ชนิดของวัสดุ (โลหะ)

Download Report

Transcript ชนิดของวัสดุ (โลหะ)

บทที่ 3
ชนิดของวัสดุ
(โลหะ)
เพื่อความง่ ายต่ อการศึกษาวัสดุทางวิศวกรรม
จึงได้ มีการแบ่ งประเภทของวัสดุออกเป็ น 4 กลุ่ม
ใหญ่ ได้ แก่
โลหะ (Metal)
เซรามิก (Ceramics)
พอลิเมอร์ (Polymer)
วัสดุผสม (Composites)
โลหะ (Metal)
เป็ นอนินทรียสารที่มีธาตุท่ เี ป็ นโลหะประกอบอยู่อย่ างน้ อย 1
ธาตุ ตัวอย่ างเช่ น เหล็ก ทองแดง อลูมิเนียม นิเกิลและไทเทเนียม
เป็ นต้ น
บางครัง้ อาจมีธาตุท่ ไี ม่ ใช่ โลหะปะปนหรือเจืออยู่ เช่ น
C,N2,O2
โครงสร้ างของโลหะมีรูปผลึก เนื่องจากมีการจัดเรียงตัวของ
อะตอมอย่ างมีระเบียบ
เป็ นสื่อนาความร้ อนและไฟฟ้าได้ ดี
โลหะหลายชนิดที่แข็งแรงและอ่ อนเหนียว (ductile) ที่
อุณหภูมิห้อง และหลายชนิดที่คงความแข็งแรงได้ ดที ่ อี ุณหภูมิสูง
1. โลหะและโลหะผสม
มักแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. โลหะที่มีเหล็กเป็ นองค์ ประกอบและโลหะผสม (โลหะในกลุ่ม
เหล็ก) คือ โลหะที่มีเปอร์ เซ็นต์ องค์ ประกอบที่เป็ นเหล็ก เช่ น
เหล็กกล้ าและ เหล็กหล่ อ
2. โลหะที่ไม่ มีเหล็กเป็ นองค์ ประกอบและโลหะผสม (โลหะนอก
กลุ่มเหล็ก) คือ โลหะที่ไม่ มีเหล็กเป็ นองค์ ประกอบหรือมีเหล็ก
เพียงเล็กน้ อย ตัวอย่ างเช่ น อลูมิเนียม ทองแดง สังกะสี
ไทเทเนียม และนิเกิล
ทาไมโลหะกลุ่มเหล็ก
จึงเป็ นวัสดุท่ ถี กู นา
มาใช้ มากในระดับ
อุตสาหกรรม
สารประกอบที่มีเหล็กเป็ นองค์ ประกอบ
มีอยู่เป็ น
จานวนมากบนเปลือกโลก
เหล็กและเหล็กกล้ าสามารถผลิตได้ ด้วยกรรมวิธีการ
ถลุง (exaction) การทาให้ บริสุทธิ์ (refining) การผสมธาตุ
อื่น (alloying) การขึน้ รูป (fabrication) ซึ่งราคาไม่ แพง
โลหะกลุ่มเหล็กสามารถนามาใช้ ประโยชน์ ได้
หลากหลาย เนื่องจากสามารถดัดแปลงให้ มีสมบัตทิ างกล
และสมบัตทิ างกายภาพได้ กว้ างขวาง
เหล็กกล้ า
th.88db.com/.../Post_Detail.page?PostID=155796
เหล็กกล้ า คือ โลหะผสมระหว่ างเหล็กกับคาร์ บอน
(อาจมีธาตุอ่ นื บ้ างเล็กน้ อย)
มีหลายชนิดด้ วยกัน โดยขึน้ กับส่ วนผสมทางเคมี และ
กรรมวิธีทางความร้ อน
สมบัตทิ างกลของเหล็กกล้ าจะขึน้ อยู่กับปริมาณ
คาร์ บอน (ปกติ มีปริมาณ < 1.0% โดยนา้ หนัก)
การแบ่ งกลุ่มของเหล็ก
สามารถแบ่ งกลุ่มของเหล็กกล้ าได้ ตามปริมาณคาร์ บอน ดังนี ้
เหล็กกล้ าคาร์ บอนต่า
เหล็กกล้ าคาร์ บอนปานกลาง
เหล็กกล้ าคาร์ บอนสูง
