1. คอนกรีตวัสดุสำหรับโครงสร้าง

Download Report

Transcript 1. คอนกรีตวัสดุสำหรับโครงสร้าง

คอนกรีตวัสดุสำหรั บโครงสร้ ำง
จัดทำโดย
นำยยูกฟ
ิ ลี เปำะแว
5210110487
วิศวกรรมสิ่งแวดล้ อม ปี ที่ 3
คอนกรี ตคืออะไร
• คอนกรี ต คือ วัสดุก่อสร้ างชนิดหนึง่ ที่ใช้ กนั อย่างแพร่หลาย
ตังแต่
้ อดีตจนถึงปั จจุบนั เพราะเป็ นวัสดุที่มีความเหมาะสมทัง้
ราคาและคุณสมบัติต่างๆ เช่น สามารถหล่อขึ ้นรูปตามที่ต้องการ
ได้ ,มีความคงทนสูง,ไม่ติดไฟ,สามารถเทหล่อได้ ในสถานที่
ก่อสร้ าง,ตกแต่งผิวให้ สวยงามได้
• คอนกรี ตเป็ นวัสดุก่อสร้ างที่สาคัญที่สดุ ในปั จจุบนั เนื่องจากได้ มี
การพัฒนาคอนกรี ตให้ มีกาลังสูงขึ ้น และมีความคงทนมากขึ ้น
ประวัตคิ อนกรี ต
คอนกรีต เป็ นวัสดุก่อสร้ างที่ใช้ กนั มาช้ านาน
จากหลักฐานพบว่ามีการใช้ คอนกรี ตทาพื ้นกระท่อม
ของชาวประมงและพวกล่าสัตว์สมัยยุคหิน บริเวณริม
ฝั่ งแม่น ้าดานูป ตังแต่
้ 7,600 ปี ที่ผ่านมา หลังจากนัน้
ได้ มีการพัฒนาคอนกรี ตอย่างต่อเนื่องจนถึงปั จจุบนั
โดยมีรายละเอียดดังนี ้
ปี
5100 ก่ อนพุทธกาล
2500
ก่อนพุทธกาล
2000
ก่อนพุทธกาล
ก่อนพุทธกาล
จนถึง พ.ศ. 1000
500
หลังปี พ.ศ. 1000
พ. ศ. 2299
เหตุการณ์
- ใช้ คอนกรีตเทพืน้ กระท่อม บริเวณริมแม่ นา้ ดานูป
ได้มีการพัฒนามอร์ ตา้ สาหรับสร้างปิ รามิดในประเทศ
อียปิ ต์
- มีการใช้คอนกรี ตบางประเภทในอเมริ กาใต้
-
ชาวกรี กได้พฒั นาคอนกรี ตขึ้นและพวกโรมันได้พฒั นา
คอนกรี ตต่อไปจนได้คอนกรี ตที่มีคุณภาพดี สาหรับการ
ก่อสร้างต่างๆ เช่นโคลี่เซี่ ยม และห้องโถงขนาดใหญ่(
Dome of the Pantheon) ในประเทศอิตาลี่ เป็ นต้น
- สิ้ นสุ ดยุคโรมัน ก็สิ้นสุ ดการใช้คอนกรี ตเช่นกัน
- John Smeaton ได้ใช้ชนิ ดหิ นปูนผสมดินเหนี ยว แล้ว
นามาเผา จากนั้นนา วัสดุที่ได้น้ ี ไปใช้ในงานก่อสร้าง
ประภาคาร บริ เวณช่องแคบอังกฤษ
- การค้นพบของ Smeaton นี้ ทาให้เกิดการพัฒนา
ปูนซี เมนต์ และคอนกรี ตอย่างรวดเร็ ว
-
ปี
เหตุการณ์
พ.ศ. 2367
- Joseph Aspdin ชาวอังกฤษได้ ขอจด
ลิขสิทธิ์ขบวนการผลิตปูนซีเมนต์
โดยให้ ความร้ อนกับหินปูนดินเหนียว
และนามาบดให้ ละเอียด
พ.ศ. 2378
