
สามารถใช้ เครื่ องมือในการวัดได้ แต่มีความสัมพันธ์กบั ค่าความข้ นเหลว
(CONSISTENCY) ของคอนกรี ต
ช่ องว่ างหรื อโพรงที่อยู่ในเนือ้ คอนกรี ตจะทาให้ ความหนาแน่ นของ
คอนกรี ตลดลง ส่ งผลให้ กาลังอัดลดลงอย่ างมาก
อัตราส่ วนความหนาแน่ นลดลง 5 % ทาให้ กาลังอัดคอนกรีตลดลงถึง 30%
ช่ องว่ างอยู่ในเนือ้ คอนกรี ตเกิดจากสาเหตุ 2 ประการ
1. ช่องว่างจากการจี ้เขย่าไม่ดี มีฟองอากาศกักขังอยูภ่ ายใน(Entrapped air)
2. ช่องว่างเกิดจากน ้าส่วนเกิน (Excess water) ที่ระเหยออกไป
การลดช่ องว่ าง
การลดช่องว่างทาได้ โดยใช้ คอนกรี ตที่มีความสามารถเทได้ ที่ดี ที่มีความ
ข้ นเหลวที่เหมาะสม ทาให้ คอนกรี ตเทลงแบบและทาให้ แน่นได้ ง่าย ความข้ น
เหลวที่มากเกินไปจะทาให้ เกิดช่องว่างในคอนกรี ต นอกจากนี ้ การจี ้เขย่า
คอนกรี ตมากเกินไปจะทาให้ คอนกรี ตเกิดการแยกตัว (Segregation) การ
กระจายตัวของวัสดุในคอนกรี ตไม่สม่าเสมอ และกาลังอัดจะลดลงด้ วย
ปั จจัยที่มีผลกระทบต่ อความสามารถเทได้
1) ปริมาณนา้ ที่ใช้ ผสมคอนกรีต
ปริมาณน ้าเพิ่มขึ ้น 1 ลิตรต่อคอนกรี ต 1 ลูกบาศก์เมตร จะทาให้
คอนกรี ตมี Slump เพิ่มขึ ้นประมาณ 2 ซม. และกาลังอัดประลัยลดลง
เนื่องจาก W/C สูงขึ ้น ดังนัน้ เพื่อให้ กาลังอัดประลัยคงเดิม จะต้ อง
เพิ่มปริมาณซีเมนต์เพื่อให้ W/C คงที่
2)รูปร่ างและส่ วนคละของมวลรวม
หินทรายที่มีสว่ นคละดี รูปร่างเป็ นก้ อนกลม หินทรายที่มีผิวเรี ยบ
หินที่มีขนาดใหญ่ จะเพิ่ม ความสามารถในการเทได้
3) ความละเอียดของปูนซีเมนต์
4) สารผสมเพิ่ม
เช่น สารลดน ้า สารหน่วงการก่อตัว สารเพิ่มฟองอากาศ
5) ระยะเวลา (Elapsed Time) และ อุณหภูมิ
(Temperature) น ้าผสมคอนกรี ตบางส่วนถูกดูดซับไปโดย
ซีเมนต์เพื่อทาปฏิกิริยา บางส่วนระเหยไปเนื่องจากแดดลม
ทาให้ คอนกรี ตสดสูญเสียความสามารถเทได้ (Slump loss)
การยึดเกาะและการแยกตัวของคอนกรี ตสด
Cohesion and Segregation of Fresh Concrete
การยึดเกาะ(Cohesion) ของคอนกรีตสด
หมายถึง การที่ส่วนผสมของคอนกรี ตสดยึดเกาะหรื อจับตัว