แบ่ งเป็ นกลุ่มย่ อยของเหล็กกล้ าได้ ตามปริมาณของธาตุผสมอื่น
ดังนี ้
เหล็กกล้ าคาร์ บอนธรรมดา (plain carbon steel)
เหล็กกล้ าผสม (alloy steel)
เหล็กกล้ าคาร์ บอนต่า
เป็ นเหล็กกล้ าที่มีการผลิตใช้ กันมาก
มีปริมาณ C < 0.25% โดยนา้ หนัก
สามารถเพิ่มความแข็งแรงด้ วยการรีดเย็น
โครงสร้ างจุลภาคประกอบด้ วย Ferrite และ Pearlite
อ่ อน ไม่ ค่อยแข็งแรง แต่ เหนียวและแกร่ งดีมาก
กลึงได้ ไสได้ เชื่อมได้
ผลิตได้ ในราคาค่ อนข้ างต่าเมื่อเปรี ยบเทียบกับ
เหล็กกล้ าชนิดอื่นๆ
www.bondhus.com/console/content/metallurgy-3.htm
ตัวถังรถยนต์ เหล็กโครงสร้ าง (รูปตัวไอ เหล็กกลวง
เหล็กฉาก หรือเหล็กตัวแอล)
เหล็กแผ่ นบางใช้ ทาท่ อ ทาตัวตึก สะพาน และกระป๋อง
บรรจุอาหาร
มีค่า Yield strength 275 MPa
Tensile strength 415-550 MPa
ความเหนียว 25% Elongation
http://www.la-industry.com/images_files/black_iron.gif 9/6/11
http://www.la-industry.com/images_files/straighten_wire.gif 9/6/11
เหล็กกล้ าคาร์ บอนต่าอีกกลุ่มหนึ่ง คือ เหล็กกล้ าผสม
ต่าความแข็งแรงสูง (High – Strength Low Alloy : HSLA) ซึ่งเป็ น
เหล็กที่มีธาตุอ่ นื ผสมอยู่ เช่ น ทองแดง วาเนเดียม นิเกิล และ
โมลิบดีนัม ซึ่งมีความเข้ มข้ นรวมกันไม่ เกิน 10% โดยนา้ หนัก
เหล็กกล้ ากลุ่มนีม้ ีความแข็งแรงสูงกว่ าเหล็กกล้ าคาร์ บอน
ต่าธรรมดา และสามารถเพิ่มความแข็งแรงได้ โดยใช้ กรรมวิธีทาง
ความร้ อน
มีความแข็งแรง > 480 MPa มีความเหนียวสูง (ขึน้ รูปและ
กลึงไสได้ ) ทนต่ อการกัดกร่ อนกว่ าเหล็กกล้ าคาร์ บอนต่าธรรมดา
นามาใช้ ทาสะพาน หอสูง เสาเสริมตึกสูง ภาชนะความดัน
เหล็กกล้ าคาร์ บอนปานกลาง
มี C ผสมอยู่ประมาณ 0.25% และ 0.60% โดยนา้ หนัก
เวลาผลิตต้ องผ่ านกระบวนการทางความร้ อน คือ ทาให้
เป็ นออสเตนไนต์ (austenitizing) การทาให้ เย็นตัวอย่ าง
รวดเร็ว (quenching) การอบคืนตัว (tempering) เพื่อ
ปรับปรุ งสมบัตทิ างกล
ต้ องอบคืนตัวก่ อนนามาใช้ งาน
มีความสามารถในการชุบแข็งต่า
ถ้ าผสม Cr Ni Mo จะช่ วยเพิ่มความสามารถในการอบ
ชุบ
ถ้ าผ่ านกรรมวิธีทางความร้ อนแล้ ว
จะทาให้ มีความ
แข็งแรงสูงกว่ าเหล็กกล้ าคาร์ บอนต่า แต่ จะทาให้ มีความ
เหนียวและความแกร่ งลดลง
นามาใช้ ทาล้ อและรางรถไฟ เกียร์ เพลาส่ งกาลัง
เครื่องยนต์
และส่ วนอื่นของเครื่องจักรกล รวมถึง
โครงสร้ างที่ต้องการความแข็งแรงสูง มีความแกร่ งและ
ต้ านทานต่ อการกัดกร่ อนได้ ดี
