เอกสาร

Download Report

Transcript เอกสาร

แร่วท
ิ ยา
(Minerals)
ความหมายของแร่

แร่ (Minerals) คือ ธาตุ หรือสารประกอบอนิ นทรีย ์
(ไม่ใช่สงมี
ิ่ ชวี ต
ิ ) มีสถานะเป็ นของแข็ง โครงสร ้าง
่
ภายในเป็ นผลึก มีสต
ู รเคมีและคุณสมบัตอิ นๆที
ื่
่
แน่ นอน หรือเปลียนแปลงได
้ในวงจากัด แร่เฮไลต ์
ประกอบด ้วยโมเลกุลของธาตุโซเดียม (Na) และ
คลอรีน (Cl) เกาะตัวกันอยู่โดยมีโครงสร ้าง 3 มิตเิ ป็ น
ผลึกลูกบาศก ์ อะตอมโซเดียมจับกับอะตอมของ
คลอรีนในอัตราส่วน 1:1
โครงสร ้างผลึกของ
โซเดียมคลอไรด ์

่
หิน (Rock) หมายถึง มวลของแข็งทีประกอบขึ
น้
้ั
้
ด ้วยแร่ตงแต่
1 ชนิ ดขึนไป
รวมตัวกันอยู่ตาม
ธรรมชาติ แบ่งตามลักษณะการเกิดได ้ 3 ชนิ ดใหญ่
ได ้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร
หินแกรนิ ต
(Granites)
คุณสมบัตข
ิ องแร่








1. ระบบผลึก (Crystal
system)
่
2. รู ปผลึกทัวไปและการเกาะ
กลุ่มผลึก
3. ค่าความถ่วงจาเพาะ
4. สี
5. สีผง
6. ความแข็ง
7. ความแกร่ง
8. ประกาย
10. ความโปร่ง
11. คุณสมบัตท
ิ าง
ไฟฟ้า
12. คุณสมบัตท
ิ าง
แม่เหล็ก
13. คุณสมบัตอ
ิ นๆ
ื่
1. ระบบผลึก (Crystal system)
รูปผลึกของแร่มก
ี ารจัดแบ่งระบบผลึกได ้ 6 ระบบ
ตามลักษณะของแกนผลึกและมุมระหว่างแกนผลึก
แต่ละระบบผลึกแบ่งย่อยเป็ นหมู่ผลึก (class) ต่างๆ
้ น้ 32 หมู่ผลึก ซึงจะกล่
่
รวมทังสิ
าวเพียงระบบผลึก
่ าคัญของแต่ละระบบผลึกเท่านั้น
และฟอร ์มทีส
1.1 Isometric system



่ แกน 3 แกน (a1 a2 a3) แต่ละแกนยาว
เป็ นผลึกทีมี
้
เท่ากันและตังฉากกั
น
่
ฟอร ์มผลึกทีพบบ่
อยคือ รูปลูกบาศก ์ (cube), ปิ รามิด
2 รูปมีฐานชนกันหรือออกตระฮีดรอล(octahedral)
แร่ทตกผลึ
ี่
กในระบบนี ้ เช่น เพชร การ ์เนต สปิ เนล
โครงสร ้างของเพชร แบบ
1.2 Tetragonal system



แกน a1 ยาวเท่ากับแกน a2 แต่ไม่เท่ากับแกน c และ
้
แกนทุกแกนตังฉากกั
น
่
ฟอร ์มผลึกทีพบบ่
อยคือ ปริซมึ (prisms), dipyramid
และ pinacoid
แร่ทตกผลึ
ี่
กในระบบนี ้ เช่น เซอร ์คอน
1.3 Orthorhombic system



้
แกนทุกแกนตังฉากกั
น แต่ยาวไม่เท่ากัน
่
ฟอร ์มทีพบบ่
อย ได ้แก่ prisms, dipyramid และ
pinacoid
แร่ทตกผลึ
ี่
กในระบบนี ้ เช่น topaz, peridot,
chrysoberyl
1.4 Monoclinic system



้
แกนทังสามยาวไม่
เท่ากัน มุมระหว่างแกนเป็ นมุมฉาก
2 มุม คือ a กับ b และ b กับ c ส่วน a กับ c ไม่ตง้ั
ฉากกัน
่
ฟอร ์มทีพบบ่
อย ได ้แก่ prisms และ pinacoid
แร่ทตกผลึ
ี่
กในระบบนี ้ เช่น moonstone, jade
1.5 Triclinic system


้
้ั
แกนทังสามแกน
ยาวไม่เท่ากัน และแกนไม่ตงฉากกั
น
เลย
แร่ทตกผลึ
ี่
กในระบบนี ้ เช่น kyanite, turquoise,
amazonite
1.6 Hexagonal system
มีแกน 4 แกน คือ a1 a2 a3 ยาวเท่ากัน มุมกัน
120o
้
ในแนวระนาบ และตังฉากกั
บแกน c
แบ่งเป็ น 2 division ดังนี ้

1.6 Hexagonal system


่
Hexagonal division : ฟอร ์มทีพบได
้แก่ prisms,
dipyramid และ pinacoid
้ ้แก่ aquamarine,
แร่ทตกผลึ
ี่
กในระบบนี ได
emerald, apatite
1.6 Hexagonal system


่
Rhombohedral division : ฟอร ์มทีพบได
้แก่
rhombohedral และ scalenohedral
้ ้แก่ corundum, quartz,
แร่ทตกผลึ
ี่
กในระบบนี ได
tourmaline
่
2. รูปผลึกทัวไปและการเกาะกลุ
ม
่ ผลึก
(Crystal habit and aggregates)


่
รู ปผลึกทัวไป(Crystal
habit) คือ รูปร่าง
่
่
โดยทัวไปของผลึ
กเดียวๆ
หรือเป็ นฟอร ์มของผลึกที่
้ อยทีสุ
่ ด ซึงเป็
่ นผลมาจากการเรียงตัวของยู
เกิดขึนบ่
นิ ตเซลล ์
การเกาะกลุ่มกันของผลึก (Aggregates) เป็ น
่ ญพร ้อมๆกัน เกิดเป็ นกลุม
ผลึกทีเจริ
่ บริเวณเดียวกัน
่ ้จริง
ทาให ้มองไม่เห็นรูปหน้าผลึกทีแท


การอธิบายรูปร่างผลึกแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี ้
รู ปร่างผลึกเกิดเฉพาะผลึกใดผลึกหนึ่ง
 รู ปเข็ม (Acicular)
 รู ปเส้นผม (Capillary and filiform)
 รู ปแท่งหรือรู ปเสา (Columnar) ผลึกแท่งยาว
คล ้ายรูปเข็มแต่มค
ี วามหนาทางด ้านหน้าตัด
มากกว่า
 รู ปใบมีด (Bladed) รูปร่างแบบและเรียบคล ้าย
ใบมีด
 รู ปแบน (Tabular) รูปร่างคล ้ายใบมีดแต่หนากว่า
 รู ปกลมมน (Stubby, Stout, Equant)
 รู ปกล่อง (Blocky)
Crystal form

่
่ ่รวมกันเป็ นกลุ่ม
ผลึกเดียวที
อยู
่
่ ลก
 รู ปกิงไม้
(Dendritic) ผลึกทีมี
ั ษณะเหมือน
่
ต ้นไม้ เรียวเล็กแยกออกจากกันเหมือนกิงไม้
 รู ปตาข่าย (Recticulated) คล ้ายกลุม
่ แลตทิ
่ ยวเล็กสานกันไปมา เป็ นรูปตาข่าย
ซของผลึกทีเรี
 รู ปร ัศมี (Divergent or Radiated) กลุม
่
่
ผลึกทีแตกกระจายออกตามแนวร
ัศมี หรือแผ่
กระจายออกจากจุดๆหนึ่ ง
 รู ปเรียงเป็ นแถว (Drusy) ผิวของแร่ถก
ู ปกคลุม
้ั
ด ้วยชนของผลึ
กเล็กๆหลายผลึกเรียงกันเป็ นแถว
มักมีผวิ บนขรุขระ
ผลึกแบบ Dendritic ของ
แร่ pyrolusite
ผลึกแบบ Divergent ของ
แร่ gypsum
ผลึกแบบ
recticulated
ของแร่ rutile (สี
ดา)
ผลึกแบบ Drusy ของแร่
quartz

่
กลุ่มผลึกทีกระจายออกตามแนวร
ัศมี หรือ
่
แนวขนานของผลึกเดียว
่
่ นแท่งอ ้วนๆ
 รู ปแท่ง (Columnar) ผลึกเดียวที
เป็
หลายแท่ง
่
่
 รู ปใบมีด (Bladed) ประกอบด ้วยผลึกเดียวที
มี
ลักษณะคล ้ายใบมีดหลายผลึก
 รู ปเส้นใย (Fibrous) กลุม
่ ผลึกขนาดเรียวเล็ก
คล ้ายเส ้นใย กระจายออกในแนวร ัศมี หรือขนาน
กัน
่
 รู ปดาว (Stellated) ผลึกเดียวหลายๆผลึ
ก ที่
กระจายออกตามแนวร ัศมี มีลก
ั ษณะเหมือนรูปดาว
หรือกลุม
่ ของวงกลม
่
(Globular) ผลึกเดียวๆ
หลาย
่
ผลึกทีกระจายออกตามแนวร
ัศมีจนมองเห็นเป็ น
่
กลุม
่ ๆของทรงกลม หรือครึงทรงกลมเล็
กๆ หลายๆ
อัน
 รู ปพวงองุ่ น (Botryoidal) คล ้ายกับผลึกรูป
กลม มีลก
ั ษณะเหมือนพวงองุ ่น
่
 รู ปไต (Reniform) ผลึกเดียวหลายผลึ
ก
กระจายออกตามแนวร ัศมี และตรงปลายผลึกมี
ลักษณะกลมเหมือนรูปไต
่
 รู ปวุน
้ (Colloform) รูปทรงกลมทีประกอบด
้วย
่
ผลึกเดียวหลายผลึ
กกระจายออกตามแนวร ัศมี
่ านี หมายความรวมถึ
้
โดยไม่คานึ งถึงขนาด ซึงค
ง
 รู ปทรงกลม
Fibrous ของแร่
asbestos
Globular ของแร่
wavelite
Botryoidal ของแร่
Collofor

่
การเกาะกลุ่มผลึกทีประกอบด้
วยเกล็ดหรือแผ่นเล็กๆ
้
หลายชิน
่
 รู ปแผ่น (Foliated) ผลึกทีสามารถแยกออกเป็
นแผ่น
หรือใบไม้ได ้ง่าย
้
 รู ปกลีบ (Micaceous) คล ้ายริวขนาน
แต่แตกออกเป็ น
แผ่นบางได ้ง่ายกว่า เช่น แร่ไมกา
 รู ปแผ่นซ ้อนหรือรู ปแบน (Lamellar หรือ Tabular)
่ นและกัน
แต่ละผลึกเป็ นแผ่นบางซ ้อนทับซึงกั
่ นเกล็ดเล็กๆ ละเอียด
 รู ปขนนก (Plumose) ผลึกทีเป็
กระจายออกเหมือนขนนก
Micaceious ของ
แร่ไมกา
่
การเกาะกลุม
่ ผลึกทีประกอบด
้วยเม็ดแร่ขนาดเท่าๆกัน
(Granular)
Granular ของแร่
canallite