- บ้ านคอนกรีตหลังแรกของโลกได้ ถูก
สร้ างขึน้ ในเมือง Kent ประเทศ
อังกฤษ ลักษณะเป็ นบ้ าน 2 ชั้น
- William Wilkinson ช่างก่อสร้าง
ชาวเมือง Newcastle ได้จดลิขสิ ทธิ์ระบบ
คอนกรี ต
- Jean Loius Lambot ได้สร้างเรื อ
คอนกรี ต (Ferro Cement) ลาแรกของ
โลกโดยใช้คอนกรี ตหุม้ บนเหล็กเสริ มที่
ขึ้นรู ปไว้
- Joseph Monier วิศวกรชาวฝรั่งเศสได้ทา
ท่อคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
- ได้คน้ พบวิธีเผาซีเมนต์โดย Rotary Kiln
พ.ศ. 2397
พ.ศ. 2398
พ.ศ. 2410
พ.ศ. 2423
ปี
พ.ศ. 2423
พ.ศ. 2456
พ.ศ. 2460
พ.ศ. 2463 – 2493
พ.ศ. 2468
พ.ศ. 2471
พ.ศ. 2473
เหตุกำรณ์
- ได้ ค้นพบวิธีเผาซีเมนต์โดย Rotary Kiln
- ได้ มีการจัดตั ้งโรงงานพิมพ์คอนกรี ต
ผสมเสร็จแห่งแรก
- D. Abrahms ได้ พบว่ากาลังอัดคอนกรี ต
ขึ ้นกับอัตราส่วนน ้าต่อซีเมนต์ หรื อ
“w/c Ratio Law”
- พัฒนาข้ อกาหนดของปูนซีเมนต์ปอร์ ต
แลนด์ประเภทต่างๆ เช่น
ปูนซีเมนต์แข็งตัวเร็ว , ปูนซีเมนต์ทน
ซัลเฟต , ปูนซีเมนต์ลดความร้ อน และ
ปูนซีเมนต์ผสม เป็ นต้ น
- ได้ พบวิธีการอัดคอนกรี ตให้ แน่นด้ วย
เครื่ องจี ้เขย่า (Vibrator) และมีการใช้
คอนกรี ตกับงานก่อสร้ างทุกประเภท
- ค้ นพบการใช้ คอนกรี ตเบา (Lightweight
Concrete)
- Eugene Freysinnet ได้ ค้นพบโครงสร้ าง
คอนกรี ตอัดแรง ( Prestressed Concrete)
ปี
เหตุกำรณ์
พ.ศ. 2481
-ได้ ค้นพบ Air Entraining
Admixture ซึง่ เหมาะสาหรับ
คอนกรี ต ในที่ อุณหภูมิ ต่ามากๆ
ตังแต่
้ พ.ศ. 2496
ตังแต่
้ พ.ศ. 2503
ตังแต่
้ พ.ศ. 2525
- มีการใช้ น ้ายาผสมคอนกรี ต
- เริ่ มใช้ คอนกรี ตปั๊ ม
- ได้ เกิดปั ญหาเรื่ องความทนทาน
ของคอนกรี ต และเริ่ มมีการศึกษา
ในเรื่ องนี ้อย่างจริ งจัง
วัสดุผสมที่ใช้ สำหรั บผลิตคอนกรี ตประกอบด้ วยวัสดุ
หลัก 3 อย่ ำง ได้ แก่
1.ปูนซีเมนต์ (Portland cement)
2. มวลรวมผสม (Aggregates)
3.นำ้ (Water)
วัสดุผสมที่ใช้ สำหรั บผลิตคอนกรี ตประกอบด้ วยวัสดุ
หลัก 3 อย่ ำง ได้ แก่
1.1 ปูนซีเมนต์ (Portland Cement) เป็ นวัสดุสว่ นผสมที่สาคัญที่สดุ
สาหรับคอนกรี ตผลิตด้ วยเครื่ องจักรที่มีกระบวนการผลิตที่ เข้ มงวด ผ่าน