The American Society for Testing and Materials (ASTM) และ The Society
of Automotive Engineers (SAE) ได้ กาหนดชนิดของเหล็กและโลหะชนิด
อื่นๆ ด้ วยเลข 4 หลัก โดยที่
สองหลักแรก : บอกส่ วนผสมโลหะ
สองหลักหลัง : บอกปริมาณคาร์ บอน
เลขหลักที่ 3,4 คือปริมาณในหน่ วย % (นา้ หนักร้ อย)
เหล็กกล้ าคาร์ บอนธรรมดา จะมีสองหลักแรก คือ 1 และ 0
เหล็กกล้ าผสม จะมีสองหลักแรก คือ 13, 41, 43
ตัวอย่ างเช่ น 1060 คือ เหล็กกล้ าคาร์ บอนธรรมดา มีปริมาณคาร์ บอน 0.60%
โดยน้าหนัก
การบ้ าน : ค้ นคว้ าเพิ่มเติม “มาตรฐานเหล็กในอุตสาหกรรม”
เหล็กกล้ าคาร์ บอนสูง
มีคาร์ บอนประมาณ 0.60% และ 1.4% โดยนา้ หนัก
มีค่าความแข็งสูงสุด แข็งแรงสูงสุด แต่ มีความเหนียวต่าสุดใน
กลุ่มเหล็กกล้ าคาร์ บอนด้ วยกัน
มักใช้ งานหลักจากที่ผ่านการชุบแข็งและการอบคืนตัว
ใช้ งานในสภาวะที่ต้องการความต้ านทานการสึกกร่ อนและ
ต้ องการความคมเพื่อตัดเฉือน
ใช้ ทาเครื่องมือตัด (cutting tools) เช่ น มีด มีดโกน ใบเลื่อย
แม่ พมิ พ์ (Die) สาหรับขึน้ รูปวัสดุ สปริง ลวดเหล็กความแข็งแรง
สูง เหล็กต๊ าบเกลียว
มีโครเมียม วาเนเดียม ทังสเตน และโมลิบดีนัม ผสม
อยู่ ซึ่งเมื่อนามาผสมกับ Carbon จะกลายเป็ น
สารประกอบคาร์ ไบด์ (Carbide) ซึ่งเป็ นวัสดุท่ มี ีความ
แข็งสูงมาก ทนต่ อการสึกกร่ อนสูง เช่ น โครเมียมคาร์
ไบด์ (Cr23C6)
วาเนเดียมคาร์ ไบด์ (V4C3)
ทังสเตนคาร์ ไบด์ (WC)
http://www.littlemachineshop.com/Products/Images/480/480.2842.jpg 9/6/11
http://www.shanghaimetal.asia/upload/image/1295360064_1980.jpg 9/6/11
http://thaiwiretech.com/uploadFiles/machine/Process_for_Wire%20product/Wire_bending_machine/Wire_bending_machine.png 9/6/11
เหล็กกล้ าไร้ สนิม
ทนทานต่ อการกัดกร่ อนหรือเกิดสนิม ในสภาวะแวดล้ อมต่ างๆ
สูง โดยเฉพาะในสภาพบรรยากาศ
ธาตุผสมหลักคือ โครเมียม ซึ่งจะช่ วยให้ เหล็กทนต่ อการกัด
กร่ อน โดยมี Cr ผสมอยู่อย่ างน้ อย 11% โดยนา้ หนัก
มีธาตุอ่ นื ๆ ผสม เช่ น Ni, Mo ที่ช่วยให้ ทนต่ อการกัดกร่ อน
มีสมบัตทิ างกลหลากหลาย และทนการกัดกร่ อนดีเยี่ยม
ใช้ งานที่อุณหภูมิสูงได้ (Tmax ~ 1000 °C)
เครื่องก๊ าซ turbine เครื่องต้ มไอนา้ อุณหภูมิสูง ตลับลูกปื น
เตาเผาอบชุบ ยานบิน จรวด อุปกรณ์ ไฟฟ้านิวเคลียร์
http://3.bp.blogspot.com/_39fGOBwj7eQ/TAHZxdm25CI/AAAAAAAAAGY/UAGFYRIlyRg/s1600/stainless_center.jpg 9/6/11