รวมกันเป็ นกลุ่มโดยมีซีเมนต์ เพสต์ เป็ นตัวเชื่อม ยึดหินทรายเข้ า
ด้ วยกัน การยึดเกาะจะดีหรื อไม่ ขึ ้นอยูก่ บั คุณสมบัติของซีเมนต์เพสต์
เป็ นหลัก
ปั จจัยสาคัญมีดงั นี ้
• ปริมาณของซีเมนต์เพสต์ที่เพียงพอที่จะยึดหินทรายเข้ าด้ วยกัน
• ความข้ นเหลวที่เหมาะสม
การแยกตัว (Segregation) ของคอนกรีตสด
หมายถึง การที่ส่วนผสมของคอนกรี ตแยกตัวออกจากกันทาให้ เนือ้
คอนกรี ตสดมีส่วนผสมไม่ สม่าเสมอ เป็ นผลให้ กาลังของคอนกรี ตที่
แข็งตัวแล้ วลดลง
การแยกตัวของวัสดุในคอนกรี ตสดมี 2 รูปแบบ คือ
1. มวลรวมหยาบแยกตัวออกจากซีเมนต์ เพสต์ เนื่องจากการเคลื่อนที่
ของคอนกรี ตผ่านทางชัน หรื อมวลรวมหยาบจมตัวลงมากกว่ามวลรวมละเอียด
2. ซีเมนต์ เพสต์ แยกตัวออกจากหินทราย เนื่องจากส่วนผสมเหลวมาก
เกินไป
เนื ้อคอนกรี ตสดเกิดการแยกตัว
เครื่ องมือทดสอบการต้ านทานต่อการ
แยกตัวของคอนกรี ตสด
สาเหตุการแยกตัวของคอนกรี ต
1. คอนกรี ตมีการยึดเกาะไม่ดี เนื่องจากส่วนผสมไม่เหมาะสม
2. การขนย้ าย และการเทลงแบบ ไม่ถกู ต้ อง
3. การทาให้ คอนกรี ตแน่นไม่ถกู วิธี
4. ใช้ หินทรายที่มีความถ่วงจาเพาะแตกต่างกันมาก
5. ใช้ หินทรายที่มีสว่ นคละไม่เหมาะสม
การป้องกันการแยกตัว
1. การออกแบบให้ คอนกรี ตมีสว่ นผสมที่ถกู ต้ อง
2. การลาเลียง การเท การทาให้ คอนกรี ตแน่น จะต้ องทาให้ ถกู วิธี
3. ใช้ หินทรายที่มีความถ่วงจาเพาะใกล้ เคียงกันและส่วนคละที่เหมาะสม
การเยิ้ม (Bleeding)
การเยิ ้ม คือ การที่น ้าในคอนกรี ตแยกตัวออกมาจากส่วนผสม ลอยตัว
อยูบ่ นผิวหน้ าของคอนกรี ต ซึง่ จะเกิดหลังจากการเทคอนกรี ตเข้ าแบบแล้ ว
และทิ ้งไว้ นิ่งๆ สักครู่
สาเหตุสาคัญของการเยิม้
เกิดจากวัสดุผสมไม่สามารถดูดหรื อดึงน ้าไว้ ได้ น ้าจึงไหลขึ ้นสูผ่ ิวบนของ
คอนกรี ต วัสดุผสมที่เป็ นของแข็งจะจมลงอยูข่ ้ างล่าง
การหาการเยิม้ ของคอนกรี ตสด
ระยะยุบตัว
h
ค่าการเยิ้ ม
ระยะยุบตัว
X 100 %
ความสูงเดิมของคอนกรีต
=
การเยิ้ มของคอนกรีตสด
ตัวอย่าง ระยะยุบตัว 0.4 ซม.
