ความเสี่ยง - มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Download
Report
Transcript ความเสี่ยง - มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โดย
ผศ.ดร.สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์
รองคณบดีฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพ
คณะการบัญชีและการจัดการ
ประเด็นการบรรยาย
8. ความเสี่ยงเรือ่ งธรรมาภิบาล
9. การบริหารความเสี่ยงแบบบูรณา
การ
10. การวิเคราะห์และการจัดทาแผน
บริหารความเสี่ยง
11. ข้อมูลและการสื่อสารด้าน
บริหารความเสี่ยง
12. การติดตามและเฝ้าระวังความ
เสี่ยง
13 . กรณีศึกษา การบริหารความ
เสี่ยงคณะการบัญชีและการ
จัดการ
มองความเสี่ยงในระดับโลก
โลกท ุกวันนี้เต็มไปด้วยความเสี่ยงในรูปแบบต่างๆ ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่
ตลอดเวลา
ความรูค้ วามเข้าใจและเครือ่ งมือที่ใช้ในการบริหารความเสี่ยงอย่างมี
ประสิทธิภาพจึงต้องได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์ปัจจ ุบัน
เมื่อกล่าวถึงความเสี่ยงทางการเงิน เหต ุการณ์ที่ประเทศไทยเราได้รบั บทเรียน
ราคาแพงที่ส ุด คือ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจเมื่อปี 2540
การบริหารความเสี่ยงขององค์กรจาเป็นจะต้องทาควบคกู่ บั การกากับด ูแลและ
ตรวจสอบอย่างมีประสิทธิภาพ
มองความเสี่ยงในระดับโลก
เช่นเดียวกันกับในประเทศสหรัฐอเมริกาที่กอ่ นหน้า 11 กันยายน 2541 แทบไม่
มีใครรจ้ ู กั ตาแหน่ง CRO แต่ท ุกวันนี้ตาแหน่ง CRO กลายเป็นตาแหน่งที่
ได้รบั ความสาคัญและเติบโตอย่างรวดเร็วในองค์กรชัน้ นาในประเทศ
สหรัฐอเมริกา
กรณีลม้ ละลายของบริษทั ENRON และ WorldCom เป็นปัจจัยเสริมสาคัญที่
ทาให้องค์กรชัน้ นาทัง้ หลายตระหนักว่างานด้านการบริหารความเสีย่ งถือ
เป็ นหัวใจสาคัญของการบริหารองค์กร
มองความเสี่ยงในระดับโลก
“ความเสี่ยง” แตกต่างกันไปตามมุมมอง ตามความเชี่ยวชาญและอาชีพ
ของผูใ้ ห้คาจากัดความ นักเศรษฐศาสตร์ นักสถิติ นักคณิตศาสตร์และ
ผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านประกันภัย ต่างให้คาจากัดความของคาว่า “ความ
เสี่ยง” แตกต่างกันไป
แต่แก่นของความหมายของคาว่าความเสี่ยงที่เหมือนกัน คือ ความไม่
แน่นอนที่อาจนาไปสูค่ วามสูญเสีย
เช่น ความไม่แน่นอนของการเกิดอ ุบัติเหต ุบนท้องถนนอาจนาไปสูก่ าร
บาดเจ็บหรือเสียชีวิต, ความไม่แน่นอนหรือความแปรปรวนของราคาหน้ ุ
อาจนาไปสูก่ ารได้รบั อัตราผลตอบแทนต่ากว่าที่คาดหวังไว้ หรือความไม่
แน่นอนที่จะเกิดพาย ุหนักที่อาจทาให้ธ ุรกิจต้องหย ุดชะงักก็เป็นความเสี่ยง
เป็นต้น
ความสัมพันธ์ระหว่างความไม่แน่นอน
กับความเสี่ยงเป็นดังนี้
การตัดสินใจภายใต้สภาวะที่มีความเสี่ยงกับการตัดสินใจภายใต้สภาวะที่มี
ความไม่แน่นอนนัน้ แตกต่างกัน
เช่น หากท่านตื่นนอนตอนเช้า ท่านตัดสินใจว่าจะนาร่มติดตัวไปทางานด้วย
หรือไม่ โดยการมองออกไปนอกหน้าต่าง ท่านกาลังตัดสินใจภายใต้ความไม่
แน่นอนที่ฝนอาจจะตกหรือไม่ตกระหว่างวัน แต่ถา้ ท่านฟังการพยากรณ์
อากาศจากกรมอ ุต ุนิยมวิทยาซึ่งรายงานว่าโอกาสที่ฝนจะตกระหว่างวัน คือ
70% ท่านจึงตัดสินใจนาร่มติดตัวไปทางานด้วย สถานการณ์หลังนี้ท่าน
ตัดสินใจภายใต้สภาวะที่มีความเสี่ยง
ความสัมพันธ์ระหว่างความไม่แน่นอน
กับท่ความเสี
ย
่
งเป
็
นดั
ง
นี
้
านมีขอ้ มูลความน่าจะเป็นหรือข้อมูลของขนาดของความสูญเสีย ท่าน
ตัดสินใจภายใต้สภาวะที่มีความเสี่ยง แต่ถา้ หากท่านไม่มีขอ้ มูลเกี่ยวกับ
ความสูญเสียเลย แสดงว่าท่านต้องตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน
การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอนจึงถือว่าเปรียบเทียบได้กบั การเดา
ความสัมพันธ์ระหว่างความไม่แน่นอน
กับความเสี่ยงเป็นดังนี้
ความเสี่ ยงและความไม่ แน่ นอนตามปรณิมา์ข้ อมูลความสู ญเสี ย
ไม่ มขี ้ อมูล
ข้ อมูลทีส่ มบูรณ์
ความไม่ แน่ นอน
ความเสี่ ยง
ค ศัาศั
พ
ท์
ท
่
ี
เ
กี
ย
่
วข้
อ
งกั
บ
ความเสี
่
ย
ง
พท์อีกสองคาที่เกี่ยวข้องกับคาว่า “ความเสี่ยง” (risk) คือ คาว่า “ภัย” (peril)
และ “อันตราย” (hazard)
“ภัย” หมายถึง สาเหต ุของความสูญเสีย เช่น ถ้ากล่าวถึงไฟไหม้อาคาร ตัวภัย
หมายถึง ไฟ ฉะนัน้ สิ่งที่เป็นภัยพื้นฐาน ได้แก่ ไฟ ฟ้าผ่า พาย ุไต้ฝ่ นุ
แผ่นดินไหว เป็นต้น
“อันตราย” มีความหมายกว่างกว่าคาว่า “ภัย” กล่าวคือ “อันตราย” เป็ น
สภาวะที่สร้างหรือเสริมโอกาสที่ความไม่แน่นอนจะนาไปสูค่ วามสูญเสีย
ประเภทของอันตราย
“อันตราย” สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. อันตรายทางกายภาพ (Physical hazard)