่
ลักษณะผลึกแบบอืนๆ
 รู ปหินย้อย (Stalactitic) รูปทรงกระบอก หรือทรงกรวยที่
ห ้อยลงมา เช่น หินย ้อย
้
 รู ปวงซ ้อน (Concentric) เป็ นชันทรงกลมจ
านวนไม่มากก็
้ ้อนกันโดยมีจด
น้อยเกิดขึนซ
ุ ศูนย ์กลางร่วม
่ ั (Pisolitic) เป็ นมวลกลมหลายๆก ้อน ขนาดโต
 รู ปเม็ดถว
่
ก ้อนละประมาณเม็ดถัวมาอยู
ร่ วมกัน
 รู ปไข่ปลา (Oolitic) กลุม
่ แร่ทเกิ
ี่ ดจากทรงกลมเล็กๆคล ้าย
ไข่ปลา
่ สห
 รู ปแถบ (Banded) แร่ทเป็
ี่ นแถบแคบๆหลายแถบทีมี
ี รือ
้
เนื อ(Texture)
ต่างกัน
 กลุ่มก้อน (Massive) วัตถุทอั
ี่ ดตัวกันโดยปราศจากฟอร ์ม
่
หรือรูปร่างทีจะสามารถจ
าแนกออกได ้
่
่ นแร่
รู ปจีโอด (Geode) ช่องกลวงของหินทีบรรจุ
สสารทีเป็
แต่ไม่เต็มช่อง จีโอดอาจมีลก
ั ษณะเป็ นแถบ เช่น แร่อะเกต ซึง่
้
เป็ นเพราะว่าการตกตะกอนของวัตถุเกิดขึนอย่
างไม่ตอ
่ เนื่ อง
่
และผิวภายในมักจะเป็ นรูปผลึกยืนโผล่
ออกมา
่ ดขึนโดยการตกทั
้
 รู ปหุม
้ เมล็ด (Concretion) มวลทีเกิ
บ
้ ลก
ถมกันของวัตถุโดยรอบนิ วเคลียสหนึ่ งๆ บางชินมี
ั ษณะเป็ น
้ รป
ทรงกลมขรุขระ บางชินมี
ู ร่างแตกต่างออกไปหลายลักษณะ
่ ปแบน
 รู ปดอกกุหลาบ (Rosette) ประกอบด ้วยผลึกเดียวรู
่
หรือ รูปกลีบวางซ ้อนเป็ นเหลือมสลั
บกัน คล ้ายกุหลาบ
่ ยงซ ้อนเยืองกั
้ น
 รู ปหงอนไก่ (Cockcomb) กลุม
่ ผลึกทีเรี
่
่
บางส่วนคลีออกคล
้ายครึงวงกลม
เหมือนหงอนไก่

Stalacti
c
Amygda
loidal
Ooliti
c
Band
ed
Geod
e
3. ค่าความถ่วงจาเพาะ (Specific
gravity/ S.G.)

่ ถงึ ความหนาแน่ น(density)ของแร่ หรืออัญ
เป็ นตัวเลขทีระบุ
่
มณี เมือเปรี
ยบเทียบกับนา้ ค่าความถ่วงจาเพาะเป็ นค่าที่
่ ถงึ ชนิ ดของแร่น้ันๆได ้ ค่า ถ.พ.เป็ นค่าแสดง
สาคัญทีระบุ
้
้
กของสสาร(แร่) ต่อนาหนั
กของนา้
อัตราส่วนระหว่างนาหนั
่
่
ค่
า
ถ.พ.
=
น.น.ของแร่
ท
ชั
ี
งใน
่ ป ริมาตรเท่ากับแร่น้ัน สามารถเขียนเป็ นสูตร
บริสท
ุ ธิที์ มี
อากาศ
คานวณได ้ดังนี ้
่ งในอากาศ
่
น.น.ทีชั
– น.น.ที่
่ ค่า า้ ถ.พ.
่
ชังในน
=
น.น.ของแร่ทชั
ี่ งใน
อากาศ
น.น.ของแร่ที่
่ งในน
่
หายไปเมือชั
า้
4. สี (Colour)


แร่แต่ละชนิ ดมีคณ
ุ สมบัตเิ ฉพาะหลายประการ แต่สข
ี อง
่
แร่นับเป็ นคุณสมบัตเิ ด่นของแร่ประการแรกทีเราใช
้สังเกตแร่
และง่ายต่อการสังเกต เราสามารถแยกแร่บางชนิ ดได ้ด ้วยสี
่
เท่านั้น แต่แร่บางชนิ ดเปลียนสี
ได ้ จึงไม่สามารถใช ้คุณสมบัติ
นี จ้ าแนกได ้
่ เรา
่
สี คือ การตอบสนองของตาต่อแสงในช่วงคลืนที
่
่ งแต่
้
มองเห็น แสงทีตาเรามองเห็
นอยูใ่ นช่วงคลืนตั
400-700
่
่
่
้ สแี ดง
นาโนเมตรเมือแสงสี
ขาวซึงประกอบด
้วยคลืนแสงตั
งแต่
่
ถึงสีม่วง เมือตกกระทบแร่
หรือวัตถุใดๆ แสงบางส่วนจะ
สะท ้อนออกมา บางส่วนจะหักเหเข ้าไปในอัญมณี และ
่ อจะถูกปล่อยออกมาเข ้า
บางส่วนถูกดูดกลืนไว ้ ช่วงแสงทีเหลื
่ อยออกมา แต่
ตาเรา ทาให ้เราเห็นแร่เป็ นสีตามช่วงแสงทีปล่
้
้
4. สี (Colour)

่
่ กดูดกลืนไว ้เรียกว่า selective absorption
ช่วงคลืนแสงที
ถู
่
่ อยออกมาซึงเห็
่ นเป็ นสีของแร่ เรียกว่า
ส่วนช่วงคลืนแสงที
ปล่
selective transmission เช่น แร่ทเห็
ี่ นเป็ นสีแดงแสดงว่า
่
้ นถูกดูดกลืนไว ้การทีตามนุ
ษย ์มีความไวต่อสี
ช่วงแสงสีนาเงิ
่ ด ทาให ้เห็น
ต่างๆ ของตาไม่เท่ากัน โดยจะไวต่อสีเขียวมากทีสุ
้ แร่
่ แต่ละชนิ ดดูดกลืนแสงทีมี
่
แร่ 2 ชนิ ดเป็ นสีเดียวกัน ทังๆที
่ างกัน เช่น มรกต(emerald) และ ไดออบไซด ์
ความยางคลืนต่
(diopside) ต่างก็เป็ นอัญมณี ทมี
ี่ สเี ขียวเข ้มเหมือนกัน โดย
diopside จะดูดกลืนช่วงแสงสีแดงไว ้หมด ส่วนมรกตจะปล่อย
้
้
แสงช่วงนี ออกไป
แต่จะดูดกลืนช่วงแสงสีม่วงไว ้ทังหมด
5. สีผง (Steak)

่
สีของก ้อนแร่ชนิ ดเดียวกันโดยทัวไปอาจแตกต่
างกัน แต่สี
ของผงแร่ทละเอี
ี่
ยดโดยปกติจะเหมือนกันในแร่ชนิ ดเดียวกัน
่ กษณะนี จะมี
้ ประโยชน์ในการวิเคราะห ์แร่ การทดสอบสี
ซึงลั
้ นขาวทีไม่
่
ผงทาได ้โดยการนาแร่ตวั อย่างขีดลงบนกระเบืองดิ
่ ความแข็งประมาณ 7 และสังเกต
เคลือบ (steak plate) ซึงมี
้ แต่วธิ น
้ ้กับแร่ทมี
สีผงแร่ทติ
ี่ ดบนกระเบือง
ี ี ใช
ี่ ความแข็งเกิน 7
ไม่ได ้
6. ความแข็ง (Hardness)


ความแข็ง คือ ความทนทานของแร่ตอ
่ การขูดขีด ใช ้อักษร
้
ย่อ H ระดับของความแข็งถูกกาหนดขึนโดยการสั
งเกตเชิง
เปรียบเทียบกับความยากง่ายของการขูดขีดกันของแร่แต่ละ
ชนิ ด หรือโดยใช ้ตะไบ หรือใบมีดในการขูดแร่
นักแร่วท
ิ ยาชาวออสเตรียชือ่ เอฟ โมส ์ (F. Mohs) ได ้ทา
่ งเป็
้ นมาตราความแข็งในปี
การจัดลาดับแร่ 10 ชนิ ดเพือตั
ค.ศ. 1824 โดยเป็ นการเปรียบเทียบเชิงสัมพัทธ ์ของแร่แต่ละ
่ ด
ชนิ ดเรียงจากความแข็งต่าสุดไปยังความแข็งมากทีสุ
เรียกว่า มาตราความแข็งของโมส ์ (Moh’s scale of
hardness) หรือนิ ยมเรียกว่า Mohs scale มีดงั นี ้
Moh scale of
Hardness
7. ความแกร่ง (Tenacity)





เปราะ (Brittle) หมายถึงแร่ทแตกออกเป็
ี่
นผงหรือชิน้
่ นคุณสมบัตท
เล็กๆได ้ง่าย ซึงเป็
ิ เด่
ี่ นของแร่ทมี
ี ่ พน
ั ธะไอออ
นิ ก
ตีเป็ นแผ่นได้ (Malleable) แร่ทสามารถตี
ี่
ออกเป็ นแผ่น
่ บด ้วยค ้อน
บางได ้เมือทุ
ดออกได ้ด ้วยมีด
ตัดได้ (Sectile) แร่ทสามารถตั
ี่
ยืดเป็ นเส้นได้ (Ductile) แร่ทสามารถดึ
ี่
งออกเป็ นเส ้น
ลวดได ้ เช่น ทอง ทองแดง เงิน
โค้งงอได้ (Flexible) แร่ทโค
ี่ ้งงอได ้ และคงสภาพโค ้งงอไว ้
่
โดยไม่สามารถดีดกลับให ้อยู่ในสภาพเดิมได ้เมือหมดแรง
่ ลก
มากระทา ตัวอย่างเช่น แร่คลอไรต ์ และแร่ทลั ก ์ ทีมี
ั ษณะ
่
ยบ
เป็ นแผ่นบางๆ ซึงแตกออกตามแนวแตกเรี
8. ประกาย (Luster)




่ ไปของผิวแร่ทเกิ
ประกาย หมายถึง ลักษณะทัวๆ
ี่ ด
จากการสะท ้อนแสง แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ แบบโลหะ
(metallic) และแบบไม่ใช่โลหะ (nonmetallic) ส่วน
้
่
แร่ทมี
ี่ ความวาวอยู่ระหว่างทังสองแบบคื
อ กึงโลหะ
(submetallic) โดยแบ่งได ้ดังนี ้
Adamantine : ประกายคล ้ายเพชร เช่น
diamond
Subadamantine : ประกายอยู่ระหว่าง
adamantine และ vitreous เช่น demantoid
garnet
Vitreous : ประกายคล ้ายแก ้ว เช่น แร่ควอรตซ ์ โท
8. ประกาย (Luster)



้ น ประกายชนิ ดนี เกิ
้ ด
Greasy : ประกายคล ้ายนามั
้ วแร่ซงมี
จากแสงกระจัดกระจายออกมา เพราะพืนผิ
ึ่
่
้
ลักษณะขรุขระหรือไม่ราบเรียบ ซึงความขรุ
ขระนี มี
ขนาดเล็กไม่สามารถมองเห็นได ้ด ้วยตาเปล่า มักพบ
้ นเม็ดแร่ทเกาะกั
ในหยกและอัญมณี ทมี
ี่ เนื อเป็
ี่
นเป็ น
้ ยงั พบในแร่เนฟิ ลีน
กลุม
่ (aggregate) นอกจากนี ก็
่ อแน่
้
สฟาเลอไรต ์ และควอรตซ ์ชนิ ดทีเนื
น (massive)
Waxy : ประกายคล ้ายเทียนไข หรือเล็บ เช่น หิน
เชิร ์ต common opal คาลซีโดนี (Chalcedony)
Dull : ผิวด ้านๆเหมือนดิน พบในอัญมณี ทบ
ึ แสงที่
ไม่ได ้ขัดมัน และแร่ดน
ิ ขาว
8. ประกาย (Luster)