http://4.bp.blogspot.com/_39fGOBwj7eQ/TAHbdI6IbQI/AAAAAAAAAGg/ngaJVXuqk4w/s1600/01.JPG 9/6/11
http://www.thaitechno.net/CDA/File/CompanyProduct/Picture/PPC022081.jpg 9/6/11
เหล็กหล่ อ
มี C ประกอบอยู่ > 2.14% โดยนา้ หนัก
ทางปฏิบัตมิ ักจะมี C อยู่ประมาณ 3.0-4.5 % โดยนา้ หนัก
ส่ วนผสมช่ วงนี ้ เหล็กหล่ อจะอยู่ในสภาพของเหลวที่อุณหภูมิ
ประมาณ 1150 และ 1300 °C ซึ่งมีอุณหภูมิหลอมเหลวต่า
กว่ าเหล็กกล้ า ดังนัน้ เหล็กหล่ อจึงหลอมเหลวได้ ง่าย
หล่ อเป็ นรูปร่ างชิน้ งานได้ แต่ บางชนิดจะค่ อนข้ างเปราะ
มี C ผสมอยู่ในรูปของกราไฟต์ (graphite)
สามารถแบ่ งได้ เป็ น เหล็กหล่ อเทา
เหล็กหล่ อกราไฟต์ กลม
เหล็กหล่ อขาว เหล็กหล่ ออบเหนียว
เหล็กหล่ อเทา
มี C ประกอบอยู่ประมาณ 2.5-4.0% โดยนา้ หนัก
มี Si อยู่ประมาณ 1.0-3.0% โดยนา้ หนัก
มีกราไฟต์ ผสมอยู่ทาให้ ผิวที่แตกหักมีสีเทา จึงเรียกว่ าเหล็กหล่ อ
เทา
ไม่ แข็งแรง เปราะเมื่อรับแรงดึง แต่ รับพลังงานการสั่นสะเทือน
ได้ ดี ทนต่ อการสึกกร่ อนและเสียดสีได้ มาก ไหลได้ ดี ง่ ายต่ อการ
หล่ อเป็ นชิน้ ส่ วนที่มีรูปร่ างซับซ้ อน
หดตัวจากการหล่ อน้ อย ราคาถูก (ที่สุด)
ใช้ ทาโครงสร้ างพืน้ รองรับเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ หนักที่ต้องการ
รับการสั่นสะเทือน
เหล็กหล่ อเหนียวหรือกราไฟต์ กลม
ผสม Mg หรือ Ce
สมบัตทิ างกลใกล้ เคียงกับเหล็กกล้ า
ใช้ ทาวาล์ ว เสือ้ ปั๊ ม เพลาส่ งกาลัง เกียร์ ชิน้ ส่ วนรถยนต์
เครื่องจักร
เหล็กหล่ อขาวและเหล็กอบเหนียว
พบในเหล็กที่มีปริมาณ Si ต่า (< 1.0% โดยนา้ หนัก) และ
ผ่ านกรรมวิธีการผลิตที่ให้ อัตราการเย็นตัวต่า
รอยแตกมีสีขาว จึงเรียกว่ า เหล็กหล่ อขาว
แข็งมาก เปราะ ไม่ สามารถกลึงไสได้
ใช้ เป็ นลูกรีดในกระบวนการรีดเหล็ก
ใช้ เป็ นวัตถุดบิ ในการผลิตเหล็กอบเหนียว
http://www.scalesthai.com/img%5Cproduct%5C185%5CScale_Weight.jpg 9/6/11
http://www.weloveshopping.com/shop/tcmetalindustry/fc1.jpg 9/6/11
http://s3.postimage.org/8a7cinhms/yyy3y.jpg 9/6/11
โลหะผสมนอกกลุ่มเหล็ก
เหล็กกล้ าและโลหะผสมของเหล็ก
ถูกนามาใช้ ใน
ปริมาณมาก เพราะสมบัตทิ างกลที่หลากหลาย ขึน้ รู ปง่ าย
และผลิตได้ ในราคาถูก แต่ ก็ยังข้ อจากัด คือ :
ความหนาแน่ นค่ อนข้ างสูง
ค่ าความนาไฟฟ้าค่ อนข้ างตา่
ถูกกัดกร่ อนได้ ง่าย ในสภาวะแวดล้ อมบางสภาวะ