2. อันตรายทางศีลธรรม (Moral hazard)
3. อันตรายทางกฎหมาย (Legal hazard)
ประเภทความเสี
ย
่
ง
ความเสี่ยงสามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆได้หลายร ูปแบบตาม
ก)
มุมมองที่แตกต่างกันไป เช่น
ความเสี่ยงตามที่ปรากฏ (objective risk) และความเสี่ยงตามความคิด
ความรส้ ู ึก (subjective risk)
ข)
ความเสี่ยงที่แท้จริง (pure risk) และความเสี่ยงจากการการเก็งกาไร
(speculative risk)
ประเภทความเสี่ยง
ค)
ความเสี่ยงพื้นฐาน (fundamental risk) และความเสี่ยงเฉพาะ (particular
risk)
ความเสี่ยงพื้นฐาน คือ ความเสี่ยงที่นาไปสูค่ วามสูญเสียที่ กระทบกับคน
จานวนมากหรือสังคมโดยรวม
ความเสี่ยงเฉพาะ คือ ความเสี่ยงที่นาไปสูค่ วามสูญเสียที่กระทบบ ุคคล
ใดบ ุคคลหนึ่ง หรือองค์กรใดองค์กรหนึ่งเท่านัน้
ทาไมต้องบริหารความเสี่ยง
สอดคล้องกับหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารเชิงกลย ุทธ์ คารับรอง
การปฏิบตั ิราชการ และมาตรฐานการควบค ุมภายใน
2544
เพิ่มโอกาสและช่วยให้สว่ นราชการบรรล ุเป้าประสงค์
และพันธกิจที่ตงั้ ไว้มากยิ่งขึ้น (ลด Surprises)
พัฒนาผลงานขององค์กร เช่นการพัฒนาค ุณภาพ
การส่งมอบบริการให้ประชาชน การใช้ทรัพยากร
อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
เหต ุผลและความจาเป็นของการบริหารความเสี่ยง
•
มีระบบการบริหารที่ดี
• มีความชัดเจน โปร่งใส
• ช่วยลดผลกระทบซึ่งเกิดจากการ
ดาเนินงานที่มีความซับซ้อน
แหล่งที่มาของความเสี่ยง
ปัจจัยภายนอก
• เศรณษฐกิจ/สั งคม/การณเมือง/
องคกรณ
กฎหมาย
• คู่แข่ ง/พฤติกรณรณมผู้บรณิโภค
• เทคโนโลยี
• ภัยธรณรณมชาติ
ปัจจัยภายใน
• วัฒนธรณรณมองคกรณ
• ความรณู้/ความสามารณถของ
บุคลากรณ
• กรณะบวนการณทางาน
• ข้ อมูล/รณะบบสารณสนเทศ
ปั จจัยเสีย่ งภายนอก : เป็ นปั จจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้
ปั จจัยเสีย่ งภายใน : เป็ นปั จจัยที่สามารถควบคุมได้
ความเข้าใจต่อความเสี่ยง
เป็นเรือ่ งปกติ ใกล้ตวั อยูก่ บั เราตลอด
สิ่งที่ทายิง่ ใหม่ ความเสี่ยง
การพนัน/การลงท ุน
ยิง่ มาก เพราะเราขาด
การทางานในโรงงาน
ความรูค้ วามเข้าใจ
การขับรถ
การใช้ชีวิต
ในการดาเนินการองค์กรต้องเผชิญกับความเสี่ยงเสมอ
องค์กรเอกชน ลงท ุนเพื่อต้องการได้กาไรตามที่ คาดหวังไว้
องค์กรภาครัฐ บริหารงานตามเป้าประสงค์ที่ คาดหวัง ไว้
ดาเนินการโดยไม่คานึงถึงความเสี่ยง โดยมาก (ถ้าไม่โชคดี)
จะไม่ได้ดงั ที่คาดหวัง ผิดหวัง
อนาคตไม่แน่ นอน
ความเข้าใจต่อความเสี่ยง
ความเสี่ยงมาจากไหน
สาเหตุความเสี่ ยง
ความไมแน
่ ่ นอน
ความเสีย่ ง
ผลกระทบ
ความไมแน
่ ่ นอน
ความเข้าใจต่อความเสี่ยง
สร ุปความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยง
ความเสี่ยงเป็ นเรือ่ งที่ละเลยไม่ได้
การเปลี่ยนแปลงร ุนแรงขึ้น
ความเสี่ยงเป็ นผลมาจากความไม่แน่นอน
ความเสี่ยงเป็ นเรือ่ งที่เกี่ยวข้องกับอนาคต
ความเสี่ยงมีองค์ประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน
ความเสี่ยงเป็ นเรือ่ งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการตัดสินใจ
ทาสิ่งใหม่ นโยบายใหม่ โครงการใหม่ (ไม่แน่ใจเพิ่มความสงสัย)
ปัจจัยที่อยูร่ อบตัวเรามีความสัมพันธ์กนั
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
เกิดประโยชน์ส ุข
ของประชาชน
ประเมินผลการปฏิบตั ิ
ราชการอย่างสม่าเสมอ
ประชาชนได้รบั
ความสะดวก
ตอบสนองความต้องการ
ผลสัมฤทธิ์ต่อ
ภารกิจของรัฐ
การบริหาร
กิจการ
บ้านเมือง
ทีด
่ ี
ปรับปร ุงภารกิจของส่วนราชการ
ให้ทนั ต่อสถานการณ์
มีประสิทธิภาพ
และเกิดความคม้ ุ ค่า
ในเชิงภารกิจของรัฐ
ไม่มีขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงาน
เกินความจาเป็น
การบริหารความเสี่ยงช่วยเสริมสร้าง
ระบบธรรมาภิบาลอย่างไร
การบริหารความ
เสี่ยง
ให้ ความมั่นใจแก่ผ้เู กีย่ วข้ อง
ว่าการณดาเนินงานจะบรณรณลุ
วัตถุปรณะสงคขององคกรณ
ภายใต้ การณดูแลควบคุม
ความเสี่ยงที่ยอมรณับได้
สนับสนุนให้ องคกรณบรณรณลุ
เป้ าหมายที่กาหนดอย่ างเป็ น
รณะบบ
สรณ้ างความเชื่อมั่นแก่
ผู้บรณิหารณและผู้ปฏิบัตงิ านว่า
ได้ ดาเนินการณเตรณียมการณ
เพือ่ รณับมือกับความเสี่ ยงที่
อาจเกิดขึน้
ความเสี่ยงเรือ่ งธรรมาภิบาล
ความเสี่ยงเรือ่ งธรรมาภิบาล หมายถึง ความเสี่ยงจากการที่การวางแผนและ
วิเคราะห์แผนงาน/โครงการไม่สอดคล้องตามหลักธรรมาภิบาล 9 ประการ
ได้แก่
ประสิทธิผล (Effectiveneess)
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