Resinous : ประกายคล ้ายยางไม้ เช่น อาพัน
(Amber)(ไม่ใช่แร่) สฟาเลอไรต ์ กามะถัน
Silky : ประกายไหม มีลก
ั ษณะเป็ นเส ้นๆแวววาว
เหมือนไหม เกิดจากการสะท ้อนแสงจากกลุม
่ ของผลึก
แร่ทมี
ี ่ ลก
ั ษณะเป็ นเส ้นละเอียดขนาดเล็กและขนานกัน
เช่น แร่ยป
ิ ซ ัม(Gypsum) ชนิ ดซาทิน สปาร ์(Satin
spar) มาลาไคต ์(Malachite) เซอร ์เพนทีน
(Serpentine) แก ้วตาเสือ(Tiger’s eye) และอะเมโซ
ไนต ์ (Amazonite)
Pearly : ประกายคล ้ายมุก หรือเปลือกหอย
่
สังเกตเห็นได ้จากผิวของแร่ทอยู
ี่ บ
่ นระนาบทีขนานกั
บ
Adama
ntine
Greas
y
Subdama
ntine
Wax
y
Vitre
ous
Dull
Resino
us
Silk
y
Pear
ly
9. แนวแตกเรียบ (Cleavage) แนวแตก
(Parting)
และรอยแตก (Fracture)

แนวแตกเรียบ (Cleavage)
่ กแตกขนานไปกับ
แนวแตกเรียบ คือ แนวแตกทีมั
ระนาบอะตอม(Atomic plane) ในแร่แต่ละชนิ ด แนว
แตกถูกกาหนดโดยใช ้ดัชนี มล
ิ เลอร ์ เช่นเดียวกับการ
้
กาหนดหน้าผลึก แนวแตกเรียบอาจเกิดขึนอย่
าง
สมบูรณ์หรือช ัดเจน เช่น แร่ไมกา หรือแนวแตกเรียบ
ไม่ช ัดเจนอย่างแร่อะพาไทต ์ แร่บางชนิ ดอาจไม่มแี นว
แตกเรียบเลย เช่น ควอรตซ ์
9. แนวแตกเรียบ (Cleavage) แนวแตก
(Parting)
และรอยแตก (Fracture)
รูปแสดงแนวแตกเรียบชนิ ด
ต่างๆ โดย
- แนวแตกเรียบหนึ่ งทิศทาง
- แนวแตกเรียบสองทิศทาง
- แนวแตกเรียบสามทิศทาง
้
ตังฉาก
- แนวแตกเรียบสามทิศทาง
ทามุม
120 องศา

่ นได ้ชัด คือ เพชร กับ แกรไฟต ์
ตัวอย่างอีกอันหนึ่ งทีเห็
้ั
แร่ทงสองชนิ
ดมีองค ์ประกอบทางเคมีเหมือนกัน คือ คาร ์บอน
(C) แร่แกรไฟต ์มีแนวแตกเรียบเป็ นแผ่นราบเห็นได ้ชัดเจน
้ พน
โดยขนานไปกับแนว {0001} แนวแตกเรียบนี มี
ั ธะโควา
่ งแรง ยึดเหนี่ ยวอะตอมของคาร ์บอน แต่ในระหว่าง
เลนท ์ทีแข็
่ แข็งแรง
แผ่นกลับยึดเหนี่ ยวกันด ้วยแรงแวนเดอร ์วาลส ์ทีไม่
่
จึงทาให ้แร่แตกเป็ นแผ่นได ้ง่าย ต่างจากเพชรซึงอะตอมของ
คาร ์บอนยึดเหนี่ ยวกันด ้วยพันธะโควาเลนท ์เพียงชนิ ดเดียว
มีแนวแตกเรียบขนานกับหน้าผลึกทรง 8 หน้า
(octahedral) จากแรงยึดเหนี่ ยวของพันธะโควาเลนท ์ทาให ้
่ ด
เพชรมีความแข็งมากทีสุ

ในการกล่าวถึงแนวแตกเรียบ ควรบอกคุณภาพของ
แนวแตกด ้วย ได ้แก่ สมบู รณ์(Perfect) ดี
(Good) พอใช้ (Fair) แนวแตกเรียบมัก
ประกอบด ้วยความสมมาตรเสมอ เช่น ถ ้ามีแนวแตก
เรียบทิศออกตะฮีดรอลเกิดขึน้ 1 ทิศทางแล ้ว จะต ้อง
่ ทีมี
่ ความสัมพันธ ์กันในเชิง
มีแนวแตกเรียบอืนๆ
้ั
่
สมมาตรอีก 3 ทิศทาง แต่ก็ไม่ใช่แร่ทงหมดที
แสดง
แนวแตกเรียบ ถ ้าเทียบกันแล ้ว จะมีเพียงแร่ไม่กชนิ
ี่ ด
่
่
เท่านั้น ทีแสดงแนวแตกเรี
ยบอย่างเห็นได ้ช ัด ซึงแนว
้ สามารถใช ้เป็ นเกณฑ ์ในการ
แตกเรียบเหล่านี เอง
จาแนกแร่ได ้อย่างดี

แนวแตก (Parting)
่ แตกออกตามระนาบทีไม่
่ แข็งแรงของ
เมือแร่
โครงสร ้าง จะทาให ้เกิดแนวแตกขึน้ ความไม่แข็งแรง
นั้นอาจเป็ นผลมาจากความดัน หรือการแฝดของ
้
ผลึก หรือผลึกผสมเนื อแยก(Exolution)
เนื่ องจาก
ความไม่แข็งแรงดังกล่าวเกิดขนานกับระนาบที่
เหมาะสมกับผลึก และมีลก
ั ษณะคล ้ายแนวแตกเรียบ
แต่ทต่
ี่ างกันคือ แนวแตกไม่พบในแร่ชนิ ด
่ ดการ
เดียวกันทุกๆก้อน แต่จะพบในผลึกทีเกิ
่
้
แฝด หรือได้ร ับความกดด ันทีเหมาะสมเท่
านัน
รอยแตก (Fracture)


ในบางโครงสร ้าง ความแข็งแรงของพันธะมีขนาด
เท่าๆ กันโดยประมาณในทุกทิศทุกทาง การแตกของ
่
้
ผลึกโดยทัวไปจะไม่
เกิดขึนตามทิ
ศทางเฉพาะของผลึก
่ าวไว ้ข ้างต ้น รอยแตกจะเกิดขึนในทิ
้
ดังทีกล่
ศทางหรือใน
่ ใช่แนวแตกเรียบหรือแนวแยก รูปแบบของรอย
แนวทีไม่
แตกสามารถจาแนกแร่ได ้เป็ นอย่างดี
่
คล้ายฝาหอย (conchoidal) รอยแตกทีราบเรี
ยบ
คล ้ายผิวภายในของเปลือกหอย มักพบในแร่ ควอรตซ ์
และแก ้ว
้
คล้ายเส้นใย(Fibrous) และเสียนไม้
(splintery)
พบในแร่เช่น แร่ฮม
ี าไทต ์ และเพคโตไลต ์

คล้ายฟั นปลา (Hackly) รอยแตกขรุขระ

่
ไม่สมาเสมอ
(Uneven or irregular)
เป็ นฟันและแหลมคม เช่น ในทองแดง
่
 เรียบหรือสมาเสมอ
(Even) รอยแตกที่
้
เกือบเรียบ เช่น ในหินปูนเนื อละเอี
ยด
่ ผวิ ไม่เรียบ หรือไม่ปกติ เช่น ในแร่
รอยแตกทีมี
โรโดไนท ์
่ ผวิ เป็ น
 เป็ นเม็ด (Granular) รอยแตกทีมี
เม็ดๆ คล ้ายเม็ดกรวด หรือทรายขนาดเท่าๆกัน
รอยแตกแบบฝา รอยแตกแบบ
เส้นใย
หอย
รอยแตกแบบ
เรียบ
รอยแตกแบบ
ไม่สม่าเสมอ
รอยแตกแบบ
ฟั นปลา
รอยแตกแบบ
เป็ นเม็ด
10. ความโปร่ง (Diaphaniety)




ความโปร่ง คือ คุณสมบัตข
ิ องแร่ทยอมให
ี่
้แสงผ่าน
่ อง
เป็ นคุณสมบัตท
ิ สามารถสั
ี่
งเกตเห็นได ้ทันที เมือส่
ก ้อนแร่ด ้วยแสงสว่าง แบ่งเป็ น
่
องผ่านแล ้วเห็น
Transparent (โปร่งใส) เมือแสงส่
รูปร่างของวัตถุด ้านล่างช ัดเจน เช่น ควอรตซ ์
(Quartz) โทแพซ (Topaz)
่
่
Subtransparent (กึงโปร่
งแสง) เมือแสงส่
อง
ผ่านและ มองเห็นวัตถุ แต่เห็นรูปร่างไม่ช ัดเจน
Translucent (โปร่งแสง) แสงส่องผ่านได ้ แต่บอก
ไม่ได ้ว่างด ้านล่างเป็ นวัตถุอะไร
่
Transp
arent
Subtrans
parent
Subtranslu
cent
Translu
cent
Opa
que
คุณสมบัตท
ิ างไฟฟ้ า

การนาไฟฟ้า(Electric conductivity) ใน
่
่
ผลึกมีความเกียวข
้องกับชนิ ดของพันธะ แร่ตา่ งๆทีมี
พันธะโลหะล ้วนๆ เช่น โลหะธรรมชาติ จะเป็ นตัวนา
่ เยียม
่ ในแร่ทมี
ไฟฟ้ าทีดี
ี่ พน
ั ธะโลหะอยู่บางส่วน เช่น
่ วนา แร่ทมี
แร่ในหมู่ซ ัลไฟด ์ ก็จะเป็ นสารกึงตั
ั ธะไอ
ี่ พน
ออนิ ก หรือพันธะโควาเลนท ์ โดยปกติไม่เป็ นตัวนา
ไฟฟ้ า ส่วนแร่ทไม่
ี่ อยู่ในระบบผลึกสามแกนเท่า การ
่
นาไฟฟ้ าถือว่าเป็ นคุณสมบัตท
ิ างเวกเตอร ์ทีแปรสภาพ
่ ่ใน
ตามทิศทางของผลึก ตัวอย่างเช่น แร่แกรไฟต ์ซึงอยู
ระบบผลึกสามแกนราบ(Hexagonal) เป็ นตัวนา
้
่
ไฟฟ้ าได ้ดีมากในแนวตังฉากกั
าใน
บแกน c ซึงมากกว่
่
แนวทีขนานกั
บแกน c
คุณสมบัตท
ิ างไฟฟ้ า

Piezoelectricity (ไพโซอิเล็กทริกซิต)ี ้
่ กความดัน เกิดกับแร่ที่
หมายถึง การนาไฟฟ้ าเมือถู
ไม่มศ
ี น
ู ย ์กลางสมมาตร (center of symmetry) มี
่
ลักษณะพิเศษคือ อิเล็กตรอนสามารถวิงจากปลาย
่ กกระตุน้
ผลึกข ้างหนึ่ งไปยังปลายอีกข ้างหนึ่ ง เมือถู
้
โดยความดัน ทาให ้ความเป็ นไฟฟ้ าของปลายทังสอง
ข ้างแตกต่างกัน คือ เป็ นประจุบวก และประจุลบที่
ปลายคนละด ้าน แร่ทมี
ี่ คณ
ุ สมบัตน
ิ ี ้ เช่น ควอรตซ ์
ทัวร ์มาลีน
คุณสมบัตท
ิ างไฟฟ้ า