ขันตอนการตรวจสอบและทดสอบเป็
้
นระยะ จนได้ ปนู ซีเมนต์ที่มีคุ ณภาพ
และมาตรฐาน ปูนซีเมนต์ที่ผลิตขึน้ มาใช้ มีหลายชนิดดังนัน้ ในการผลิต
คอนกรี ต ส าหรั บ ใช้ งานแต่ ล ะประเภท จะต้ อ งเลื อ กใช้ ปูน ซี เ มนต์ ให้
เหมาะสม เพื่อให้ โครงสร้ างคอนกรี ตมีความแข็งแรง ทนทาน มีอายุ การใช้
งานยืนนาน
วัสดุผสมที่ใช้ สำหรั บผลิตคอนกรี ตประกอบด้ วยวัสดุ
หลัก 3 อย่ ำง ได้ แก่ (ต่ อ)
1.2 มวลรวม (Aggregates) เป็ นวัสดุเฉื่อยที่ใช้ เป็ นตัวแทรก (Inert filler materials)
ในการผสมคอนกรี ตได้ แก่ หิน และทราย ซึง่ มีอยูท่ วั่ ไปในธรรมชาติ แบ่งเป็ น 2
ขนาด คือ
•มวลรวมละเอียด (Fine aggregates) ได้ แก่ ทราย (Sand) มีขนาดของเม็ดทราย
ตังแต่
้ 0.075 มม. - 4.76 มม.
•มวลรวมหยำบ (Coarse aggregates) ได้ แก่ หิน (Gravels) หรื อ หินย่อย
(Crushed stone)
มีขนาดใหญ่กว่า 4.76 มม. ขึ ้นไป
วัสดุผสมที่ใช้ สำหรั บผลิตคอนกรี ตประกอบด้ วยวัสดุ
หลัก 3 อย่ ำง ได้ แก่ (ต่ อ)
1.3 นำ้ (Water) น ้าที่ใช้ ผสมคอนกรี ตจะต้ องเป็ นน ้าจืด
สะอาด น ้าจะเป็ นตัวทาปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์เกิดเป็ น
สารประกอบใหม่ที่มีคณ
ุ สมบัติในการเชื่อมประสานหินทรายเข้ าด้ วยกันและให้ ความแข็งแรงแก่คอนกรี ต
• ปูน ซี เ มนต์ เ มื่ อ ผสมกับ น า้ จะท าปฏิ กิ ริ ย ากั น เรี ย กว่ า
ปฏิกิริยา Hydration เกิ ดเป็ นสารประกอบใหม่ที่ มี
ลักษณะคล้ ายแป้งเปี ยกเรี ยกว่า Cement paste มี
คุณสมบัติในการเชื่อมประสาน
• เมื่อนาส่วนผสมต่างๆเหล่านี ้มาผสมกันจะได้ ค อนกรี ตที่
คงสภาพเหลวอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง พอที่จะไปเทลงในแบบ
หล่อที่มีรูปร่างตามต้ องการได้
• เรี ยกคอนกรี ตในสภาพนี ว้ ่ า ”คอนกรี ตสดหรื อ
คอนกรีตผสมเสร็จใหม่ (Fresh Concrete)”
• หลัง จากนัน้ คอนกรี ต จะเปลี่ ย นสภาพเป็ นของแข็ ง ใน
เวลาต่อมาโดยจะมีกาลังหรื อความแข็งแรงมากขึ น้ ตาม
อายุที่เพิ่มขึ ้น และเมื่อมีคณ
ุ สมบัติผ่า นข้ อกาหนดงาน
คอนกรี ตตามที่ ออกแบบไว้ จึง สามารถเปิ ดใช้ ง านรั บ
น ้าหนัก ได้ ตอ่ ไป