การมีสว
่ นร่วม (Participation)
ความโปร่งใส (Transparency)
การตอบสนอง (Responsiveness)
ภาระรับผิดชอบ (Accountability)
นิติธรรม (Rule of Law)
การกระจายอานาจ (Decentralization)
ความเสมอภาค (Equity)
การบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ
(Enterprise wide Risk Management-ERM)
คือ การบริหารความเสี่ยง โดยมีโครงสร้าง
องค์กร กระบวนการและวัฒนธรรมองค์กรประกอบ
เข้าด้วยกัน และมีลกั ษณะที่สาคัญดังนี้
● การผสมผสานและเป็นส่วนหนึ่งของธ ุรกิจ
● การพิจารณาความเสี่ยงทัง้ หมดของธ ุรกิจ
● การมีความคิดแบบมองไปข้างหน้า
● การได้รบั การสนับสน ุนและการมีสว่ นร่วม
Enterprise wide Risk Management
ครอบคล ุมถึงกระบวนการในการบริหารความเสี่ยงตัง้ แต่
ต้นจนจบ โดยได้รบั ความร่วมมือจากผูบ้ ริหารและท ุกคน
ในองค์กร ที่รว่ มกันระบ ุถึงความเสี่ยงท ุกความเสี่ยง (all
risks) ที่เป็นไปได้ และอาจมีผลกระทบต่อองค์กร เพื่อ
บริหารความเสี่ยงเหล่านัน้ โดยวิธีการบริหารความเสี่ยง
ที่นามาประย ุกต์ใช้จะต้องสอดคล้องกับโครงสร้าง
วัฒนธรรมองค์กร เพื่อนาไปกาหนดกลย ุทธ์ขององค์กร
และบริหารความเสี่ยงในร ูปของ portfolio ทัว่ ทัง้ องค์กร ซึ่ง
จะเพิ่มความมัน่ ใจให้กบั ผูบ้ ริหาร และช่วยให้องค์กรบรรล ุ
วัตถ ุประสงค์ที่ตงั้ ไว้
การบริหารความเสี่ยง : จาก RM สู่ ERM
ERM Defined:
“… a process, effected by an entity's board of
directors, management and other personnel,
applied in strategy setting and across the
enterprise, designed to identify potential
events that may affect the entity, and
manage risks to be within its risk appetite, to
provide reasonable assurance regarding the
achievement of entity objectives.”
Source: COSO Enterprise Risk Management – Integrated Framework. 2004. COSO.
ERM Defined:
ขบวนการทีจ่ ดั ทาขึน้ โดยฝา่ ยบริหาร
ทัง้ หลาย เพือ่ ประยุกต์ใช้ในการจัดทาแผนกล
ยุทธ์ทวทั
ั ่ ง้ องค์กร โดยออกแบบมาเพือ่ ระบุ
เหตุการณ์ทอี ่ าจเกิดขึน้ ทีอ่ าจมีผลกระทบกับ
องค์กร และการจัดการความเสีย่ งให้อยู่ใน
ระดับทีร่ บั ได้ เพือ่ ให้มนใจอย่
ั่
างสมเหตุผลใน
การบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร
“…
Source: COSO Enterprise Risk Management – Integrated Framework. 2004. COSO.
ERM Framework (COSO II)
ความหมายของการบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยงคืออะไร
ความเสี่ ย งคื อ เหต กุ ารณ์ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ใน
อ น า ค ต แ ล ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร บ ร ร ล ุ
วั ต ถ ปุ ระสงค์ ข ององค์ ก ร ทั้ ง ในกลย ทุ ธ์ การ
ปฏิบตั ิงาน และการเงิน
ประเภทของความเสี่ยง
ความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
ความเสี่ยงที่เป็ นอันตราย(Hazard)
ความเสี่ยงที่เป็ นความไม่ แน่ นอน(Uncertainty)
ความเสี่ยงที่เป็ นโอกาส(Opportunity)
เหต ุแห่งความเสี่ยง
สินค้ าและ
นวัตกรรมใหม่
การบริหารทรั พยากร
บุคคล
ภาวะการเงิน การลงทุนใหม่
และการคลัง
เศรษฐกิจและ
การเมือง
เหตุความเสี่ยง
กฎหมายหรื อ
มาตรฐาน
อุตสาหกรรม
เทคโนโลยี
การซือ้ และควบรวมกิจการ
Example: Risk Model (COSO)
Environmental Risks
• Capital Availability
• Regulatory, Political, and Legal
• Financial Markets and Shareholder Relations
Process Risks
• Operations Risk
• Empowerment Risk
• Information Processing / Technology Risk
• Integrity Risk
• Financial Risk
Information for Decision Making
• Operational Risk
• Financial Risk
• Strategic Risk
แนวคิดของการบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยง เป็นกลวิ ธีที่ เป็น
เหต เุ ป็ นผลที่ น ามาใช้ใ นการบ่ ง ชี้ วิ เ ครา ะห์
ประเมิ น จัด การ ติ ด ตาม และสื่ อ สารความ
เสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับกิจกรรม หน่วยงานหรือ
กระบวนการการดาเนินงานขององค์กร เพื่อช่วย
ลดความสูญ เสี ย ให้เ หลื อ น้อ ยที่ ส ดุ และเพิ่ ม
โอกาสให้แก่ธ ุรกิจมากที่ส ุด
แนวคิดของการบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยง ยังหมายความถึง
การประกอบกันอย่างลงตัวของวัฒนธรรมองค์กร
กระบวนการและโครงสร้างองค์กร ซึ่งมีผล
โดยตรงต่อประสิทธิภาพการบริหารงาน และ
ผลได้ ผลเสียของธ ุรกิจ
Risk-Adjusted Return
ทาไมองค์กรจึงต้องบริหารความเสี่ยง?