Pyroelectricity (ไพโรอิเล็กทริกซิต)ี ้ หมายถึง
่ กกระตุ ้นโดยความร ้อน เกิดเฉพาะ
การนาไฟฟ้ าเมือถู
่ polar axes เมืออุ
่ ณหภูมเิ ปลียนแปลง
่
กับผลึกทีมี
้
ปลายของแกนทังสองด
้านจะเกิดประจุไฟฟ้ าแตกต่าง
่ ามาจัดแสดงในตู ้ จะมีฝุ่น
กัน เช่นแร่ ทัวร ์มาลีน เมือน
่
ละอองมาจับมาก เพราะเมือโดความร
้อนจากแสงแดด
หรือแสงไฟ จะเกิดไฟฟ้ าสถิตย ์ในตัว จึงดูดฝุ่ นละออง
ได ้
คุณสมบัตท
ิ างแม่เหล็ก
แร่บางชนิ ดแสดงคุณสมบัตเิ ป็ นเหมือนแม่เหล็ก
่ สว่ นใหญ่ไม่เป็ นเช่นนั้น คุณสมบัต ิ
ในขณะทีแร่
ดังกล่าวเป็ นผลมาจากลักษณะเฉพาะตัวของธาตุบาง
ชนิ ด เช่น แร่แมกนี ไทต ์ เป็ นต ้น
Magnetite
่
คุณสมบัตท
ิ างกายภาพอืนๆ




่ (Odor) แร่ทมี
่
กลิน
ี่ กลินเหมื
ิ ขาว
อนดิน เช่น แร่ดน
รส (Taste) แร่ทมี
ี่ รสเค็ม ได ้แก่ แร่เฮไลต ์
่
สัมผัส (Feel) เช่น แร่ทลั ก ์ จะมีลก
ั ษณะลืนคล
้าย
สบู่
การทาปฏิก ิรย
ิ ากับกรด (Effervescence) คือ
่
คุณสมบัตข
ิ องแร่คาร ์บอเนต (Carbonates) ซึงจะ
่ กกรดเจือจาง
เป็ นฟองฟู่ เมือถู
การจาแนกแร่

การจาแนกแร่ออกเป็ นกลุม
่ ย่อยต่างๆนั้น อาศัย
้
องค ์ประกอบทางเคมี รวมทังโครงสร
้างผลึกเป็ น
เกณฑ ์หลักในการจาแนก จัดออกเป็ นหมู่(Class)
โดยแบ่งตามไอออนลบ (Anion) และกลุม
่ ไอออนลบ
(Anion group) นอกจากนั้นยังใช ้หลักเกณฑ ์ของ
่ นผลึกประกอบด ้วย เพือแบ่
่
โครงสร ้างภายในทีเป็
งหมู่
แยกออกไปเป็ นหมู่ย่อย (Subclass)
การจาแนกแร่









นักธรณี วท
ิ ยาจาแนกแร่ออกเป็ น 9 class (หมู่) ดังนี ้
ธาตุบริสุทธิ ์ (Native elements)
ซ ัลไฟด ์ (Sulfides)
เฮไลด ์ (Halides)
ออกไซด ์ (Oxides)
คาร ์บอเนต (Carbonate)
บอร ์เรต (Borates)
ซ ัลเฟต (Sulfates)
ฟอสเฟต (Phosphates)
ซิลเิ กต (Silicates)
ธาตุบริสท
ุ ธิ ์ (Native Elements)


้ งออกเป็ น 3 จาพวก คือ โลหะ (Metal)
ธาตุเหล่านี แบ่
่
กึงโลหะ
(semimetal) และอโลหะ (nonmetal) แร่ซงมี
ึ่
้ั
สารประกอบเป็ นธาตุธรรมชาติ พบได ้ในชนเปลื
อกโลก
จานวนน้อย
่ อนกันได ้ 3
ธาตุโลหะยังแบ่งออกตามโครงสร ้างทีเหมื
กลุม
่ (Group) คือ กลุม
่ ทองคา แพลทินัม และเหล็ก
่
พวกกึงโลหะแบ่
งเป็ น กลุม
่ อาร ์เซนิ ก และกลุม
่ ซีลเี นี ยม
พวกอโลหะ แบ่งเป็ นธาตุกามะถัน เพชร และแกรไฟต ์
1. โลหะธรรมชาติ (Native metal)
กลุ่มทองคา ประกอบด ้วย ทองคา เงิน ทองแดง
และตะกัว่ แร่สามชนิ ดแรกเป็ นแร่ทพบจ
ี่
านวนน้อยใน
เปลือกโลก และอยู่หมู่เดียวกันในตารางธาตุ ดังนั้นอะตอม
้ งมีคณ
ของธาตุเหล่านี จึ
ุ สมบัตท
ิ างเคมีคล ้ายคลึงกัน คือ
ค่อนข้างเฉื่อยต่อปฏิก ิรย
ิ าเคมีจนสามารถเกิดเป็ น
่
้ ดใน
ธาตุอส
ิ ระได้ในธรรมชาติ เมือธาตุ
เหล่านี เกิ
่ ผสมกับธาตุอน
ลักษณะทีไม่
ื่ จะมีโครงสร ้างอะตอมแบบ
่
face centered cubic คือ มีอะตอมอืนๆล
้อมรอบ
อะตอมกลาง 12 อะตอม และมีสมมาตรผลึก 4/m32/m
ทองคาและเงินมีขนาดอะตอมเท่ากัน คือ มีร ัศมีไอออน =
้ ยวกันได ้อย่าง
1.44 อังสตรอม จึงเป็ นผลึกผสมเนื อเดี
1. โลหะธรรมชาติ (Native metal)

้ มี
่ โครงสร ้างเดียวกัน และมี
คุณสมบัตข
ิ องแร่กลุม
่ นี ที
แรงยึดระหว่างอะตอมเป็ นแบบพันธะโลหะอย่างอ่อน
้ ความแข็งน้อย สามารถทุบให ้เป็ น
ทาให ้แร่ในกลุม
่ นี มี
แผ่นบางๆหรือยืดเป็ นเส ้นลวดขนาดเล็กได ้ เป็ นตัวนา
่ มีความวาวทีผิ
่ วเหมือน
ความร ้อนและไฟฟ้ าได ้ดีเยียม
โลหะ ฉี กขาดหรือแตกแบบฟันปลา (Hackly
fracture) มีจด
ุ หลอมเหลวค่อนข ้างตา่ คุณสมบัต ิ
้ นผลมาจากการยึดเกาะของอะตอมแบบ
ดังกล่าวนี เป็
พันธะโลหะ และโครงสร ้างอะตอมแบบอัดชิด (Closed
packing) ทาให ้มีความหนาแน่ นหรือ ถ.พ.สูง
1. โลหะธรรมชาติ (Native metal)

้ วนใหญ่พบเป็ นรูปกิงไม้
่ และผลึก
ผลึกแร่โลหะเหล่านี ส่
้
เล็กๆงอกเฉพาะตรงปลายเท่านั้น แร่ทมี
ี่ เนื อโลหะบริ
สท
ุ ธิ ์
่ อะตอมของพวกกิงโลหะ
่
หายาก ส่วนใหญ่มก
ั มีโลหะอืนๆ
่ ขนาดอะตอมใกล ้เคียงกัน ปนอยู่ด ้วยเสมอ ทองคากับ
ทีมี
เงินมักจะผสมกันได ้อย่างสมบูรณ์ ทองคาและทองแดงก็
สามารถผสมกันได ้เช่นกัน แต่เงินกับทองแดงเกือบจะ
ผสมเข ้ากันไม่ได ้เลย ปรอทอาจจะจัดเข ้าอยูใ่ นกลุ่มนี ้
เนื่ องจากมักพบในรูปโลหะผสมในทองคาและเงิน ใน
่ นเขต
ธรรมชาติ ปรอทพบเป็ นหย่อมๆ ในบริเวณทีเป็
ออกซิไดซ ์ตอนบนของแหล่งแร่ซน
ิ าบาร ์ ในร ัฐ
แคลิฟอร ์เนี ย และบริเวณภูเขาไฟ
1. โลหะธรรมชาติ (Native metal)

กลุ่มแพลทินม
ั ได ้แก่ แร่แพลทินัม(Pt) และแร่
แพลเลเดียม (Pd) นอกนั้นจะเป็ นแร่โลหะผสมของ
แพลทินัม-อิรเิ ดียม และอิรเิ ดียม-ออสเมียม คือแร่
แพลทินิ รเิ ดียม (Platimiridium) และแร่อิรโิ ดสมีน
(Iridosmine) แร่แพลทินัมธรรมชาติมก
ั มีโลหะ
เหล็กผสมอยู่ด ้วย โครงสร ้างอะตอมของแพลทินัม
แพลเลเดียมและอิรเิ ดียมก็มโี ครงสร ้างแบบเดียวกัน
กับโลหะกลุม
่ ทองคา คือเป็ นแบบ closed packing
และผลึกอยู่ในหมู่ 4/m32/m ส่วนแร่โลหะผสม
ระหว่างโลหะอิรเิ ดียมและออสเมียม มีโครงสร ้าง
่ (Hexagonal
อะตอมแบบอัดชิดรูปหกเหลียม
closed packing) และอยู่ในหมู่ผลึก 6/m 2/m
1. โลหะธรรมชาติ (Native
metal)

่ั
คุณสมบัตท
ิ วไปของโลหะกลุ
ุ
ม
่ แพลทินัม คือ มีจด
หลอมเหลวสูงและแข็งกว่ากลุม
่ แร่ทองคา
กลุ่มเหล็ก กลุม
่ แร่เหล็กมีแร่ทส
ี่ าคัญ 2 ชนิ ดคือ แร่
่ โลหะเหล็กเกือบบริสท
เหล็ก (Fe) ซึงมี
ุ ธิ ์ พบเฉพาะบน
ผิวโลก แต่หายากมาก มีโครงสร ้างอะตอมแบบลูกบาศก ์
่ จด
่ อะตอม
ทีมี
ุ ศูนย ์กลาง (Face centered cubic) ซึงมี
ข ้างเคียง 8 อะตอมล ้อมรอบอยู่
ทองคา (Gold)




ระบบผลึก : สามแกนเท่า (Isometric system)
่
่
รู ปผลึกทัวไป
: ทีพบคื
อ ออกตะฮีดรอล ส่วนฟอร ์มผลึก
dodecahedral ลูกบาศก ์ และtrapezohedral {113}
พบได ้น้อยมาก
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักจะพบรูปร่างการเกาะ
่ กลุม
กลุม
่ ผลึกแบบกิงไม้
่ ผลึกจะเป็ นรูปทรงไม่แน่ นอน
่ มีนอ้ ย
อาจเป็ นรูปร่างแบบเส ้นผม ตาข่าย และรูปกิงไม้
่
่ ัดเจน ส่วนใหญ่เป็ นแผ่น
มากทีจะแสดงฟอร
์มผลึกทีช
เกล็ด หรือกลุม
่ ก ้อน
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : Au
ทองคา (Gold)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 19.3
้
์
สี(colour) : ทอง – เหลือง ขึนอยู
ก
่ บ
ั ความบริสท
ุ ธิของ
่
ทองคา ถ ้ามีโลหะอืนปนอยู
ม
่ าก สีจะจางลง
สีผง(steak) : เหลือง
ความแข็ง(hardness) : 2 ½ - 3
ความแกร่ง(Tenacity) : สามารถตีเป็ นแผ่น และดึงเป็ นเสน้
ได ้ดีมาก
ประกาย(Luster) : โลหะ (Metallic)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่มี
รอยแตก(fracture) : คล ้ายฟันปลา (Hackly)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง (opaque)
ทองคา (Gold)

องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
่
ทองคาส่วนใหญ่มก
ั มีโลหะอืนปน
โลหะผสมระหว่าง
้ นปริมาณตังแต่
้
้
ทองคากับเงิน โดยมีเนื อเงิ
20 % ขึนไป
เรียกว่า อิเล็กตร ัม (electrum) อาจมีธาตุทองแดงและเหล็ก
ปนอยูบ
่ ้าง และธาตุอนๆปนอยู
ื่
เ่ ป็ นจานวนน้อย เช่น Bi, Pb,
Sn, Zn และโลหะในกลุม
่ แพลทินัม โลหะทองคาส่วนใหญ่มี
่
โลหะชนิ ดอืนผสมอยู
ป
่ ระมาณร ้อยละ 10 ถือว่ามีความ
บริสท
ุ ธิ ์ (fineness) = 900
ทองคา (Gold)

่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
่ สเี หลือง
ทองคาแตกต่างจากแร่ในหมู่ซ ัลไฟด ์ทีมี
่ โดย
เช่น ไพไรต ์ และคาลโคไพไรต ์ และแร่ไมกาทีผุ
ทองคาสามารถตัดได ้ มีถ.พ.สูง ทองคาหลอมละลาย
ได ้ทีอุ่ ณหภูมิ 1,063 องศาเซลเซียส ไม่ทาปฏิก ิรยิ า
กับกรด ยกเว ้นกรดกัดทอง (Aqua regia)
ทองคา (Gold)

การเกิด
ทองคามักพบในสายแร่ทเกิ
ี่ ดสัมพันธ ์กับหินอัคนี
่ าคัญของทองคาเป็ นสาย
และแร่เพกมาไทต ์ แหล่งทีส
่ ดแบบสายแร่นาร
้ ้อน โดยเกิด
แร่ทองคา-ควอรตซ ์ทีเกิ
่ ทองคาเข ้าไป
ร่วมกับแร่ไพไรต ์และแร่หมู่ซ ัลไฟด ์อืนๆ
่
เกิดผสมกับแร่ซ ัลไฟด ์โดยไม่มก
ี ารแทนทีของไอออน
ใดๆ
่
เมือสายแร่
ทองคาผุลงทองคาจะถูกพัดพาไป
สะสมตัวในแหล่งตะกอนพัดพา (eluvial deposit) ที่
อยู่ใกล ้แหล่งเดิม หรือแหล่งลานแร่(placer
่
deposit) ซึงไหลไปสะสมตามธารน
า้
ทองคา (Gold)

แหล่งแร่ทส
ี่ าค ัญ
่ าคัญอยู่ในประเทศสาธารณร ัฐ
แหล่งทองคาทีส
แอฟริกาใต ้ สหพันธร ัฐร ัสเซีย จีน แคนาดา
สหร ัฐอเมริกา และบราซิล สาหร ับในประเทศไทย พบที่
อ.กบินทร ์บุร ี จ.สระแก ้ว, อ. โต๊ะโมะ จ.นราธิวาส, อ.บาง
สะพานใหญ่ จ. ประจวบคีรข
ี น
ั ธ ์, อ.วังเหนื อ และ อ.เถิน
จ.ลาปาง, อ.ท่าตะโก จ.นครสวรรค ์, อ.หล่มสัก จ.
้
เพชรบูรณ์, ภูถาพระ
จ.เลย, อ. บ ้านผือ จ.อุดรธานี ,
บ ้านบ่อทอง จ.ชลบุร,ี อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุร ี และ
เขาปะ จ.พังงา เป็ นต ้น
ทองคา (Gold)

ประโยชน์
ทองคาถูกใช ้เป็ นมาตรฐานของเงินตรา ใช ้ทา
่
่ อทางวิทยาศาสตร ์ การชุบโลหะ
เครืองประดั
บ เครืองมื
ทาแผ่นทองคาเปลว ใช ้ในทางทันตกรรม เป็ นต ้น
่ น
ชือ่ ทองคา(Gold) มาจากคาว่า Ghel ซึงเป็
ภาษาอินโด-ยูโรเปี ยน แปลว่า ส่องแสงเปล่งปลัง่ (to
shine, to gleam) และสีเหลืองอร่าม (Glitter)
เงิน (Silver)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า
่
รู ปผลึกทัวไป
: ทรงลูกบาศก ์ แต่พบน้อยมาก
โดยส่วนใหญ่รป
ู ผลึกมักผิดรูป
การเกาะกลุ่มกน
ั ของผลึก : เป็ นการเกาะ
่ ้านหรือรูปตาข่าย โดยปกติพบ
กลุม
่ เป็ นกิงก
เป็ นกลุม
่ ก ้อน รูปร่างไม่แน่ นอน เป็ นแผ่นหรือ
เกล็ด
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : Ag
เงิน (Silver)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
่
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 10.5 (เมือบริ
สท
ุ ธิ)์
่ โลหะอืนเจื
่ อปน
10-12 เมือมี
สี(colour) : ขาว-เงิน
สีผง(steak) : ขาว-เงิน
้
ความหมอง : สีนาตาล
หรือ เทา-ดา
ความแข็ง(hardness) : 2 ½ - 3
ความแกร่ง(Tenacity) : ตีเป็ นแผ่นและดึงยืดเป็ นเส ้นได ้
ประกาย(Luster) : โลหะ (metallic)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่มี
รอยแตก(fracture) : คล ้ายฟันปลา
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง
เงิน (Silver)


องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
เงินธรรมชาติมก
ั จะเกิดเป็ นโลหะผสมกับทองคา ปรอท
และทองแดง ส่วนแพลทินัม พลวงและบิสมัท พบปนอยู่นอ
้ ย
่
้ ยว
มาก สารเจือปรอท(amalgam) ทีพบคื
อ ผลึกผสมเนื อเดี
ของเงินและปรอท
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
เงินสามารถจาแนกได ้โดยอาศัยคุณสมบัตท
ิ สามารถตี
ี่
่ และถ.พ.สูง เงินหลอมละลายที่
เป็ นแผ่นได ้ สีบนผิวทีสด
อุณหภูมิ 960 องศา ไปเป็ นเม็ดเงินเล็กๆ ผิวมันวาว
เงิน (Silver)

การเกิด
เงินธรรมชาติเกิดกระจายในเขตออกซิไดซ ์ของแหล่ง
สินแร่ แต่สว่ นใหญ่มก
ั พบตามแหล่งปฐมภูมท
ิ เกิ
ี่ ดจาก
้ ร ้อน มีอยู่ 3 แบบ คือ
สารละลายนาแร่
1. เกิดร่วมกับแร่หมู ่ซ ัลไฟด ์ ได ้แก่ ซีโอไลต ์ แคลไซต ์
่
แบไรต ์ และควอรตซ ์ แหล่งทีพบเช่
น เมืองคองสเบิร ์ก
ประเทศนอร ์เวย ์
2. เกิดร่วมกับแร่หมู ่อาร ์เซไนด ์ และหมู ่ซ ัลไฟด ์
้ วมกับแร่บท
ของธาตุโคบอลต ์ นิ กเกิล และเงินรวมทังร่
ิ มัส
่ เช่น เมืองโคบอลต ์ ร ัฐออนตาริโอ
แหล่งทีพบ
สหร ัฐอเมริกา
เงิน (Silver)

แหล่งแร่ทส
ี่ าคัญ
่ าวไปแล ้วข ้างต ้นนั้น ในประเทศ
นอกจากแหล่งทีกล่
ก็พบแร่เงินเช่นกัน โดยพบร่วมกับแร่ตะกัว่ สังกะสี เช่น
จังหวัดกาญจนบุร ี เป็ นต ้น
เงิน (Silver)

ประโยชน์
ใช ้ในงานอุตสาหกรรมการผลิตฟิ ล ์มถ่ายภาพ
่ น เช่น ช ้อน ส ้อม ขัน และ
ฟิ ล ์มภาพยนตร ์ ทาเครืองเงิ
พาน อุปกรณ์ไฟฟ้ า เป็ นต ้น
สัญลักษณ์ Ag ของเงินมาจากคาเรียกเงินใน
่
ภาษาละตินว่า argentums ซึงมาจากภาษาสั
นสกฤต
่ ้วว่าสีขาว และส่องสว่าง
ทีแล
ทองแดง (Copper)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า
่
รู ปผลึกทัวไป
: ทรงลูกบาศก ์
่ ้านออก
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักแตกกิงก
่ นอกจากนั้นยังพบเป็ นกลุม
เหมือนกับกิงไม้
่ ก ้อน แผ่น และ
่ ดงอ
เกล็ด และเหมือนเส ้นลวดทีบิ
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : Cu
ทองแดง (Copper)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 8.9
สี(colour) : ชมพูออ
่ น-ทองแดง
สีผง(steak) : แดง
ความหมอง : มีสเี ขียวจนถึงดา
ความแข็ง(hardness) : 2 ½ - 3
ความแกร่ง(Tenacity) : ตีเป็ นแผ่น และดึงยืดเป็ นเส ้นได ้
ประกาย(Luster) : โลหะ (metallic)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่มี
รอยแตก(fracture) : คล ้ายฟันปลา (Hackly)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง
ทองแดง (Copper)



องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
ทองแดงธรรมชาติมก
ั เกิดร่วมกับธาตุทมี
ี่ จานวนน้อย
เช่น Ag, Bi, Hg, As และ Sb
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
ทองแดงธรรมชาติ ผิวสดเป็ นสีแดง รอยแตกคล ้ายฟัน
ปลา ถ.พ.สูง ตีเป็ นแผ่นได ้ หลอมละลายที่ 1,083 องศา
เซลเซียส กลายเป็ นเม็ดกลมเล็กๆ ละลายได ้ดีในกรดไนตริก
้ นเข ้มทีได
่ ้จากการเติมแอมโมเนี ยมไฮด
และสารละลายสีนาเงิ
รอกไซด ์
การเกิด
ทองแดงเกิดร่วมกับแร่ควิ ไพรต ์ มาลาไคต ์ และอะซูไรต ์
ทองแดง (Copper)

แหล่งแร่ทส
ี่ าค ัญ
แหล่งแร่ปฐมภูมข
ิ องทองแดงเกิดร่วมกับลาวาของ
หินบะซอลต ์ โดยการสะสมตัวเกิดจากปฏิก ิรยิ าของสาร
้ ร ้อนทีเกิ
่ ดร่วมกับแร่เหล็กออกไซด ์ เพือนแร่
่
นาแร่
ทพบ
ี่
ร่วมกันได ้แก่ พรีห ์ไนต ์ ดาโทไลต ์ เอพิโดต แคลไซต ์และ
ซีโอไลต ์ แหล่งแร่ปฐมภูมท
ิ ส
ี่ าคัญ คือ ประเทศ
สหร ัฐอเมริกา สาหร ับในประเทศไทยพบที่ อ.พนมสาร
คาม จ.ฉะเชิงเทรา, อ.ฟากท่า จ.อุตรดิตถ ์,
อ.งาว จ.ลาปาง, เลย, นครสวรรค ์, อุทยั ธานี , พิษณุโลก
และแพร่
ทองแดง (Copper)