• เรี ยกคอนกรี ตหลังจากเปลี่ยนสภาพเป็ นของแข็งแล้ วนี ้
ว่า “คอนกรีตแข็งตัวแล้ ว(Hardened Concrete)”
สัดส่ วนของวัสดุท่ ใี ช้ ในกำรผสมคอนกรี ต
ส่วนผสมของคอนกรี ตจะมีสดั ส่วนของวัสดุแต่
ละอย่างแตกต่างกันไป ทังนี
้ ้ขึ ้นอยูก่ บั ความ
ต้ องการให้ คอนกรี ตมีคณ
ุ สมบัติตามความ
ต้ องการใช้ งาน เช่น
สัดส่ วนของวัสดุท่ ใี ช้ ในกำรผสมคอนกรี ต
1. คอนกรี ตผสมเสร็ จใหม่ๆ (Fresh concrete) มีความ
ข้ นเหลวที่พอเหมาะในการทางาน เช่น การเทลงแบบหล่อ
ได้ ง่ า ย (Placing)
สะดวกต่อการท าให้ ค อนกรี ต แน่ น
(Compaction) โดยที่คอนกรี ตจะต้ องมีการกระจายของวัส ดุ
อย่างสม่าเสมอ (Uniformity)
2. เมื่อคอนกรี ตแข็งตัวแล้ ว (Hardened concrete)
จะต้ องมีกาลัง (Strength) และความคงทน (Durability) ต่อ
สภาพการใช้ งานตามที่ออกแบบไว้
3. มีราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพ
สัดส่ วนของวัสดุท่ ใี ช้ ในกำรผสมคอนกรี ต(ต่ อ)
ในการผสมคอนกรี ต อาจจะต้ องใช้ น ้ามากกว่า
ที่ต้องการสาหรับการทาปฏิกิริยาทางเคมีอย่าง
สมบูรณ์ เพื่อให้ ได้ คอนกรี ตที่น่มุ เหลว ทางานง่าย
อย่างไรก็ตามกาลังของคอนกรี ตตลอดจน
ความทนทานต่อลมฟ้าอากาศจะลดลงด้ วย ดังนัน้
จึงต้ องใช้ อตั ราส่วนน ้าต่อปูนซีเมนต์ (W/C ratio) ที่
เหมาะสม ปริมาณหินทรายที่ถกู ต้ อง จึงจะได้
คอนกรี ตที่มีกาลังและความทนทานตามต้ องการ
โดยทั่วไป คอนกรี ตมีส่วนผสมโดยปริมำตร
ของเนือ้ วัสดุ (Solid volume) โดยประมำณ ดังนี ้
•
•
•
•
ปูนซีเมนต์ 9% - 16%
น ้า
15% - 25%
หิน ทราย
65% - 75%
ฟองอากาศ 2% - 4%
คอนกรี ตกับเหล็กรู ปพรรณ
คอนกรี ตและเหล็กรูปพรรณเป็ นวัสดุพื ้นฐานที่ใช้ สาหรับ
งานโครงสร้ าง วัสดุทงั ้ 2 ชนิดบางครัง้ จะใช้ รวมกัน แต่บางครัง้
วัสดุทงั ้ 2 ก็กลายเป็ นวัสดุคแู่ ข่งซึง่ กันและกัน
มีข้อแตกต่างกันที่สาคัญ คือ การผลิตเหล็กรู ปพรรณทา
ในโรงงานที่มีการควบคุมอย่างใกล้ ชิดคุณสมบัติต่างๆจะ
ตรวจสอบอย่างละเอียดในห้ องปฏิบตั ิการและมีใบรับรอง
คุณภาพจากโรงงานผู้ผลิต
ดังนันผู
้ ้ ออกแบบเพียงแต่กาหนดขนาดหน้ าตัดของเหล็ก
ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานทัว่ ไปที่ใช้ และผู้ควบคุมการก่อสร้ างก็