Zone 1
Insufficient
Risk Taking
Zone 2
Optimal
Risk Taking
Zone 3
Excessive
Risk Taking
Optimal
(w/ Proper RM)
Too High Risk/Fail
(w/o RM)
No Risk/No Return
Risk
แผนภาพแสดงถึงคุณค่ าของการบริหารความเสี่ยง
คุณค่ าของการบริหารความเสี่ยง
ความสามารถ
ใน การลด
การบริหาร
ความสูญเสีย
ความเสี่ยง =
และเพิ่ม
อย่ างมี
โอกาส
ประสิทธิผล
ต่ อองค์ กร
=
องค์ กร
สามารถ
บรรลุวัตถุ
ประสงค์
=
ความ
สาเร็จ
√
กรอบการบริหารความเสี่ยง
กรอบการบริหารความเสี่ยง ควรได้รบั การปรับ
ใช้ให้เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละองค์กร ซึ่ง
องค์ประกอบหลัก มีดงั นี้
● วัฒนธรรมองค์กร (Culture)
● โครงสร้างการบริหารความเสี่ยง (Structure)
● กระบวนการ (Process)
● ปัจจัยพื้นฐาน (Infrastructure)
แผนภาพแสดงกรอบการบริหารความเสี่ยง
วัฒนธรรมองค์ กร
ปั จจัยพืน้ ฐาน
วิธีการ
ระบบ
เครื่ องมือ
ข้ อมูลสาหรั บ
ผู้บริหาร
วัตถุประสงค์
นโยบาย
กลยุทธ์
ความเสี่ยงที่ยอมรั บ
ได้ (Risk appetite)
กระบวนการ
การบ่ งชีค้ วามเสี่ยง/
การวัดความเสี่ยง
การกาหนดขอบเขต
การติดตามความเสี่ยง
การระบุปัญหา
(Issue escalation)
โครงสร้ างการบริหาร
ความเสี่ยง
หน่ วยงานคณะกรรมการ
(Committees)
สายการรายงาน
บทบาท/ความรั บผิดชอบ
ทักษะ/บุคลากร
ค ุณลักษณะของกรอบการบริหารความเสี่ยงในองค์กร
● มีวฒ
ั นธรรมในการบริหารความเสี่ยงใน
ท ุกๆ ระดับขององค์กร
● ปฏิบต
ั ิตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
● กาหนดโครงสร้างการบริหารความเสี่ยงที่
เหมาะสม
● มีปัจจัยพื้นฐานที่ดี ซึ่งประกอบด้วย
ค ุณลักษณะของกรอบการบริหารความเสี่ยงในองค์กร
●
มีปัจจัยพื้นฐานที่ดี ซึ่งประกอบด้วย
- บ ุคลากรมีความสามารถ
- มีวิธีการวัดผลการดาเนินงาน
- มีการให้ความรแ้ ู ละฝึกอบรม
- มีช่องทางการสื่อสารทัง้ ภายในและ
ภายนอกองค์กร
- วิธีการสอบทานที่มีค ุณภาพ
แผนภาพความสัมพันธ์ของการบริหารความเสี่ยงทัว่ ทัง้ องค์กร
วัฒนธรรม
นโยบาย
ระดับความเสี่ยงที่ยอมรั บได้
ภาษา วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์
การบ่ งชี ้
กระบวนการ
โครงสร้ าง
การรายงาน
การวิเคราะห์
การติดตาม
โครงสร้ าง
การวัดผล
การดาเนินงาน
บุคลากร
การให้ ความรู้
และฝึ กอบรม
การจัดการ
การสื่อสาร
การสอบทาน
คุณภาพ
โครง
สร้ าง
พืน้
ฐาน
ปัจจัยสาคัญต่อความสาเร็จในการบริหารความเสี่ยง
ปัจจัยสาคัญ 8 ประการ เพื่อช่วยในการปฏิบตั ิตามกรอบ
การบริหารความเสี่ยงประสบผลสาเร็จ มีดงั นี้
การณติดตาม
กรณะบวนการณ
บรณิหารณความเสี่ ยง
การณสนับสนุนจาก
ผู้บรณิหารณรณะดับสู ง
การณฝึ กอบรณมและกลไก ปัจจัยสาคัญต่ อความสาเรณ็จ
ด้ านทรณัพยากรณบุคคล ของการณบรณิหารณความเสี่ ยง
การณวัดผล
การณบรณิหารณความเสี่ ยง
การณสื่ อสารณ
ที่มีปรณะสิ ทธิผล
การณใช้ คาเพือ่ ให้ เกิดความ
เข้ าใจแบบเดียวกัน
กรณะบวนการณบรณิหารณ
ความเสี่ ยงทีต่ ่ อเนื่อง
กรณะบวนการณบรณิหารณ
การณเปลีย่ นแปลง
ปัจจัยสาคัญต่อความสาเร็จในการบริหารความเสีย่ ง
ปัจจัยที่ 2 : การใช้คาที่ทาให้เข้าใจแบบเดียวกัน
ปัจจัยที่ 3 : การปฏิบตั ิตามกระบวนการบริหาร
ความเสี่ยงที่ต่อเนื่องสม่าเสมอ
ปัจจัยที่ 4 : การมีกระบวนการในการบริหารการ
เปลี่ยนแปลง
ปัจจัยที่ 5 : การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
ปัจจัยสาคัญต่อความสาเร็จในการบริหารความเสีย่ ง
ปัจจัยที่ 6 : การวัดผลการบริหารความเสี่ยงซึ่งรวมทัง้ การ
วัดความเสี่ยงและการวัดความสาเร็จของการ
บริหารความเสี่ยง
ปัจจัยที่ 7 : การฝึกอบรมและกลไกด้านทรัพยากรบ ุคคล
เพื่อให้พนักงานท ุกคนเข้าใจในกรอบและความ
รับผิดชอบของการบริหารความเสี่ยง
ปัจจัยที่ 8 : การติดตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้วย
การกาหนดวิธีที่เหมาะสม
RISK MANAGEMENT CONCEPT
อดีต
ความ