ความสูงเดิมของคอนกรีต 15.2 ซม
ค่าการเยิ้ ม
=
0.40
X 100 = 2.6 %
15.2
รูปการเยิ ้มของน ้าและน ้ายาลดน ้า เนื่องจากใส่น ้าหรื อสารลด
น ้าพิเศษ ในส่วนผสมของคอนกรี ตมากเกินไป
ผลกระทบต่ อคุณภาพคอนกรีต
1.ผิวด้ านบนของคอนกรี ตมีคา่ อัตราส่วนน ้าต่อซีเมนต์สงู (w/c) ทาให้
คอนกรี ตมีกาลังอัดและความทนทานลดลง เมื่อถูกแรงกระทาหรื อขัดสี
จะแตกร้ าวและผิวหน้ าหลุดร่อน
2. นอกจากมีน ้าลอยตัวขึ ้นมา ยังมีบางส่วนถูกกักไว้ ใต้ มวลรวมหยาบ
หรื อเหล็กเสริ ม ทาให้ เมื่อคอนกรี ตแข็ง จะเกิดช่องว่างเรี ยงตัวในทิศทาง
เดียวกัน ทาให้ เนื ้อคอนกรี ตเป็ นโพรง การซึมผ่านของน ้าในคอนกรี ตจึง
เพิ่มขึ ้น
การลดปั ญหาการเยิม้ (Bleeding)
1.ลดปริมาณน ้าที่ใช้ ในการผสมคอนกรี ตลง
2.ใช้ หินทรายที่มีความละเอียดมากขึ ้น
3.เพิ่มปริมาณปูนซีเมนต์ให้ มากขี ้น
4.ใช้ ปนู ซีเมนต์ที่มีความละเอียดมากขึ ้น
5.ใช้ ปนู ซีเมนต์ที่เป็ นด่างมาก (ปูนแข็งตัวเร็ว)
6.ใช้ สารผสมเพิ่ม เช่น สารกักกระจายฟองอากาศ
วิธีการทดสอบการเยิม้ นา้ ของคอนกรีต
มี 2 วิธี
วิธีท่ ี 1 ทดสอบตัวอย่างที่บรรจุในภาชนะโดยการกระทุ้งแน่น และ
การวัดปริมาณน ้าที่เยิ ้มออกมาอยูท่ ี่ผิวหน้ าคอนกรี ตโดยวัดทุก 10 นาที
ในช่วง 40 นาทีแรกหลังจากนันท
้ าการวัดทุก 30 นาที
วิธีท่ ี 2 ทดสอบคอนกรี ตที่บรรจุในภาชนะโดยการเขย่าแน่น และหลังจาก
นันเขย่
้ าเป็ นช่วงๆ โดยการเปิ ดเครื่ องสัน่ หรื อโต๊ ะเขย่าเป็ นเวลา 3 วินาที และ
ปิ ดเป็ นเวลา 30 นาที สลับกันไป และทาการวัดการเยิ ้มน ้าของคอนกรี ต
หลังจาก 1 ชัว่ โมง
การทดสอบความสามารถเทได้ของคอนกรีตสด
การทดสอบความสามารถเทได้ ของคอนกรี ตสด ไม่ อาจทาได้
โดยตรง อย่ างไรก็ตาม แต่ คุณสมบัตทิ ่ ีสามารถตรวจสอบได้ คือ ความข้ นเหลว
(Consistency) ของคอนกรี ต
ความข้ นเหลวของคอนกรี ตขึน้ อยู่กับการผสม และ
สภาพแวดล้ อมอื่นๆ ดังนัน้ ความข้ นเหลวของคอนกรี ตจะไม่ คงที่
ในทางปฏิบัตคิ อนกรี ตที่ใช้ จะต้ องมีความข้ นเหลวที่มีความสม่าเสมอ
มากที่สุดเท่ าที่จะทาได้
การทดสอบความสามารถเทได้ ของคอนกรีตมีหลายวิธี
• การทดสอบโดยการวัดค่ าการยุบตัวของคอนกรี ต (Slump Test)
• การทดสอบโดยการวัดระยะจมของลูกบอลเคลลี่ (Kelly Ball Test)
• การทดสอบโดยวัดค่ าการไหลของคอนกรี ต (Flow Test)
• การทดสอบโดยการวัดสัดส่ วนการอัดแน่ น (Compacting Factor Test)
• การทดสอบโดยการวัดค่ าเวลาที่ใช้ ในการเขย่ าด้ วยเครื่ องวีบี(Vebe Test)
การทดสอบโดยการวัดค่ าการยุบตัวของคอนกรีต (Slump Test)
มาตรฐานที่ใช้ ASTM C 143 Method of Test for Slump of Portland
Cement Concrete