ประโยชน์
่
ใช ้ทาสายไฟฟ้ าเป็ นส่วนใหญ่ และใช ้ในการทาไฟฟ้ าอืนๆ
ใช ้ทาโลหะผสม เช่น ทองเหลือง(ทองแดงผสมสังกะสี) บรอนซ ์
(ทองแดงผสมดีบุก และสังกะสี) เยอรมันซิลเวอร ์(ทองแดงผสม
สังกะสี และนิ กเกิล)
ชือ่ Copper มาจากภาษาละตินว่า aes Cryrium แปลว่า
metal of Cyprus และกลายมาเป็ น copper
แพลทินม
ั (Platinum)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า
่
รู ปผลึกทัวไป
: ทรงลูกบาศก ์พบน้อยมาก ส่วนใหญ่มก
ั ผิด
รูป
การเกาะกลุ่มกน
ั ของผลึก : มักพบผลึกเป็ นเม็ดและเกล็ด
เล็กๆ บางแห่งพบเป็ นกลุม
่ ก ้อน มีรป
ู ร่างไม่แน่ นอน และ
่ ขนาดใหญ่
เป็ นนัตเกต(Nuggets) ทีมี
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : Pt
แพลทินม
ั (Platinum)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 14 - 19
สี(colour) : เทาคล ้ายเหล็กกล ้า - เทาเข ้ม
สีผง(steak) : สีเทาคล ้ายเหล็กกล ้า จนถึงสีขาวเงิน
ความแข็ง(hardness) : 4 - 4 ½
ความแกร่ง(Tenacity) : ตีเป็ นแผ่นและดึงยืดเป็ นเส ้นได ้
ประกาย(Luster) : โลหะ (metallic)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : ไม่มี
รอยแตก(fracture) : คล ้ายฟันปลา (Hackly)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง
แพลทินม
ั (Platinum)



องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
โดยปกติแพลทินัมจะพบเป็ นโลหะผสมกับเหล็ก(Fe)
โดยมีธาตุ Ir, Os, Rh, Pd, Cu, Au และ Ni ปนบ ้างเล็กน้อย
คุณสมบัตท
ิ างแม่เหล็ก
่ เหล็กปนอยูใ่ น
แพลทินัมสามารถดูดติดแม่เหล็กได ้ เมือมี
แร่มาก
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
แพลทินัมมีคา่ ความถ่วงจาเพาะสูง ตีเป็ นแผ่นได ้ ไม่
หลอมละลายในเปลวไฟ ไม่ทาปฏิก ิรยิ ากับกรด ยกเว ้นกรด
กัดทอง(aqua regia)
แพลทินม
ั (Platinum)


แหล่งแร่ทส
ี่ าคัญ
เหมืองแร่แพลทินัมส่วนใหญ่ทาในแหล่งลานแร่ทเกิ
ี่ ดอยู่
ในบริเวณใกล ้เคียงกับแหล่งปฐมภูมห
ิ รือหินต ้นกาเนิ ด แหล่ง
แพลทินัม เช่น ในประเทศรัสเซีย แคนาดา สาธารณร ัฐ
แอฟริกาใต ้ หมู่เกาะบอร ์เนี ยว ออสเตรเลีย นิ วซีแลนด ์
บราซิล เปรู มาดากัสการ ์ และสหร ัฐอเมริกา ส่วนประเทศไทย
่ ้านคาด ้วง จ.อุดรธานี โดยพบร่วมกับแร่ทองคา
พบทีบ
ประโยชน์
ใช ้เป็ นตัวเร่งปฏิก ิรยิ าในอุตสาหกรรมเคมีและปิ โตรเลียม
่ อวิทยาศาสตร ์ อุปกรณ์ไฟฟ้ า และเครืองประดั
่
เครืองมื
บ
่ อทางทันตกรรม เครืองมื
่ อผ่าตัด
นอกจากนั้นยังใช ้ทาเครืองมื
และใช ้ทาอุปกรณ์ถา่ ยภาพ
เหล็ก (Iron)



ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกรวมกันเป็ น
กลุม
่ ก ้อนขนาดใหญ่
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : Fe
เหล็ก (Iron)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 7.3 – 7.9
สี(colour) : เทา-ดา
สีผง(steak) : เทา
ความแข็ง(hardness) : 4 ½
ความแกร่ง(Tenacity) : ตีเป็ นแผ่นได ้
ประกาย(Luster) : โลหะ (metallic)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : คล ้ายฟันปลา (Hackly)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง
เหล็ก (Iron)



องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
α-Fe ประกอบด ้วย Ni ปนอยูเ่ สมอ และมีธาตุ Co, Cu,
Mn, S และ C โครงสร ้างของ α-Fe เป็ นการประสารไอออน
่ นหน่ วยจุดศูนย ์กลาง(Body centered
แบบลูกบาศก ์ทีเป็
cubic packing)
คุณสมบัตท
ิ างแม่เหล็ก
แร่เหล็กสามารถดูดติดแม่เหล็กได ้ดีมาก สามารถ
นาไปใช ้ตรวจสอบแร่ได ้
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
่ าคัญของแร่เหล็กคือ คุณสมบัตก
ลักษณะทีส
ิ ารดูดติด
้ งพบการเกิดสนิ มทีผิ
่ ว เมือท
่ าปฏิก ิรยิ า
แม่เหล็ก นอกจากนี ยั
้
กับนาและอากาศ
ไม่ละลายในกรดใดๆ ยกเว ้นกรดเกลือ
เหล็ก (Iron)

การเกิด
้
แร่เหล็กธรรมชาติเกิดขึนบนโลกได
้น้อยมาก แต่เกิดใน
้ เหล็
้ กธรรมชาติอยูใ่ นสถานะที่
หินอุกกาบาตได ้มากกว่า ทังนี
่ ดการออกซิไดซ ์ในหินต่างๆ ใน
ไม่เสถียร ในกระบวนการทีเกิ
้
้
่ อหุ ้มโลก โดย
ชันเปลื
อกโลกหินชันบนและในบรรยากาศที
ห่
ปกติเหล็กจะอยูใ่ นรูป Fe2+ ในหมู่แร่ออกไซด ์ เช่น แมกนี
ไทต ์ (Fe3O4) หรือ ฮีมาไทต ์(Fe2O3) หรือในหมู่ไฮ
่ ดขึนบนโลก
้
ดรอกไซด ์ เช่น เกอไทต ์ (FeO.OH) เหล็กทีเกิ
่ น
มักพบในหินหนื ดปฐมภูมิ หรือเป็ นสารประกอบเหล็กทีเป็
่ ธาตุคาร ์บอน
แหล่งทุตยิ ภูมภ
ิ ายใต ้สภาวะรีดก
ั ชัน โดยสารทีมี
ปนเปื ้ อน
เหล็ก (Iron)


แหล่งแร่ทส
ี่ าค ัญ
์
แร่เหล็กบริสท
ุ ธิพบน้
อยมาก เช่น ในประเทศ
เยอรมนี ร ัสเซีย เป็ นต ้น เนื่ องจากอะตอมของเหล็ก
่ ดเป็ นแร่ใหม่
ส่วนใหญ่มก
ั ไปจับกับอะตอมชนิ ดอืนเกิ
ประโยชน์
้
เหล็กเป็ นส่วนประกอบพืนฐานของเปลื
อกโลก
และมีมากเป็ นอันดับ 4 รองจาก ออกซิเจน ซิลก
ิ อน
และอะลูมเิ นี ยม
2. ธาตุกงโลหะธรรมชาติ
ึ่
(Native
semimetal)
ธาตุกงโลหะได
ึ่
้แก่ อาร ์เซนิ ก(As), พลวง (Sn) และ
บิสมัท (Bi) เป็ นกลุม
่ ธาตุทมี
ี่ โครงสร ้างผลึกเหมือนกันและอยู่
ในหมู่ผลึก 3 2/m อยูใ่ นระบบสามแกนราบในดิวช
ิ นั รอมโบฮี
เหมือนกับ
ดรอล โครงสร ้างอะตอมของธาตุกงโลหะไม่
ึ่
โครงสร ้างอะตอมของโลหะ คือ ภายในโครงสร ้างแต่ละตัวจะ
่
จับตัวกับอะตอมข ้างเคียง 3 ตัว ในระยะทีใกล
้กว่าอะตอม
่ ทาให ้อะตอมทีชิ
่ ดกัน เบียดจนด ้านนั้นแบน ส่วนแรง
อืนๆ
่ ใ่ กล ้กัน เกิดเป็ นทรงพิรามิด
เกาะยึดระหว่างอะตอมทัง้ 4 ทีอยู
ย่อมๆภายในโครงสร ้าง เนื่ องมาจากแรงยึดเกาะแบบพันธะโค
่ บว่าเป็ นแรงยึดเหนี่ ยวทีแข็
่ งแรงมาก ทาให ้
วาเลนท ์ซึงนั
้
้
โครงสร ้างเป็ นชินๆเหล่
านี ขนานกั
บหน้าพินาคอยด ์คูฐ่ าน
{0001}
2. ธาตุกงโลหะธรรมชาติ
ึ่
(Native
semimetal)
้ั
้ า
ในขณะเดียวกันแรงเกาะยึดระหว่างชนเหล่
านี ท
่ ค่อนข ้าง
ให ้แร่มแ
ี นวแตกเรียบ(cleavage)ทีดี
เปราะ และความสามารถในการนาความร ้อน
่
และไฟฟ้าตากว่
าโลหะธรรมชาติอน
ั เป็ นผล
เนื่ องมาจากแระยึดเกาะระหว่างอะตอมผสมกัน
่ น
ระหว่างพันธะโลหะ และพันธะโควาเลนท ์ ซึงเป็
่ งแรงกว่า และมีทศ
พันธะทีแข็
ิ ทางแน่ นอนกว่าแรง
เกาะยึดอะตอมของพันธะโลหะ สมมาตรของแร่กงึ่
่ าแร่โลหะธรรมชาติด ้วย
โลหะจึงตากว่
อาร ์เซนิ ก (Arsenic)



ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (hexagonal
system)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักเกาะกลุม
่ กันเป็ น
รูปพวงองุ ่น
้ั
(botryoidal) บางครงพบเป็
นเม็ดๆ (granular)
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : As
อาร ์เซนิ ก (Arsenic)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 5.8
สี(colour) : เทาตะกัว่ เทา และขาว
สีผง(steak) : ดา
ความหมอง : ดา
ความแข็ง(hardness) : 3 ½
ประกาย(Luster) : โลหะ (metallic)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : สมบูรณ์ในหน้า {0001}
รอยแตก(fracture) : ไม่เรียบ (uneven)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง
อาร ์เซนิ ก (Arsenic)




องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
องค ์ประกอบและโครงสร ้างของแร่อาร ์เซนิ กได ้อธิบายไป
แล ้วในหัวข ้อแร่กงโลหะธรรมชาติ
ึ่
คุณสมบัตท
ิ างแม่เหล็ก ไม่มค
ี ณ
ุ สมบัตใิ นด ้านนี ้
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
่ เมือแตก
่
ลักษณะของผิวทีแร่
ผิวแร่สดจะหมองลงอย่าง
่ กความร ้อนจะระเหิด
รวดเร็วจนกลายเป็ นสีดา มีพษ
ิ เมือถู
่
อย่างรวดเร็ว กลายเป็ นไอและมีกลินคล
้ายกับกระเทียม
การเกิด
่ ยวข
่
แร่อาร ์เซนิ กเกิดจากกระบวนการทีเกี
้องกับสายนา้
แร่ร ้อน และเกิดร่วมกับแร่ทมี
ี่ อาร ์เซนิ กเป็ นองค ์ประกอบ
อาร ์เซนิ ก (Arsenic)



แหล่งแร่ทส
ี่ าคัญ
อาร ์เซนิ กธรรมชาติพบน้อยมาก เช่น ประเทศญีปุ่่ น และ
ร ัฐอริโซนา สหร ัฐอเมริกา
ประโยชน์
ถึงแม้อาร ์เซนิ กจะมีพษ
ิ แต่ก็ยงั ถูกใช ้ในทางการแพทย ์
่ ักษาอาการติดเชือ้ และยังใช ้เป็ นโลหะหรืออัลลอยด ์ผสม
เพือร
่ มอุ
่ ณหภูมใิ นการหลอมละลาย
เพือเพิ
่
ชืออาร
์เซนิ ก มาจากคาว่า Arsenicon ในยุคกรีกโบราณ
แอนทิโมนี หรือพลวง
(Antimony)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (Hexagonal
system)
่
รู ปผลึกทัวไป
: ผลึกรอมโบฮีดรอล
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มักเกาะกลุม
่ กันเป็ น
รูปพวงองุ ่น (botryoidal)
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : Sb