เสี่ยง
ทัง้ หมด
ปั จจุบนั อนาคต
ระบบ
ควบคุมที่มี
อยู่เดิม
ระบบ
ควบคุมที่มี
อยู่เดิม
ความเสี่ยง
คงเหลือ
แผนบริหาร
ความเสี่ยง
ความเสี่ยง
คงเหลือที่
ยอมรั บได้
กระบวนการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผล
ประกอบด้ วย
5 ขัน้ ตอน ดังนี ้
การบริหารจัดการความเสี่ ยง
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การเข้าสู่ระบบบริหารจัดการความเสี่ ยง
และควบคุมภายใน
การกาหนดวัตถุประสงค ์
การกาหนดวัตถุประสงค ์
การบงชี
่ เ้ หตุการณ ์
การประเมินความเสี่ ยง
การตอบสนองความเสี่ ยง
Risk Profile
Risk Profile
การติดตามประเมินผล
ตัวอยาง
การกาหนด
่
วัตถุประสงค ์
แผนงาน/โครงการ
วัตถุประสงค์ของ
ประเด็นยุทธ์ศาสตร์
ตัวชี้วดั ระดับองค์กร
ความสอดคล
องกั
บที่สอดคล้
ยุทองกัธศาสตร
และ
บแผนงาน/
แผนงาน/โครงการ
้
์
โครงการ
บรรลุ 1.1.1KPI
ระดับความสาเร็จของ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การผลิต
การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตที่มี เพื่อพัฒนาหลักสู ตรให้มีความ
คุณภาพและคุณลักษณะที่พึง
ทันสมัย
เพื่อมุ่งเน้นการเรี ยนการสอนที่เป็ น
ประสงค์
เลิศ
การผลิตบัณฑิตให้เป็ นไป บัณฑิตและพัฒนาการจัด
ตามแผนปฏิบตั ริ าชการ
การศึกษาเพือ่ ให้ได้บณ
ั ฑิต
ทีพ่ งึ ประสงค์
(สงป.)
1.2.1 ระดับความสาเร็จ
ของระบบและกลไกการ
พัฒนาและบริหารหลักสูตร
(สกอ.(2.1))
1.2.2 ร้อยละของหลักสูตร
ทีไ่ ด้มาตรฐานต่อหลักสูตร
ทัง้ หมด (สมศ.)
การบงชี
่ เ้ หตุการณ ์
1.1 การณจัดการณศึกษาเพือ่ ผลิตบั์ฑิตทีม่ ีคุ์ภาพและคุ์ลักษ์ะทีพ่ งึ ปรณะสงค
กิจกรณรณมหลัก
โครงการ Positioning สาขาวิชา
วัตถุปรณะสงคของการณควบคุม
เพื่อวิเคราะห์ความทันสมัยของหลักสูตร
เพื่อวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของแต่ละหลักสู ตร
เพื่อพัฒนาหลักสู ตรให้สอดคล้องกับศักยภาพของผูเ้ รี ยนโดย
มุ่งเน้นการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
เพื่อพัฒนาหลักสู ตรให้เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานที่กาหนด
เพื่อพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด
โครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรี ยนการสอน การจัดทาตารา เทคโนโลยี
เพื่อการสอน จรรยาบรรณวิชาชีพ จิตสานึกความเป็ นครู
ผูส้ อน
เสริ มสร้างบรรยากาศการเรี ยนรู้ที่มุ่งเน้นการเรี ยนการสอนเป็ น
สาคัญ
โครงการจัดทาวิจยั เพื่อพัฒนาการ เพื่อนาองค์ความรู้จากการวิจยั มาพัฒนาการเรี ยนการสอน
เรี ยนการสอน
เพื่อจัดทาวิจยั ในชั้นเรี ยนพัฒนาการเรี ยนการสอน
การประเมินความเสี่ ยง
1.1 การณจัดการณศึกษาเพือ่ ผลิตบั์ฑิตทีม่ ีคุ์ภาพและคุ์ลักษ์ะทีพ่ งึ ปรณะสงค
กิจกรรมหลัก
ผลกระทบทีม่ ี
นัยสาคัญ
ความเสีย่ ง การควบคุมทีม่ ี ประเมินผล สรุปผล ความเสีย่ งและ
อยู่
การควบคุม ประเมินการ ปจั จัยเสีย่ ง
ควบคุมทีม่ ี
ทีย่ งั มีอยู่
อยู่
โครงการ
นิสติ มีคุณลักษณะ คุณลักษณะ มีการจัด
มีการสรุปผล เพียงพอ อาจขาดความ
ตรงกับความ
ของบัณฑิตไม่ โครงการ
การสัมมนา
ต่อเนื่องของการจัด
Positioning
สาขาวิชา
ต้องการของสถาน สอดคล้องกับ Positioning ทุกครัง้
โครงการบางสาขา
ประกอบการ
ความต้องการ เป็ นประจาทุก
เนื่องจากภารกิจ
ของ
ปี
การสอนมาก
ผูป้ ระกอบการ
โครงการพัฒนา นิสติ สาเร็จการศึกษาอาจารย์ใหม่ มีการอบรม มีการ
เพียงพอ อาจารย์ใหม่ขาด
ศักยภาพอาจารย์ เป็ นไปตามเกณฑ์ อาจจะขาด พัฒนา
ประเมินผล
การอบรมด้าน
ผูส้ อน
มาตรฐานทีก่ าหนด ทักษะการสอน ศักยภาพ
การเรียนการ
เทคนิคการสอน
ทีเ่ น้นผูเ้ รียน อาจารย์ทุกปี สอนดีขน้ึ
เป็ นสาคัญ
จากปีทผ่ี า่ น
มา
โอกา ผลกร ระดับ
ส ะทบ ความ
เสีย่ ง
2
2
4
2
2
4
การจัดเรียงลาดับความสาคัญของ
กิจกรรม
ลาดับ
1
2
3