ทองแดงและโลหะผสมของทองแดง
ทองแดงที่ไม่ มีธาตุอ่ นื ผสม จะอ่ อน เหนียว ทาให้ กลึง
ไสยาก แต่ ขนึ ้ รูปแบบเย็นได้ ทนทานต่ อการกัดกร่ อนใน
สภาพแวดล้ อมต่ างๆ
เมื่อผสมสังกะสีลงไปจะรู้จักในนามของ “ทองเหลือง”
โลหะเครื่องประดับ ปลอกกระสุน แผงระบายความ
ร้ อนในรถยนต์ เครื่ องดนตรี วัสดุหบี ห่ อ อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ เหรียญตรา
บรอนซ์ = โลหะผสมของทองแดงกับธาตุอ่ นื เช่ น ดีบุก
อลูมิเนียม ซิลิกอน นิกเกิล
บรอนซ์ จะแข็งแรงกว่ าทองเหลือง
ทนทานการกัด
กร่ อนได้ ดี แข็งแรงสูง
โลหะผสมทองแดง ที่นามาอบชุบแล้ วจะมีราคาแพง
ใช้ ทาลูกปื น ตัวรองรับเกียร์ ของเครื่ องบินเล็ก สปริง
เครื่องมือผ่ าตัด เครื่องมือทันตแพทย์
โลหะผสมทองแดง-เบริลเลียม (1.0-2.5% โดยนา้ หนัก)
เป็ นวัสดุท่ แี ข็งแรงสูง (1400 MPa) ทนทานต่ อการกัดกร่ อน
นาไฟฟ้าได้ สูงมาก
อะลูมเิ นียมและโลหะผสมของอะลูมเิ นียม
มีความหนาแน่ นต่า (2.7 g/cm3)
นาไฟฟ้าและความร้ อนได้ ดี
ทนการกัดกร่ อนได้ ดี ในสภาวะแวดล้ อมบางสภาวะ
ขึน้ รูปง่ าย มีความเหนียวสูง
ตย.เช่ น อะลูมิเนียมฟอยล์ : ได้ จากการรีด Al บริสุทธิ์
ธาตุท่ ใี ช้ ผสมหลัก : Cu Mg Si Mn Zn
ถูกนามาใช้ กับการขนส่ งเพื่อลดการใช้ เชือ้ เพลิง
Al-Li
ใช้ ในอุตสาหกรรมเครื่ องบิน
ยานอวกาศ
เนื่องจากมีคามหนาแน่ นต่า (2.5-2.6 g/cm3) ทนต่ อความล้ า
ดีมาก ความแกร่ งสูง
แมกนีเซียมและโลหะผสมของแมกนีเซียม
มีความหนาแน่ นต่า (1.7 g/cm3)
ขึน้ รู ปที่อุณหภูมหิ ้ องยาก โดยมากขึน้ รู ปร้ อนที่อุณหภูมปิ ระมาณ 200350 °C และอุณหภูมหิ ลอมเหลวต่า (650 °C)
ไม่ เสถียร ไม่ ทนต่ อการกัดกร่ อนในสภาพแวดล้ อมที่เป็ นนา้ ทะเล แต่ ทน
การออกซิเดชันในบรรยากาศได้ ดี
ธาตุผสม : Al Zn Mn
ผงโลหะละเอียดจะติดไฟได้ ง่าย
ใช้ ทาเครื่ องบิน จรวด และกระเป๋า
ใช้ แทนพลาสติก เนื่องจากความหนาแน่ นใกล้ เคียงกัน แต่ Mg แข็งแรง
กว่ า recycle ได้ มากกว่ า ราคาไม่ แพง
เลื่อยโซ่ ตัวหนีบ พวงมาลัย เสาพวงมาลัย โครงที่น่ ัง คอมพิวเตอร์ มือถือ
ไทเทเนียมและโลหะผสมของไทเทเนียม
Ti บริสุทธิ์ มีความหนาแน่ นต่า (4.5 g/cm3)
อุณหภูมิหลอมเหลวสูง (1668 °C)
แข็งแรง เหนียว ง่ ายต่ อการทุบขึน้ รูป กลึงไสได้
ขีดจากัด:อาจเกิดปฏิกิริยาเคมีกับวัสดุอ่ นื ได้ ง่ายที่อุณหภูมิสูงและ
มีราคาแพง
ไม่ เกิดปฏิกิริยากับอากาศ นา้ ทะเล บรรยากาศอุตสาหกรรม