แอนทิโมนี หรือพลวง
(Antimony)
คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 6.7
สี(colour) : เทา-ขาว
สีผง(steak) : เทา
ความแข็ง(hardness) : 3 - 3 ½
ประกาย(Luster) : โลหะ (metallic)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : สมบูรณ์
รอยแตก(fracture) : ไม่เรียบ (uneven)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง
แอนทิโมนี หรือพลวง
(Antimony)



องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
องค ์ประกอบและโครงสร ้างของแร่แอนทิโมนี ได ้
อธิบายไปแล ้วในหัวข ้อแร่กงโลหะธรรมชาติ
ึ่
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
่
ประกายโลหะ และผลึกทีเกาะกลุ
ม
่ กันเป็ นรูปพวง
องุ ่น
การเกิด
้ ร ้อน(hydrothermal
แร่พลวงเกิดในสายนาแร่
viens) เกิดร่วมกับแร่เงิน สติบไนต ์ สฟาเลอร ์ไรต ์
้
แอนทิโมนี หรือพลวง
(Antimony)


แหล่งแร่ทส
ี่ าค ัญ
พบในประเทศฟิ นแลนด ์ สาธารณร ัฐเชค แคนนา
ดา เป็ นต ้น
ประโยชน์
ในเป็ นตัวต ้านทานความร ้อน และยังใช ้ในงาน
้ งใช ้
ศิลปะเช่น การลงสี เซรามิกส ์ การลงยา อีกทังยั
่ ้วย
ในการผสมกับโลหะชนิ ดอืนด
บิสมัท (Bismuth)



ระบบผลึก : ระบบสามแกนราบ (Hexagonal
system)
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : พบผลึกเป็ นเม็ดๆ
(Granular)
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : Bi
บิสมัท (Bismuth)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 9.8
สี(colour) : เทาเงิน-ขาว
สีผง(steak) : เงิน-ขาว
ความหมอง : สีชมพู
ความแข็ง(hardness) : 2 - 2 ½
ประกาย(Luster) : โลหะ (metallic)
แนวแตกเรียบ(cleavage) : สมบูรณ์
ความโปร่งใส(Diaphenity) : ทึบแสง
บิสมัท (Bismuth)



องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
องค ์ประกอบและโครงสร ้างของแร่บส
ิ มัทได ้อธิบายไปแล ้ว
ในหัวข ้อแร่กงโลหะธรรมชาติ
ึ่
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
่ งมาก เมือหมอง
่
ค่า ถ.พ.ทีสู
ผิวแร่จะมีสช
ี มพู
การเกิด
้ ้อน
แร่บท
ิ มัสพบในหินเพกมาไทต ์ และในสายแร่นาร
ร่วมกับแร่คาลโคไพไรต ์ อาร ์ซีโนไพไรต ์ และแร่นิกเกิลไลน์
เป็ นต ้น
บิสมัท (Bismuth)


แหล่งแร่ทส
ี่ าค ัญ
พบในประเทศมาดากัสการ ์ เยอรมัน ออสเตรเลีย
เป็ นต ้น
ประโยชน์
่ าอาง ยา
แร่บส
ิ มัทเป็ นส่วนประกอบของเครืองส
ร ักษาโรค ใช ้เป็ นแร่โลหะผสม
3. อโลหะธรรมชาติ (Native
nonmetals)


ธาตุอโลหะ ได ้แก่ ซัลเฟอร ์(S) เพชร(C) และแกรไฟต ์
่
(C) มีโครงสร ้างแตกต่างจากธาตุโลหะและกึงโลหะมาก
แร่ซ ัลเฟอร ์ หรือกัมมะถ ันในธรรมชาติน้ัน เกิดเป็ น
ฟอร ์มผลึกในระบบผลึกสามแกนต่าง (Orthorhombic
่
system) มีสมมาตรผลึก 2/m2/m2/m รูปแบบอืนๆของ
กามะถันอีก 2 แบบอยูใ่ นระบบหนึ่ งแกนเอียง (Monoclinic
่ ้จากการ
system) พบยากในธรรมชาติ แต่ผลึกกามะถันทีได
สังเคราะห ์มักจะให ้รูปผลึกระบบหนึ่ งแกนเอียงเสมอ อะตอม
่
ของซลั เฟอร ์เชือมต่
อกันด ้วยแรงแวนเดอร ์วาลส ์เป็ นลักษณะ
คล ้ายวงแหวน โดยมีชอ่ งห่างระหว่างวงแหวนมากบางครง้ั
่
อาจมีธาตุซเี ลเนี ยมเข ้ามาแทนทีธาตุ
ซลั เฟอร ์ได ้บ ้างเล็กน้อย
เนื่ องจากร ัศมีอะตอมใกล ้เคียงกัน
3. อโลหะธรรมชาติ (Native
nonmetals)

โครงสร ้างพหุสณ
ั ฐานของแร่ 2 ชนิ ด ได ้แก่ เพชร และ
่ น
แกรไฟต ์ เพชรมีโครงสร ้างการจัดเรียงตัวแบบติดกันซึงเป็
่ งแรงมาก โดยทีคาร
่
โครงสร ้างทีแข็
์บอนอะตอมของแต่ละ
อะตอมจับตัวกับอีก 4 คาร ์บอนอะตอม ด ้วยพันธะโควาเลนท ์
่ า โครงสร ้างแบบนี ้
ในลักษณะเตตระฮีดรอล หรือรูปทรงสีหน้
้ งพบว่า
แม้วา่ จะไม่ใช่โครงสร ้างแบบอัดชิดก็ตาม นอกจากนี ยั
่ กบรรจุด ้วยอะตอมมีเพียง 34 % โดย
ทีว่่ างในโครงสร ้างทีถู
่
ปริมาตร จะยังคงมีแผ่นของคาร ์บอนอะตอมทีวางตั
วขนาน
่ ชอ่ งว่างระหว่างแผ่นค่อนข ้างกว ้าง ซึงท
่ าให ้
แนว {111} ซึงมี
แนวแตกเรียบแนวออกตะฮีดรอลค่อนข ้างชัดเจนมากใน
่ ต
่ จานวน
เพชร แผ่นทีอยู
่ ามแนว {111} นี ้ เป็ นระนาบทีมี
่ ด
อะตอมคาร ์บอนหนาแน่ นทีสุ
3. อโลหะธรรมชาติ (Native
nonmetals)

่
โครงสร ้างของแกรไฟต ์ประกอบด ้วยวงแหวนทีมี
่
อะตอมคาร ์บอนอยู่ 6 อะตอม ซึงคาร
์บอนแต่ละ
่ บตัวอยู่ ณ
อะตอมมีอะตอมข ้างเคียงอยู่ 3 อะตอมทีจั
่
ยอดของสามเหลียมด
้านเท่า มีอเิ ล็กตรอนวงนอกสุด
3 ใน 4 ตัวของแต่ละอะตอม จะเกิดการจับตัวกันของ
้ั ยวกันด ้วยพันธะโควาเลนท ์ ส่วน
อะตอมในชนเดี
่ ออีก 1 ตัว จะวิงอยู
่ ่เหนื อพืนผิ
้ วของ
อิเล็กตรอนทีเหลื
แผ่นดังกล่าว ทาให ้เกิดประจุไฟฟ้ ากระจายออก ทา
่
ให ้แกรไฟต ์มีความนาไฟฟ้ าสูงกว่าเพชร ซึงมี
อิเล็กตรอนวงนอกสุด 4 ตัวถูกจับไว ้ด ้วยพันธะโควา
้
่
่ ่
3. อโลหะธรรมชาติ (Native
nonmetals)

แผ่นอะตอมคาร ์บอนของแกรไฟต ์จะกองสุมกันใน
่
ลักษณะสลับและเหลือมต
าแหน่ งกัน ประมาณครึง่
ระยะทางระหว่างอะตอมข ้างเคียงภายในแผ่นอะตอม
ส่วนระยะระหว่างอะตอมแต่ละแผ่นจะอยู่ห่างกันมาก
และมากกว่าขนาดอะตอมเป็ นอย่างมาก แรงยึดเกาะ
้
ระหว่างแผ่นอะตอมทังหลายเป็
นแรงแวนเดอร ์วาลส ์
่ นแรงทีอ่่ อนมาก จึงทาให ้มีแนวแตกเรียบ
ซึงเป็
่
สมบูรณ์ และสามารถเลือนไถลไปตามระนาบเหล่
านี ้
่ กบรรจุอยู่ในโครงสร ้างมีประมาณ 21 %
อะตอมทีถู
่ ยบกับเพชรแล ้ว แกรไฟต ์
โดยปริมาตร ดังนั้นเมือเที
่
รู ปแสดง โครงสร ้างของเพชรและแกรไฟต ์
ซ ัลเฟอร ์ (Sulphur)




ระบบผลึก : ระบบสามแกนต่าง (Orthorhombic
system)
่
รู ปผลึกทัวไป
: พีระมิด และมักเป็ นไดพิระมิด 2 ฟอร ์ม
้ งพบฟอร ์มปริซมึ {011}
ร่วมกัน นอกจากนี ยั
การเกาะกลุ่มกน
ั ของผลึก : พบเป็ นกลุม
่ ก ้อนรูปร่างไม่
่ สมบูรณ์ หรือพบในรูปของการ
แน่ นอน โดยการตกผลึกทีไม่
เกาะกลุม
่ แบบกลุม
่ ก ้อน รูปไต หินย ้อย หุ ้มห่อกันอยู่ และ
คล ้ายดิน
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : S
ซ ัลเฟอร ์ (Sulphur)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.05 - 2.09
สี(colour) : เหลือง อาจปนเขียว เทา หรือแดง เนื่ องจากมี
มลทินเจือปน
สีผง(steak) : ขาว
ความหมอง : มีลก
ั ษณะด ้าน
ความแข็ง(hardness) : 1 ½ - 2 ½
ความแกร่ง(Tenacity) : เปราะ (brittle)
ประกาย(Luster) : คล ้ายยางสน
แนวแตกเรียบ(cleavage) : พอใช ้
รอยแตก(fracture) : คล ้ายฝาหอยถึงไม่เรียบ
ความโปร่งใส(Diaphenity) : โปร่งใสถึงโปร่งแสง
ซ ัลเฟอร ์ (Sulphur)



องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
่
อะตอมของซลั เฟอร ์เชือมต่
อกันด ้วยแรงแวนเดอร ์วาลส ์
้ั
มีลก
ั ษณะคล ้ายวงแหวน ในบางครงธาตุ
ซเี ลเนี ยมอาจเข ้า
่
แทนทีอะตอมของซั
ลเฟอร ์บ ้างเล็กน้อย
คุณสมบัตก
ิ ารนาความร ้อน
่ ด ี เมือจั
่ บผลึกไว ้ในมือ
ซลั เฟอร ์เป็ นตัวนาความร ้อนทีไม่
้ วของ
แล ้วนามาใกล ้หูจะได ้ยินเสียงแตกของผลึก เพราะชันผิ
ผลึกมีการขยายตัวเนื่ องจากได ้ร ับความร ้อนในมือ ดังนั้นจึง
ควรจับผลึกด ้วยความระมัดระวัง
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
่ าคัญของแร่ซลั เฟอร ์คือ สีเหลืองของแร่ และ
ลักษณะทีส
ง่ายต่อการเผาไหม้ มีลก
ั ษณะคล ้ายคลึงกับแร่ออร ์พิเมนต ์ได ้
ซ ัลเฟอร ์ (Sulphur)