การควบคุมทีม่ อี ยู่ ประเมินผลการ สรุปผล ความเสีย่ งและปจั จัย โอกาส ผลกระ
ควบคุม
ประเมินการ
เสีย่ ง
ทบ
ควบคุมทีม่ ี
ทีย่ งั มีอยู่
อยู่
การเผยแพร่การรับ นิสติ ขาดข้อมูลใน การได้งานทาของ มีการ
มีการเผยแพร่ เพียงพอ นิสติ สนใจเข้าทางาน 5
3
สมัครงานผ่าน การแสวงหาแหล่ง บัณฑิตไม่เป็ นไป ประชาสัมพันธ์ผ่าน ข้อมูลการรับ
ราชการมากกว่า
เว็บไซต์
งาน
ตามเกณฑ์
เว็บไซต์เกีย่ วกับ สมัครงานอย่าง
ธุรกิจและอยาก
มาตรฐานกาหนด การรับสมัครงาน ต่อเนื่อง
ทางานใกล้บา้ น
การสร้างเครือข่าย คณะฯ ร่วมมือกับ เงินเดือนเริม่ ต้นไม่ มีการสร้างเครือข่าย มีการจัดตลาดนัด เพียงพอ การได้งานทาของ
5
3
กับสถาน
สถานประกอบการ เป็ นไปตามเกณฑ์ ความร่วมมือกับ งานเป็ นประจา
นิสติ อาจไม่ตรงกับ
ประกอบการทาง ธุรกิจน้อย
มาตรฐาน
ธุรกิจในการทาวิจยั ทุกปี
สาขาวิชาทีส่ าเร็จ
ธุรกิจ
พัฒนาบริการ
การศึกษา
วิชาการและรับ
สมัครงานทีค่ ณะฯ
การสร้างความ การได้มาซึง่ โอกาส นิสติ เข้าร่วม
มีฐานข้อมูลสถาน มีการประสัมพันธ์ เพียงพอ นิสติ บางคนไม่มี
5
3
เข้มแข็งของ
ในการได้งานทาของ โครงการสหกิจ ประกอบการแต่ละ การฝึกงานอย่าง
ความกระตือรือร้นที่
โครงการสหกิจ นิสติ
ศึกษาน้อย
รุ่นไปฝึกงาน มีการทัวถึ
่ ง
จะฝึกประสบการณ์
ศึกษา
ปฐมนิเทศการ
ให้ตรงกับสาขาเพื่อ
ฝึกงาน มีนิเทศการ
พัฒนาศักยภาพ
ฝึกงาน
กิจกรรมหลัก
ผลกระทบทีม่ ี
นัยสาคัญ
ความเสีย่ ง
ระดับ
ความ
เสีย่ ง
15
15
15
การตอบสนองความเสี่ ยง ขัน
้ ตอน
ที่ 1
แผนงาน/
โครงการ
กิจกรรมหลัก
ปัจจัยเสี่ ยง
หลีกเลี่ย ยอมรั
ง
บ แผนการจัดการ
ควบคุม
ต้นทุน
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงานให้กบั
นิสิต
( ผลผลิต )
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงานให้กบั
นิสิต
( ผลผลิต )
การเผยแพร่ การ การได้งานทาของ
รับสมัครงานผ่าน บัณฑิตไม่เป็ นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐาน
เว็บไซต์
กาหนด
ประกาศข่าวการ ใช้งบ
รับสมัครงาน
ประมาณ
หน้าแรกของ
คณะฯ
เว็บไซต์
การสร้าง
เงินเดือนเริ่ มต้นไม่
เครื อข่ายกับ
เป็ นไปตามเกณฑ์
สถาน
มาตรฐาน
ประกอบการทาง
ธุ รกิจ
สร้างเครื อข่าย ใช้งบ
ความร่ วมมือกับ ประมาณ
สถาน
คณะฯ
ประกอบการมาก
ยิง่ ขึ้น
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงานให้กบั
นิสิต
( ผลผลิต )
การสร้างความ
เข้มแข็งของ
โครงการสหกิจ
ศึกษา
ส่ งเสริ มให้นิสิต ใช้งบ
เข้าร่ วมโครงการ ประมาณ
สหกิจศึกษา
คณะฯ
นิสิตเข้าร่ วมโครงการ
สหกิจศึกษาน้อย
ทางเลือกที่
ผลประโย ถ่ายโอน
เหมาะสม
ชน์
นิสิตทราบ
ควบคุม
แหล่งงาน
ทามากขึ้น
คณะฯ มี
สถาน
ประกอบก
ารมาทา
การ
คัดเลือก
นิสิตไป
ทางานมาก
ขึ้น
นิสิตมี
โอกาสได้
งานทาสู ง
เมื่อเข้าร่ วม
โครงการ
ควบคุม
ควบคุม
การตอบสนองความเสี่ ยง ขัน
้ ตอน
ที่ 2
แผนงาน/
โครงการ
กิจกรรมหลัก
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงาน
ให้กบั นิสิต
( ผลผลิต )
การเผยแพร่
การรับสมัคร
งานผ่าน
เว็บไซต์
ปั จจัยเสี่ ยง
การได้งานทา
ของบัณฑิตไม่
เป็ นไปตาม
เกณฑ์
มาตรฐาน
กาหนด
พัฒนาระบบ การสร้าง
เงินเดือน
บริ การข้อมูล เครื อข่ายกับ เริ่ มต้นไม่
แหล่งงาน
สถาน
เป็ นไปตาม
ให้กบั นิสิต ประกอบการ เกณฑ์
( ผลผลิต )
ทางธุรกิจ
มาตรฐาน
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงาน
ให้กบั นิสิต
( ผลผลิต )
ประเภท
ความเสี่ ยง
ผลกระทบที่มี
นัยสาคัญ
โอกาส ผลกระท ระดับความ ทางเลือกที่
บ
เสี่ ยง
เหมาะสม
แนวทางการบริ หารความเสี่ ยง
/การปรับปรุ งการควบคุม
แผนการ
ผลประโยช
ต้นทุน
จัดการ
น์
ประกาศข่าว ใช้งบ
นิสิตทราบ
การรับสมัคร ประมาณ แหล่งงาน
งานหน้าแรก คณะฯ
ทามากขึ้น
ของเว็บไซต์
Operationa นิสิตขาดข้อมูล
ในการแสวงหา
l Risk
แหล่งงาน
3
3
15
ควบคุม
Strategic
Risk
3
3
15
ควบคุม
สร้างเครื อข่าย ใช้งบ
ความร่ วมมือ ประมาณ
กับสถาน