วัตถุประสงค์ เพื่อหาความสามารถการยุบตัวหรื อเทคอนกรี ตสดลงแบบ
อุปกรณ์ ทดสอบ
•แบบหล่อทรงกรวยปลายตัด (Frustum) ทาด้ วยแผ่นเหล็กบางชุบสังกะสี
เส้ นผ่านศูนย์กลางปลายบน 10 ซม. เส้ นผ่านศูนย์กลางปลายล่าง 20 ซม
สูง 30 ซม. มีหจู บั และแผ่นเหล็กยื่นออกมาที่ปลายล่างสาหรับให้ เท้ าเหยียบทัง้
สองข้ าง
•แท่งเหล็กกระทุ้ง (Tamping rod) เส้ นผ่านศูนย์กลาง 16 มม. ยาว 60 ซม.ปลายมน
•แผ่นรองทดสอบที่ไม่ดดู ซับน ้าสาหรับวางบนพื ้นเพื่อทดสอบ
•ภาชนะสาหรับตักคอนกรี ต เกรี ยงเหล็ก บรรทัดเหล็ก หรื อ ตลับเมตร
วิธีการทดสอบการยุบตัว
วิธีทดสอบ 1.นาอุปกรณ์จ่มุ น ้าให้ เปี ยก
2.วางแผ่นเหล็กบนพื ้นราบ นาแบบหล่อทรงกรวยขึ ้นวาง ใช้ เท้ าเหยียบ
ปลายทังสองข้
้
าง
3.ตักคอนกรี ตใส่แบบหล่อแบ่งเป็ นสามชัน้ ให้ ปริมาณเท่าๆกัน โดยแต่ละชัน้
ให้ ตาด้ วยเหล็กตา 25ครัง้ เมื่อเต็มแบบหล่อให้ ปาดผิวหน้ าคอนกรี ตให้ เรี ยบ
4.ดึงแบบหล่อทรงกรวยขึ ้นตรงๆ แล้ ววัดการยุบตัวของคอนกรี ต
การวัดค่ ายุบตัว
รู ปแบบการยุบตัวของคอนกรี ตสด
•
•
•
การยุบตัวของคอนกรีตสดโดยทั่วไปมี 3 แบบ
การยุบตัวแบบถูกต้ อง (True Slump)
เป็ นการยุบตัวของคอนกรีตลงมาตรงๆ
การยุบตัวแบบเฉือน (Shear Slump)
เป็ นการยุบตัวโดยการเลื่อนไถลของคอนกรีตส่ วนบน ในลักษณะเฉือนลงไปด้ านล่ าง
การยุบตัวแบบล้ ม (Collapse Slump)
เป็ นการยุบตัวที่เกิดจากคอนกรี ตมีความเหลวมาก
ค่าคลาดเคลื่อนในค่าการยุบตัว
มาตรฐานทัว่ ไป กาหนดให้ค่าความคลาดเคลื่อนในค่าการยุบตัว มีค่า  2.5 ซม.
เช่น ถ้าต้องการค่ายุบตัว 7.5 ซม.
ค่าที่ยอมรับได้คือ 7.5 2.5 ซม. หรือ 5 - 10 ซม.
การเทคอนกรี ตงานเสาเข็มเจาะ
ขนาดใหญ่ คอนกรี ตควรมีคา่ ยุบตัว
มากกว่า 15 เซนติเมตร
การเทคอนกรี ตงานถนน
โดยทัว่ ไป ใช้ คอนกรี ตที่มีคา่
ยุบตัว7.5±2.5เซนติเมตร
การทดสอบโดยวัดค่ าการไหลของคอนกรีต Flow Test
มาตรฐานที่ใช้ ASTM C 124 Method of Test for Flow of Portland Cement
Concrete by Use of Flow Table
วัตถุประสงค์ ปั จจุบนั ใช้ คอนกรี ตที่มีความเหลวมาก ถ้ าวัดค่ายุบตัวจะ
ได้ คา่ มากกว่า 15 ซม. จึงต้ องทดสอบด้ วยการไหลแทน
อุปกรณ์ ทดสอบ
1.โต๊ ะการไหล (Flow Table)
เป็ นรูปจานแผ่นเรี ยบ ทาด้ วยโลหะขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 30 นิ ้ว (76 ซม)
มีที่สาหรับหมุนเพื่อให้ โต๊ ะการไหลยกขึ ้น
และปล่อยให้ ตกลงได้ เป็ นระยะ 1/2 นิ ้ว (12.7 ซม)
2. แบบหล่ อรู ปกรวยตัด (Frustum Cone)
เส้ นผ่านศูนย์กลางปลายบน 6 3/4 นิ ้ว (17 ซม.)
เส้ นผ่านศูนย์กลางปลายล่าง 10 นิ ้ว (25 ซม.) และสูง 5 นิ ้ว (12.5 ซม.)