มีหน้ าที่ควบคุมให้ การเชื่อมการต่อชิ ้นส่วนโครงสร้ างต่างๆ
เป็ นไปตามที่กาหนด
คอนกรี ตกับเหล็กรู ปพรรณ(ต่ อ)
• หน่ ว ยงานก่ อ สร้ างที่ ใ ช้ ค อนกรี ต นัน้ รู ป การจะ
แตกต่ า งกั น โดยสิ น้ เชิ ง เพราะแม้ ว่ า คุ ณ ภาพ
ปูน ซี เมนต์ จ ะถูก ควบคุม จากโรงงานผู้ผลิตอย่า ง
เคร่งครัด เช่นเดียวกับการควบคุมการผลิตเหล็ก
แต่วสั ดุในโครงสร้ างคือ คอนกรี ตไม่ใช่ปูน ซีเมนต์
การหล่อชิ ้นส่วนโครงสร้ างคอนกรี ตต่างๆจะกระทา
ณ หน่วยงานก่อสร้ าง
คอนกรี ตกับเหล็กรู ปพรรณ(ต่ อ)
ดัง นัน้ คุณ ภาพของคอนกรี ต จะขึ น้ อยู่ กับ
วัสดุองค์ประกอบ, สัดส่วนผสม, การผสม, การ
ลาเลียงการถ่ายเทคอนกรี ตลงแบบ, การอัดแน่น
รวมไปถึงการบ่ม
จะเห็นได้ ชัดเจนว่า ความสาคัญของการ
ควบคุมคุณภาพคือข้ อแตกต่างระหว่างวิธีการผลิต
เหล็กกับคอนกรี ต
คุณสมบัตทิ ่ สี ำคัญของคอนกรี ตและเหล็ก
วัสดุ
ควำม
โมดูลัส
กำลังดึง
ส.ป.ส.กำร กำรนำควำม
หนำแน่ น (กก./ตร.ซม.) ยืดหยุ่น(E) ขยำยตัว
ร้ อน
(กก./ลบ.ม.)
(กก./ตร.ซม.) (10-6/ C)
(W/m.k.)
คอนกรี ต
2,300-2,400
30
2.5×105
10
3
เหล็ก
- ทัว่ ไป
- กาลังสูง
7,800
7,800
3,000
10,000
21×105
21×105
12
11
50
45
องค์ ประกอบของคอนกรี ต
โดยทัว่ ไปวัสดุสาหรับใช้ ผสมทาคอนกรี ตประกอบไปด้ วย
ปูนซีเมนต์ หิน ทราย น ้า และน ้ายาผสมคอนกรี ต เมื่อผสมวัสดุ
ต่างๆเข้ าด้ วยกันเราจะเรี ยกชื่อของวัสดุตา่ งๆที่ผสมกันดังนี ้
• ปูนซีเมนต์ผสมน ้าและน ้ายาผสมคอนกรี ต เรี ยกว่า
ซีเมนต์ เพสต์ (Cement Paste)
• ซีเมนต์เพสต์ผสมกับทราย เรี ยกว่า มอร์ ต้าร์ (Mortar)
• มอร์ ต้าร์ ผสมกับหินหรื อกรวด เรี ยกว่า คอนกรี ต
(Concrete)
หน้ ำที่และคุณสมบัตขิ องส่ วนผสม
• ซีเมนต์ เพสต์
หน้ ำที่ของซีเมนต์ เพสต์ มีดังนี ้
-เสริ มช่องว่างระหว่างมวลรวม
-หล่อลื่นคอนกรี ตสดขณะเทหล่อ
-ให้ กาลังแก่คอนกรี ตเมื่อคอนกรี ต
แข็งตัว รวมทังป
้ ้ องกันการซึมผ่าน
ของน ้า
คุณสมบัตขิ องซีเมนต์ เพสต์
ขึน้ อยู่กับ
-คุณสมบัติของปูนซีเมนต์
-อัตราส่วนน ้าต่อปูนซีเมนต์
-ความสมบูรณ์ของปฏิกิริยา
ระหว่างน ้ากับปูนซีเมนต์หรื อที่