คณะฯ
ประกอบการ
มากยิง่ ขึ้น
3
3
15
ควบคุม
ส่งเสริ มให้
นิสิตเข้าร่ วม
โครงการสห
กิจศึกษา
คณะฯ ร่ วมมือ
กับสถาน
ประกอบการ
ธุรกิจน้อย
การสร้าง
นิสิตเข้าร่ วม Operationa การได้มาซึ่ง
ความเข้มแข็ง โครงการสห l Risk
โอกาสในการได้
โครงการ
กิจศึกษาน้อย
งานทาของนิสิต
สหกิจศึกษา
ใช้งบ
ประมาณ
คณะฯ
คณะฯ มี
สถาน
ประกอบกา
รมาทาการ
คัดเลือก
นิสิตไป
ทางานมาก
ขึ้น
นิสิตมี
โอกาสได้
งานทาสูง
เมื่อเข้าร่ วม
โครงการ
การตอบสนองความเสี่ ยง ขัน
้ ตอน
ที่ 3
แผนงาน/ กิจกรรม ปัจจัยเสี่ ยง ประเภท ผลกระท ระดับ
กิจกรรม
รายละเอียดการจัดการ
ความ
บที่มี ความ แผนการ ต้นทุน
การใช้
ตาม
โครงการ หลัก
เสี่ ยง นัยสาคัญ เสี่ ยง จัดการ
ประโยชน์ แผนการ
จัดการ
พัฒนา การ
การได้งาน Operatio นิสิตขาด 15
ประกาศ ใช้งบ
นิสิตทราบ ประชาสั
ระบบ เผยแพร่ ทาของ
ข่าวการ ประมาณ แหล่งงาน มพันธ์
nal Risk ข้อมูลใน
บริ การ การรับ บัณฑิตไม่
การ
รับสมัคร คณะฯ
ทามากขึ้น แหล่ง
ข้อมูล สมัคร เป็ นไปตาม
แสวงหา
งานหน้า
ฝึ กงาน
แหล่ง งานผ่าน เกณฑ์
แรกของ
ผ่าน
แหล่งงาน
งาน
เว็บไซต์ มาตรฐาน
เว็บไซต์
เว็บไซต์
ให้กบั
กาหนด
นิสิต
( ผลผลิต
)
กาหนด
การ
ดาเนินก
าร
1
กันยายน
2552-31
ตุลาคม
2553
ผูร้ ับผิดชอ ผูร้ ับผิดชอบ
บ(ระบุ (ตาแหน่ง)
ชื่อ)
อาจารย์ รองคณบดี
ธีระพล ฝ่ ายพัฒนา
ศิระบูชา นิสิตและ
อาคาร
สถานที่
อมู
ความบกพรองระบบข
้ ล
่
1. การวิเคราะห์ระดับความเสี่ ยงผิดพลาดเช่น 4x3 =15, 4x4=21 ซึ่ งค่าที่ถูกต้องควรจะเป็ น 4x3
=12, 4x4=16 เมื่อระบบคานวณผิดพลาดการเรี ยงลาดับความเสี่ ยงก็ผดิ พลาด
2. ระบบข้อมูลการตอบสนองความเสี่ ยง มีขอ้ จากัดจานวนคอลัมน์แค่ 5 คอลัมน์
ระบบควรเพิ่มจานวนคอลัมน์เพื่อให้สามารถกรอกข้อมูลได้เพิ่มและครบถ้วนครอบคลุม
3. ควรเพิ่มช่องถาม-ตอบ เพื่อเสริ มสร้างความเข้าใจระบบฐานข้อมูล
4. ควรขยายเวลาในการบันทึกข้อมูลผ่านระบบในช่วงการเริ่ มต้นใช้ระบบฐานข้อมูล
5. ข้อมูลที่ทางคณะฯ ได้ทาการบันทึกในระบบนั้นไม่สมบูรณ์ เนื่องจากระบบฐานข้อมูล ไม่
เสถียร จึงได้จดั ทาเล่มวิเคราะห์ความเสี่ ยงให้กบั มหาวิทยาลัยเป็ นรู ปเล่ม เพื่อสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ได้จริ ง
6. การวิเคราะห์โครงการที่จะจัดทาในแผนนั้นควรมีการคาดการณ์วา่ จะเกิดกิจกรรมนั้นแน่นอน
เพราะมีผลต่อการรายงานการดาเนินงานตามแผนการบริ หารจัดการความเสี่ ยงว่าได้ดาเนินการตาม
เป้ าหมายไปแล้วกี่โครงการ/บรรลุตามเป้ าหมายที่กาหนดหรื อไม่
7. หลักการเขียนกิจกรรมในแผนความเสี่ ยงควรเป็ นกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นจริ ง ณ ปี นั้น ๆ เพราะหาก
เขียนกิจกรรมที่คาดว่าจะเกิดในอีก 3ปี ถึง 5ปี จะต้องดาเนินการจัดทา Scenarios หรื อ การทาอนาคตภาพ
ซึ่งต้องดาเนินการจัดทาโดยวิธีวจิ ยั EDFR หรื อ Delphi ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลามากในการจัดทาจึงจะได้
คาตอบที่เชื่อถือได้
ตัวอยาง
การกาหนด
่
วัตถุประสงค ์
แผนงาน/โครงการ
ประเด็นยุทธ์ศาสตร์
วัตถุประสงค์ของแผนงาน/
ตัวชีว้ ดั ระดับองค์กร
ความสอดคล
องกั
บทีส่ ยุอดคล้ทองกัธศาสตร
และ
โครงการ
บแผนงาน/
้
์
โครงการ
บรรลุ 1.1.1KPI
ระดับความสาเร็จของ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การผลิต
การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิต
ทีม่ คี ุณภาพและคุณลักษณะทีพ่ งึ
ประสงค์
เพื่อพัฒนาหลักสูตรให้มคี วาม
ทันสมัย
เพื่อมุง่ เน้นการเรียนการสอนทีเ่ ป็น
เลิศ
การผลิตบัณฑิตให้เป็ นไป บัณฑิตและพัฒนาการจัด
ตามแผนปฏิบตั ริ าชการ
การศึกษาเพือ่ ให้ได้บณ
ั ฑิต
ทีพ่ งึ ประสงค์
(สงป.)
1.2.1 ระดับความสาเร็จ
ของระบบและกลไกการ
พัฒนาและบริหารหลักสูตร
(สกอ.(2.1))
1.2.2 ร้อยละของหลักสูตร
ทีไ่ ด้มาตรฐานต่อหลักสูตร
ทัง้ หมด (สมศ.)