การเกิด
้ เกิ
้ ดจาก
แร่ซลั เฟอร ์มักเกิดบริเวณปล่องภูเขาไฟ ทังนี
่ อยออกมา อาจจะระเหิดได ้โดยตรงจากไอกามะถัน
แก๊สทีปล่
่ ยกกันว่าแก๊สไข่เน่ าทีเกิ
่ ดจากการสันดาปไม่สมบูรณ์
หรือทีเรี
้ งเกิดจากสารประกอบซลั เฟต โดยการกระทา
นอกจากนี ยั
ของแบคทีเรียบางชนิ ดอาจพบตามสายแร่ของโลหะซัลไฟด ์
เช่นการเกิดออกซิไดซ ์ของซัลไฟด ์และเกิดร่วมกับแร่แอนไฮ
ไดรต ์(CaSO4) ยิปซมั (CaSO4.2H2O) หินปูน หินโคลน และ
้ านหินบิทม
ชันถ่
ู น
ิ ัส
แหล่งแร่ทส
ี่ าคัญ
แหล่งแร่ทส
ี่ าคัญ เช่น เกาะชิลี อิตาลี, เม็กซิโก, ร ัฐ
ฮาวาย สหร ัฐอเมริกา, ญีปุ่่ น, อาร ์เจนตินา และชิลี สาหร ับใน
้ ้อนต่างๆ เช่น อ.ฝาง จ.เชียงใหม่,
ประเทศไทยพบตามบ่อนาร
ซ ัลเฟอร ์ (Sulphur)

ประโยชน์
ใช ้ในการผลิตสารประกอบซัลเฟอร ์ เช่น กรดซลั ฟุ รก
ิ
(H2SO4) และไฮโดรเจนซัลไฟด ์ (H2S) ใช ้ทายาฆ่าแมลง
่
ปุ๋ ยเคมี ใช ้เคียวหรื
ออบยาง สาประกอบกามะถันใช ้ใน
่
อุตสาหกรรมทาสบู่ สิงทอ
หนัง กระดาษ สี
่ โตรเลียม
สีย ้อม และการกลันปิ
เพชร (Diamond)



ระบบผลึก : ระบบสามแกนเท่า (isometric system)
่
รู ปผลึกทัวไป
: มักพบเป็ นผลึกออกตะฮีดร ัล แต่อาจเป็ น
ลูกบาศก ์ หรือโดเดคะฮีดรอลบ ้าง หน้าผลึกจะโค ้งเว ้า
โดยเฉพาะหน้าผลึกรูปออกตะฮีดร ัล ผลึกอาจจะมีลก
ั ษณะ
แบนราบตามหน้าผลึก {111} มักเกิดผลึกแฝดบนหน้า
{111} หรืออาจแบนราบตามระนาบแฝด บอร ์ท(Bort) คือ
่ ลก
่ ดจากเพชรทีเป็
่ น
เพชรทีมี
ั ษณะกลมและผิวหยาบ ซึงเกิ
ผลึกซ่อนรูปมาเกาะกลุม
่ กันหรอกระจายออกตามแนวร ัศมี
้
่ คณ
คานี อาจหมายถึ
งเพชรทีมี
ุ ภาพหรือสีไม่เหมาะแก่การ
ทาอัญมณี
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : C
เพชร (Diamond)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 3.52
สี(colour) : โดยปกติมส
ี เี หลืองอ่อน หรือไม่มส
ี ี อาจพบสี
อ่อนๆ
้ น และนาตาล
้
ของสีแดง ส ้ม เขียว นาเงิ
สีเข ้มพบได ้น้อยมาก
สีผง(steak) : ขาว
ความแข็ง(hardness) : 10
่ งไม่ได ้
ประกาย(Luster) : เพชร (adamantine) ส่วนทียั
เจียระไนมีประกายคล ้ายเทียนไข
แนวแตกเรียบ(cleavage) : สมบูรณ์ในแนว {111}
รอยแตก(fracture) : คล ้ายฝาหอย(conchoidal)
ความโปร่งใส(Diaphenity) : โปร่งแสง
เพชร (Diamond)



องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
โครงสร ้างของเพชรประกอบด ้วยอะตอมของคาร ์บอน
่ าวไว ้ในข ้างต ้น
ยึดเกาะกันด ้วยพันธะโควาเลนท ์ดังทีกล่
คุณสมบัตก
ิ ารนาความร ้อน
เพชรจัดเป็ นแร่ทน
ี่ าความร ้อนได ้ดีทสุ
ี่ ด
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
ความแข็ง ความวาวเหมือนเพชร และแนวแตกเรียบ
เพชร (Diamond)

การเกิด
้
่ ณหภูมแิ ละความ
ต ้นกาเนิ ดของเพชรอยูใ่ นเนื อโลกที
อุ
่ าให ้ธาตุคาร ์บอนตกผลึกเป็ นเพชร มัก
ดันสูงมากพอทีจะท
่ ชอว่
่ น
พบเพชรในหินทีมี
ื่ า คิมเบอร ์ไลต ์(Kimberlite) ซึงเป็
่ กา๊ ซ (ส่วนใหญ่เป็ นCO2) ปนอยูม
หินทีมี
่ าก และเป็ นหินอัคนี
่ ป ริมาณโพแทสเซียมสูง ลักษณะของหินจะมีผลึกแร่เม็ด
ทีมี
ใหญ่ทมองเห็
ี่
นได ้ด ้วยตาเปล่า ฝังตัวอยูร่ ะหว่างแร่ขนาด
้ ขนาดและรูปร่างหลายแบบ มีอยู่
ละเอียด หินอัคนี ชนิ ดนี จะมี
่ นท่อซึงเรี
่ ยกว่า kimberlite pipe หรือ
ลายแห่งทีเป็
diamond pipe
เพชร (Diamond)
หินหนื ดคิมเบอร ์ไลต ์มีป ริมาณก๊าซ และไอสารระเหยดันตัว
้ ผ
่
ขึนสู
่ วิ โลก เมือความดั
นลดลง ปริมาณก๊าซในหินหนื ดจะ
่ นเรื
้ อยๆเมื
่
่ ้าใกล ้ผิวโลก จนระเบิดและปะทุเป็ น
ขยายตัวเพิมขึ
อเข
่ ด การระเบิดทีรุ่ นแรงทาให ้หินคิมเบอร ์ไลต ์บางส่วน
ภูเขาไฟในทีสุ
้ เขาไฟ สะสมตัวบริเวณรอบๆปากปล่อง และ
แตกเป็ นหินชินภู
่ ได ้ตกผลึกโดยตรงจากหิน
ภายในปล่องภูเขาไฟ ส่วนเพชรซึงไม่
้ เขาไฟ หรือฝังตัวอยูใ่ นหินคิม
หนื ด อาจพบปะปนอยูก
่ บ
ั หินชินภู
เบอร ์ไลต ์ในลักษณะของแร่แปลกปลอม หรือเป็ นแร่รองในหิน
่ นหนื ดพาขึนมาบนผิ
้
แปลกปลอมทีหิ
วโลก หินคิมเบอร ์ไลต ์จึงเป็ น
้
เพียงตัวพาเพชรขึนมาบนผิ
วโลกเท่านั้น
เพชร (Diamond)
Kimberlite
pipe
เพชร (Diamond)


แหล่งแร่ทส
ี่ าคัญ
่ าคัญมากทีสุ
่ ดคือแหล่งลานแร่ พบใน
แหล่งเพชรทีส
ประเทศแถบแอฟริกา และอเมริกาเหนื อ ประเทศจีน
ออสเตรเลีย เวเนซูเอลา และแถบไซบีเรีย
ประโยชน์
ใช ้ในอุตสาหกรรม เช่นการตัดกระจก ทาผงขัดเพชร
่ ้ในการเจียระไน ทาใบเลือยตั
่
และผงขัดทีใช
ดหิน นาไปทา
่
่ ราคาดี โดยทัวไป
่
เครืองประดั
บชนิ ดต่างๆ เพชรทีมี
คือเพชร
่ มต
่ สเี ข ้ม
ทีไม่
ี าหนิ และไม่มส
ี ี หรือสีฟ้า-ขาว ส่วนเพชรทีมี
้ น จะมีราคาแพงมากยิงขึ
่ น้
เช่น เหลือง แดง เขียว หรือนาเงิ
แกรไฟต ์ (Graphite)




ระบบผลึก : ระบบสามราบ (Hexagonal system)
่
่ ซึงมี
่
รู ปผลึกทัวไป
: เป็ นผลึกมีขอบนอกเป็ นรูปหกเหลียม
ด ้านคูฐ่ านเด่น
การเกาะกลุ่มกันของผลึก : มีการเกาะกลุม
่ ผลึกกันเป็ น
แผ่น (Foliated) หรือเป็ นเกล็ด แต่อาจพบรูปร ัศมีคล ้ายเส ้น
ใย หรือเป็ นเม็ดกรวด (Granular)
คุณสมบัตท
ิ างเคมี
สูตรเคมี : C
แกรไฟต ์ (Graphite)

คุณสมบัตท
ิ างกายภาพ
ความถ่วงจาเพาะ(S.G.) : 2.23
สี(colour) : ดา
สีผง(steak) : ดา
่
้ น
สัมผัส : ลืนคล
้ายชโลมด ้วยนามั
ความแข็ง(hardness) : 1 – 2 มักขีดกระดาษติด หรือเปื ้ อน
มือ
ความแกร่ง(Tenacity) : โค ้งงอได ้(flexible) แต่ไม่ดด
ี กลับ
ดังเดิม
้ั ้านเหมือนดิน
ประกาย(Luster) : โลหะ (metallic) บางครงด
แนวแตกเรียบ(cleavage) : สมบูรณ์แนว {0001}
แกรไฟต ์ (Graphite)




องค ์ประกอบและโครงสร ้าง
ประกอบด ้วยธาตุคาร ์บอน บางก ้อนมีเหล็กออกไซด ์ เคลย ์
่ าวไว ้แล ้วตอนต ้น
หรือแร่อนปน
ื่
ดังทีกล่
คุณสมบัตก
ิ ารนาไฟฟ้า นาไฟฟ้ าได ้ และดีกว่าเพชร
่ จาแนก
ลักษณะทีใช้
่
สี ผลึกเกาะกลุม
่ กันเป็ นรูปแผ่น สัมผัสแล ้วลืนเหมื
อนถูกทา
้ น มีลก
ด ้วยนามั
ั ษณะคล ้ายคลึงกับแร่โมลิบดีไนต ์ แต่แตกต่างกัน
่ โมลิบดีไนต ์มีสอ
้ น
ตรงทีแร่
ี อกนาเงิ
การเกิด
่
ส่วนใหญ่เกิดในหินแปร เช่น ในหินปูนทีตกผลึ
กใหม่ หิน
้
้ ร ้อนร่วมับแร่ค
ชีสต ์ หินไนส ์ นอกจากนี อาจะเกิ
ดในสายนาแร่
แกรไฟต ์ (Graphite)



แหล่งแร่ทส
ี่ าคัญ
แหล่งแร่ทส
ี่ าคัญ เช่น จีน ร ัสเซีย เกาหลีเหนื อและใต ้
อินเดีย และเม็กซิโก สาหร ับประเทศไทยพบที่ อ.ท่าใหม่
จันทบุร,ี อ. ฝาง เชียงใหม่ และ อ.ปราณบุร ี ประจวบคีรข
ี น
ั ธ์
ประโยชน์
้ นหล่อลืน
่ ทาไส ้ดินสอ ทา
ใช ้ทาเบ ้าหลอมโลหะ ผสมนามั
้
แบตเตอร ์รี่ ขัวไฟฟ้
า
ชือ่ graphite มาจากภาษากรีกคาว่า graphien แปลว่า
เขียน