เรี ยกว่า ปฏิกิริยาไฮเดรชัน่
หน้ ำที่และคุณสมบัตขิ องส่ วนผสม(ต่ อ)
• มวลรวม
หน้ ำที่ของมวลรวมมีดังนี ้
คุณสมบัตขิ องมวลรวมที่
สำคัญ
-เป็ นตัวแทรกประสานราคาถูกที่
กระจายอยู่ทวั่ ซีเมนต์เพสต์
-ช่วยให้ คอนกรี ตที่มีความคงทน
ปริ มาตรไม่เปลี่ยนแปลงมาก
-มีความแข็งแรง
-การเปลี่ยนแปลงปริ มาตรต่า
-คงทนต่อปฏิกิริยาเคมี
-ความต้ านทานต่อแรงกระแทก
และการเสียดสี
หน้ ำที่และคุณสมบัตขิ องส่ วนผสม(ต่ อ)
• นา้
หน้ ำที่หลักของนำ้ ในคอนกรีตมี
3 ประกำรคือ
-ใช้ ล้างวัสดุมวลรวมต่างๆ
-ใช้ ผสมกับคอนกรี ต
-ใช้ บม่ คอนกรี ต
หน้ ำที่หลักของนำ้ ที่ใช้ ผสมทำ
คอนกรีตยังแบ่ งได้ อีก 3 ประกำร
-ก่อให้ เกิดปฏิกิริยา ไฮเดรชัน่ กับ
ปูนซีเมนต์
-ทาหน้ าที่หล่อลื่นเพื่อให้ คอนกรี ต
อยู่ในสภาพเหลวสามารถเทได้
-เคลือบ หิน ทราย ให้ เปี ยกเพื่อให้
ซีเมนต์เพสต์จะสามารถเข้ าเกาะได้
โดยรอบ
หน้ ำที่และคุณสมบัตขิ องส่ วนผสม(ต่ อ)
• นำ้ ยำผสมคอนกรีต
หน้ าที่สาคัญของน ้ายาผสมคอนกรี ต คือ ช่วยปรับปรุง
คุณสมบัติทงคอนกรี
ั้
ตที่เหลวและคอนกรี ตที่แข็งตัวแล้ วในด้ าน
ต่างๆเช่น เวลาการก่อตัว, ความสามารถเทได้ , กาลังอัดความ
ทนทาน เป็ นต้ น
ข้ อดีและข้ อเสียของคอนกรี ต
คอนกรี ตเป็ นวัสดุก่อสร้ างที่นิยมใช้ กนั มากตังแต่
้ อดีต เนื่องมาจากความสามารถในการใช้
งานได้ อย่างกว้ างขวางแต่การนาคอนกรี ตไปใช้ งานจะต้ องคานึงถึงข้ อจากัดบางประการ
ด้ วย ในตาราง ได้ สรุปข้ อได้ เปรี ยบและเสียเปรี ยบของคอนกรี ต
ข้ อได้ เปรียบ
ข้ อเสียเปรียบ
1. สามารถหล่อขึ ้นรูปร่างตามที่ต้องการได้ 1. ความสามารถรับแรงดึงต่า
2. ราคาถูก
2.มีความยืดตัวต่า
3. มีความทนทานสูง
3. มีการเปลี่ยนแปลงปริ มาตร
4. ทนไฟได้ ด,ี ไม่ไหม้ ไฟ
4. อัตรากาลังต่อน ้าหนักต่า
5. สามารถเทหล่อได้ ในสภาพที่ก่อสร้ าง
6. สามารถทาให้ ผิวสวยงามได้
คอนกรีตที่ดีกับคอนกรีตที่ไม่ ดี
• คอนกรี ตที่ดี คือคอนกรี ตที่มีคุณสมบัติทาง
วิศวกรรม เป็ นที่พอใจทังในสภาพที
้
่เป็ นคอนกรี ต
เหลว กล่ า วคื อ ตัง้ แต่ ผ สม การล าเลี ย งจาก
เครื่ องผสม การเทลงแบบหล่อ และการอัดแน่น
และเป็ นที่ พ อใจทัง้ ในสภาพคอนกรี ตที่ แข็ ง ตัว