ต้ านทานต่ อการกัดกร่ อนที่อุณหภูมิสูงมาก
ใช้ ในโครงสร้ างเครื่องบิน
ยานอวกาศ
เครื่องมือผ่ าตัด
อุตสาหกรรมปิ โตรเลียมและเคมี
โลหะทนอุณหภูมิสูง (Refractory)
อุณหภูมิหลอมเหลวสูงมาก (2468 °C/Nb – 3410°C/W )
ตัวอย่ างเช่ น Nb Mo W Ta
โลหะผสม Mo : แม่ พมิ พ์ แบบกดอัด โครงสร้ างยานอวกาศ
โลหะผสม W : ไส้ หลอดไฟฟ้า หลอด X-ray ขัว้ เชื่อม
โลหะผสม Ta : เฉื่อยต่ อการเกิดปฏิกิริยากับสิ่งแวดล้ อมที่
อุณหภูมิต่ากว่ า 150 °C มักใช้ ในงานที่ต้องการวัสดุทนทาน
การกัดกร่ อน
โลหะผสมพิเศษ (Superalloys)
ใช้ ทาใบพัดเครื่องบิน
ซึ่งทนต่ อการกัดกร่ อนที่
อุณหภูมิสูงเป็ นเวลานานๆ ใช้ ทาเครื่องปฏิกรณ์ นิวเคลียร์
และในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี
ธาตุหลัก : Co Ni Fe
ธาตุผสม : Nb Mo W Ta
โลหะเสถียร (Noble Metals)
กลุ่มธาตุโลหะ 8 ชนิดที่มีสมบัตกิ ายภาพคล้ ายกัน มี
ราคาแพง อ่ อน เหนียว ทนการเกิดออกซิเดชัน
เงิน ทอง แพลตตินัม แพลเลเดียม โรเดียม รู ทเี นียม
อิริเดียม ออสเมียม
เงินและทอง
สามารถทาให้ แข็งแรงขึน้ ได้ ถ้าผสม
ทองแดงลงไป เช่ น เงินสเตอร์ ลิง (เงิน+ทองแดง :
92.5,7.5% โดยนา้ หนัก) , ทาขัว้ ไฟฟ้า ,วัสดุอุดฟั น
โลหะนอกกลุ่มเหล็กอื่นๆ
1. นิกเกิลและโลหะผสมนิกเกิล
มีความต้ านทานการกัดกร่ อนสูง โดยเฉพาะในสภาพ
ด่ าง (alkaline) จึงใช้ เคลือบผิวโลหะที่ถกู กัดกร่ อนได้
ง่ าย
“โมเนล” คือ โลหะผสมระหว่ าง Ni (65 wt%) Cu (28
wt%) ที่เหลือ คือ Fe : มีความแข็งแรงสูงมาก ใช้ ทาปั๊ ม
วาล์ ว
2. ตะกั่ว ดีบุก โลหะผสมตะกั่ว-ดีบุก
ไม่ แข็งแรง นิ่ม และมี Tm ต่า
Ex ลวดบัดกรี : โลหะผสมตะกั่ว-ดีบุก
ตะกั่ว : เป็ นตัวกัน้ X-ray เสือ้ แบตเตอรี
ดีบุก :
ใช้ เคลือบเหล็กกล้ าคาร์ บอนธรรมดา
นามาใช้ ทากระป๋องบรรจุอาหาร เพื่อป้องกัน ???
3. สังกะสี
เป็ นโลหะค่ อนข้ างอ่ อน มี Tm ต่า และทาปฏิกิริยาเคมี
กับสิ่งแวดล้ อมต่ างๆ ง่ าย ถูกกัดก่ อนง่ าย เมื่อเคลือบ
สังกะสีบนเหล็ก
สังกะสีจะถูกกัดกร่ อนแทนเหล็ก
เรียกว่ า “เหล็กกัลวาไนซ์ ”
ใช้ ทาเหล็กแผ่ นสังกะสี รัว้ หลังคา ผนัง สกรู ที่จับ
ประตูรถยนต์ อุปกรณ์ สานักงาน
4. เซอร์ โคเนียม
เหนียว ทนทานต่ อการกัดกร่ อนในสภาพแวดล้ อมถูก
กัดกร่ อนรุ นแรง
Zr ยอมให้ อนุภาคนิวตรอนทะลุผ่านได้ จึงใช้ เคลือบ
ผิวเชือ้ เพลิงยูเรเนียมในเครื่องปฏิกรณ์ ปรมาณู แล้ ว
หล่ อเย็นด้ วยนา้ นอกจากนีย้ ังใช้ ทาตัวซีลสาหรับท่ อ
สุญญากาศ