3. แท่ งเหล็กกระทุ้ง
เส้ นผ่านศูนย์กลาง 3/4 นิ ้ว (16 มม.) ยาว 24 นิ ้ว (61 ซม.)
วิธีทดสอบ
1. ใช้ ผ้าชุบน ้าเช็ดเครื่ องมือให้ เปี ยกชุ่ม
2.วางแบบหล่อรูปกรวยตัดลงบนกลางจานของโต๊ ะการไหล ตักคอนกรี ตสดที่เพิ่ง
ผสมเสร็จใหม่ๆ ลงในแบบหล่อรูปกรวยตัด โดยแบ่งเป็ น 2 ชัน้ แต่ละชันกระทุ
้
้ งให้
แน่นด้ วยเหล็กกระทุ้ง 25 ครัง้
3.ยกแบบหล่อออก แล้ วใช้ มือหมุนให้ โต๊ ะการไหลยกขึ ้นแล้ วปล่อยให้ ตกระยะ 1/2
นิ ้ว 15 ครัง้ ใน 15 วินาที ซึง่ จะทาให้ คอนกรี ตแผ่กระจายออกไปรอบๆ
4. วัดเส้ นผ่านศูนย์กลางของคอนกรี ตที่แผ่ออก โดยวัด 2 แนวที่ตงฉากกั
ั้
น แล้ วหา
ค่าเฉลี่ย
Flow (%)
=
D - D0
X 100 %
D0
D = เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยของคอนกรีตที่แผ่กระจายออก
D0 = เส้นผ่านศูนย์กลางที่ฐานของแบบหล่อ
การตกกระแทกของโต๊ ะการไหล จะทาให้ มวลรวมหยาบแยกตัวได้
ง่ าย ถ้ าคอนกรี ตมีการยึดเกาะไม่ ดี มวลรวมหยาบจะกระจายแยก
ออกจากมอร์ ตา ถ้ าคอนกรี ตเหลวมาก นา้ ปูนจะไหลออกจากมวล
รวมหยาบ
การทดสอบโดยการวัดสัดส่วนการอัดแน่น Compacting Factor Test
BS 1882 : PART 103 : 1983
Method for Determination of Compacting Factor
วัตถุประสงค์ เพื่อหาว่าคอนกรี ตมีความสามารถทางานมากน้ อยเพียงใด
เหมาะที่จะทดสอบกับคอนกรี ตแห้ งหรื อความสามารถทางานได้ ต่า
มาตรฐานที่ใช้
อุปกรณ์ ทดสอบ
1.เครื่ อง C.F. ประกอบด้ วยกรวยบน (A) กรวยล่าง (B)
และภาชนะรูปทรงกระบอก (C) เส้ นผ่านศูนย์กลาง 15 ซม. สูง 30.5 ซม
2.เหล็กกระทุ้ง (Tamping rod) เส้ นผ่านศูนย์กลาง 16 มม ยาว 60 ซม.
3.เครื่ องชั่ง ขนาดไม่น้อยกว่า 25 กก.
4.ภาชนะตักคอนกรี ต เกรี ยงเหล็ก
วิธีทดสอบ
1.ใช้ ผ้าชุบน ้าเช็ดเครื่ องมือให้ เปี ยกชุ่ม ตักคอนกรี ตใส่กรวยบนจนเต็ม
2.เปิ ดฝาของกรวยบนให้ คอนกรี ตตกลงมากรวยล่าง
3.เปิ ดฝากรวยล่างให้ คอนกรี ตตกไปยังภาชนะทรงกระบอก
4. ปาดผิวหน้ าภาชนะทรงกระบอกให้ เรี ยบ
5.ชัง่ น ้าหนักคอนกรี ต ถือเป็ น Weight of Partially Compacted Concrete
6.เทคอนกรี ตออก จากนันใส่
้ ใหม่เป็ นชันๆ
้ 6 ชัน้ กระทุ้งให้ แน่น
7.ชัง่ น ้าหนักคอนกรี ตอัดแน่น ถือเป็ น Weight of Fully Compacted Concrete
8.หา Compaction Factor(C.F.)จาก
C.F.= Weight of Partially Compacted Concrete
Weight of Fully Compacted Concrete
เปรียบเทียบความข้ นเหลวของคอนกรีตโดยทดสอบด้ วยวิธีต่างๆ
Slump Test
(ซม.)