แล้ วเหมาะกับการประยุกต์ใช้ งานตามต้ องการ
และมีต้นทุนหรื อราคาที่เหมาะสม
คอนกรีตที่ดีกับคอนกรีตที่ไม่ ดี(ต่ อ)
• คอนกรี ตที่ไม่ ดี คือคอนกรี ตที่มีคุณสมบัติทาง
วิศวกรรม อย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลายอย่ างไม่
เหมาะสมกับการประยุกต์ใช้ งาน โดยทัว่ ไปจะมี
ความข้ นเหลวไม่เหมาะสมกับการใช้ งาน เมื่ อ
แข็ ง ตัว จะมี รู โ พรงและไม่ เ ป็ นเนื อ้ เดี ย วกั น ทัง้
โครงสร้ าง
คุณสมบัตทิ ่ สี ำคัญของคอนกรี ต
• คอนกรี ตสด
–
–
–
–
–
ความสามารถเทได้
การยึดเกาะ
ความข้ นเหลว
การแยกตัว
การเยิ ้ม
((WORKABILITY))
((COHESION))
((CONSISTENCY))
((SEGREGATION))
((BLEEDING))
คุณสมบัตทิ ่ สี ำคัญของคอนกรี ต(ต่ อ)
• คอนกรีตแข็งตัวแล้ ว
– กาลังอัด
– ความหนาแน่น
– ความทึบน ้า
– ความคงทน
– ต้ านทานการขัดสี
((COMPRESSIVE STRENGTH))
((DENSITY))
((IMPERMIABILITY))
((DURABILITY))
((RESISTANCE TO ABRASION))
คอนกรี ตเป็ นวัสดุก่อสร้ างที่สามารถหล่อขึ ้นรูปตามที่ต้องการได้
ปั จจัยในกำรทำคอนกรี ตที่ดี
การทาคอนกรี ตที่ดีต้องมีขบวนการผลิตที่
เป็ นขันตอนเพื
้
่อให้ ได้ คอนกรี ตที่มีคณ
ุ สมบัติที่ดี
สม่าเสมอ,สามารถเทลงในแบบหล่อที่มีรูปร่าง
ตามต้ องการได้ ,มีความแข็งแรงและความ
คงทน,และที่สาคัญคือทาให้ มีต้นทุนหรื อราคา
ที่เหมาะสมด้ วย
ปั จจัยในกำรทำคอนกรี ตที่ดี(ต่ อ)
กระบวนกำรทำคอนกรี ตทั่วไปอำจเรี ยงลำดับขัน้ ตอนได้ ดังนี ้
ขันตอนที
้
่1
ขันตอนที
้
่2
ขันตอนที
้
่3
ขันตอนที
้
่4
ขันตอนที
้
่5
ขันตอนที
้
่6
ขันตอนที
้
่7
ขันตอนที
้
่8
ขันตอนที
้
่9
ขันตอนที
้
่ 10
การเลือกใช้ วสั ดุผสมคอนกรี ตที่เหมาะสม
การเลือกใช้ สว่ นผสมคอนกรี ตอย่างถูกต้ อง
การชัง่ หรื อตวงวัสดุผสมคอนกรี ตอย่างแม่นยา
การผสมคอนกรี ตให้ มีเนื ้อสม่าเสมอ
การลาเลียงคอนกรี ตจากเครื่ องผสมไปยังจุดเทอย่าง
ระมัดระวัง
การเทคอนกรี ตอย่างถูกวิธี
การอัดแน่นคอนกรี ตที่ดี
การแต่งผิวหน้ าคอนกรี ตอย่างถูกต้ อง
การบ่มคอนกรี ตอย่างต่อเนื่อง
การถอดแบบหล่อคอนกรี ตตามเวลาที่เหมาะสม
ปั จจัยในกำรทำคอนกรี ตที่ดี(ต่ อ)