Flow Test
(%)
Compacting Factor
Dry
0 - 2.5
0 - 20
0.75 - 0.80
กระด้าง Stiff
2.5 - 5.0
15 - 60
0.80 - 0.87
ปานกลาง Medium
5.0 - 10.0
50 - 100
0.87 - 0.95
ความข้นเหลว
แห้ง
เปี ยก
Wet
10.0 - 20.0
90 - 120
0.95 -0.95
เหลว
Sloopy
20.0 - 25.0
110 - 150
0.95 - 1.00
การทดสอบโดยการวัดระยะจมของลูกทรงกลม (Kelly Ball Test)
เป็ นการทดสอบความสามารถเทได้ ของคอนกรี ตที่ง่ายและรวดเร็ว
มาตรฐานที่ใช้ ASTM C 360 Method of Test for Ball Penetration in
Fresh Portland Cement Concrete
อุปกรณ์ ทดสอบ
•เครื่ องมือนีค้ ดิ ค้ นโดย J.W.Kelly จึงตัง้ ชื่อว่ า Kelly Ball Test
ประกอบด้ วยลูกกลมโลหะเส้ นผ่านศูนย์กลาง 15.2 ซม. (6 นิ ้ว)
หนัก 13.6 กก. (30 ปอนด์)
•ภาชนะใส่ คอนกรี ต เส้ นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 60 ซม.
ลึกไม่น้อยกว่า 20 ซม.
ภาชนะใส่คอนกรี ต
วิธีทดสอบ
1.ตักคอนกรี ตผสมเสร็จใหม่ใส่ภาชนะ
2.หย่อนลูกกลมโลหะเคลลี่อย่างเบาๆลงคอนกรี ตที่เรี ยบได้
ระดับแล้ ว
3.สังเกตความลึกของการจมตัว
การทดสอบโดยการวัดค่ าเวลาที่ใช้ ในการเขย่ าด้ วยเครื่องวีบี
(Vebe Test)
เครื่ องมือนีป้ ระดิษฐ์ โดยV. Bahrmer ชาวสวีเดน จึงให้ ช่ ือว่ า Vebe
Consistometerเครื่ องมือทดสอบ Vebe
เหมาะสาหรับทดสอบในห้ องปฏิบตั ิการและคอนกรี ตที่คอ่ นข้ างแห้ ง
มาตรฐานที่ใช้ BS 1881 : PAST 104 : 1983 for Determinate of VEBE
TIME
อุปกรณ์ ทดสอบ
•เครื่ องทดสอบ Vebe Consistometer
•เหล็กกระทุ้ง (Tamping Rod)
•นาฬิกาจับเวลา (Stopwatch)
•ภาชนะตักคอนกรี ต เกรี ยงเหล็ก
วิธีทดสอบ 1.วางกรวยกลางชุดเขย่า ตักคอนกรี ตใส่ ดึงกรวยขึ ้น
2.เลื่อนแผ่นแก้ ววางบนคอนกรี ต
3.เริ่ มเขย่าจนกว่าผิวแก้ วจะสัมผัสกับคอนกรี ตทัว่ แผ่น โดยช่อง
อากาศใต้ ผิวแก้ วจะถูกกาจัดไป
4.จับเวลาตังแต่
้ เริ่ มเขย่าจนเสร็ จ
วิธี Vebe นี้เหมาะสาหรับใช้ทดสอบในห้องปฏิบตั กิ ารเท่านั้น
และเหมาะสาหรับคอนกรีตที่ค่อนข้างแห้ง โดยเวลาวีบีอยูร่ ะหว่าง 5 30 วินาที วิธีน้ ีไม่ควรใช้กบั ส่วนผสมคอนกรีตที่ใช้หินขนาดใหญ่กว่า 1.5 นิ้ว
นอกจากนี้ ความชานาญในการบอกถึงเวลาที่ผิวล่างของแผ่นพลาสติกใสจะ
สัมผัสกับคอนกรีตทั ่วทั้งแผ่น ทาให้เวลาวีบีที่ได้แตกต่างกัน จึงขึ้นอยูก่ บั
ผูท้ าการทดสอบมาก