การบงชี
่ เ้ หตุการณ ์
1.1 การณจัดการณศึกษาเพือ่ ผลิตบั์ฑิตทีม่ ีคุ์ภาพและคุ์ลักษ์ะทีพ่ งึ ปรณะสงค
กิจกรณรณมหลัก
โครงการ Positioning สาขาวิชา
วัตถุปรณะสงคของการณควบคุม
เพื่อวิเคราะห์ความทันสมัยของหลักสูตร
เพื่อวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของแต่ละหลักสู ตร
เพื่อพัฒนาหลักสู ตรให้สอดคล้องกับศักยภาพของผูเ้ รี ยนโดย
มุ่งเน้นการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
เพื่อพัฒนาหลักสู ตรให้เป็ นไปตามกรอบมาตรฐานที่กาหนด
เพื่อพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด
โครงการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรี ยนการสอน การจัดทาตารา เทคโนโลยี
เพื่อการสอน จรรยาบรรณวิชาชีพ จิตสานึกความเป็ นครู
ผูส้ อน
เสริ มสร้างบรรยากาศการเรี ยนรู้ที่มุ่งเน้นการเรี ยนการสอนเป็ น
สาคัญ
โครงการจัดทาวิจยั เพื่อพัฒนาการ เพื่อนาองค์ความรู้จากการวิจยั มาพัฒนาการเรี ยนการสอน
เรี ยนการสอน
เพื่อจัดทาวิจยั ในชั้นเรี ยนพัฒนาการเรี ยนการสอน
การประเมินความเสี่ ยง
1.1 การณจัดการณศึกษาเพือ่ ผลิตบั์ฑิตทีม่ ีคุ์ภาพและคุ์ลักษ์ะทีพ่ งึ ปรณะสงค
กิจกรรมหลัก
ผลกระทบทีม่ ี
นัยสาคัญ
ความเสีย่ ง การควบคุมทีม่ ี ประเมินผล สรุปผล ความเสีย่ งและ
อยู่
การควบคุม ประเมินการ ปจั จัยเสีย่ ง
ควบคุมทีม่ ี
ทีย่ งั มีอยู่
อยู่
โครงการ
นิสติ มีคุณลักษณะ คุณลักษณะ มีการจัด
มีการสรุปผล เพียงพอ อาจขาดความ
ตรงกับความ
ของบัณฑิตไม่ โครงการ
การสัมมนา
ต่อเนื่องของการจัด
Positioning
สาขาวิชา
ต้องการของสถาน สอดคล้องกับ Positioning ทุกครัง้
โครงการบางสาขา
ประกอบการ
ความต้องการ เป็ นประจาทุก
เนื่องจากภารกิจ
ของ
ปี
การสอนมาก
ผูป้ ระกอบการ
โครงการพัฒนา นิสติ สาเร็จการศึกษาอาจารย์ใหม่ มีการอบรม มีการ
เพียงพอ อาจารย์ใหม่ขาด
ศักยภาพอาจารย์ เป็ นไปตามเกณฑ์ อาจจะขาด พัฒนา
ประเมินผล
การอบรมด้าน
ผูส้ อน
มาตรฐานทีก่ าหนด ทักษะการสอน ศักยภาพ
การเรียนการ
เทคนิคการสอน
ทีเ่ น้นผูเ้ รียน อาจารย์ทุกปี สอนดีขน้ึ
เป็ นสาคัญ
จากปีทผ่ี า่ น
มา
โอกา ผลกร ระดับ
ส ะทบ ความ
เสีย่ ง
2
2
4
2
2
4
การจัดเรียงลาดับความสาคัญของ
กิจกรรม
ลาดับ
1
2
3
การควบคุมทีม่ อี ยู่ ประเมินผลการ สรุปผล ความเสีย่ งและปจั จัย โอกาส ผลกระ
ควบคุม
ประเมินการ
เสีย่ ง
ทบ
ควบคุมทีม่ ี
ทีย่ งั มีอยู่
อยู่
การเผยแพร่การรับ นิสติ ขาดข้อมูลใน การได้งานทาของ มีการ
มีการเผยแพร่ เพียงพอ นิสติ สนใจเข้าทางาน 5
3
สมัครงานผ่าน การแสวงหาแหล่ง บัณฑิตไม่เป็ นไป ประชาสัมพันธ์ผ่าน ข้อมูลการรับ
ราชการมากกว่า
เว็บไซต์
งาน
ตามเกณฑ์
เว็บไซต์เกีย่ วกับ สมัครงานอย่าง
ธุรกิจและอยาก
มาตรฐานกาหนด การรับสมัครงาน ต่อเนื่อง
ทางานใกล้บา้ น
การสร้างเครือข่าย คณะฯ ร่วมมือกับ เงินเดือนเริม่ ต้นไม่ มีการสร้างเครือข่าย มีการจัดตลาดนัด เพียงพอ การได้งานทาของ
5
3
กับสถาน
สถานประกอบการ เป็ นไปตามเกณฑ์ ความร่วมมือกับ งานเป็ นประจา
นิสติ อาจไม่ตรงกับ
ประกอบการทาง ธุรกิจน้อย
มาตรฐาน
ธุรกิจในการทาวิจยั ทุกปี
สาขาวิชาทีส่ าเร็จ
ธุรกิจ
พัฒนาบริการ
การศึกษา
วิชาการและรับ
สมัครงานทีค่ ณะฯ
การสร้างความ การได้มาซึง่ โอกาส นิสติ เข้าร่วม
มีฐานข้อมูลสถาน มีการประสัมพันธ์ เพียงพอ นิสติ บางคนไม่มี
5
3
เข้มแข็งของ
ในการได้งานทาของ โครงการสหกิจ ประกอบการแต่ละ การฝึกงานอย่าง
ความกระตือรือร้นที่
โครงการสหกิจ นิสติ
ศึกษาน้อย
รุ่นไปฝึกงาน มีการทัวถึ
่ ง
จะฝึกประสบการณ์
ศึกษา
ปฐมนิเทศการ
ให้ตรงกับสาขาเพื่อ
ฝึกงาน มีนิเทศการ
พัฒนาศักยภาพ
ฝึกงาน
กิจกรรมหลัก
ผลกระทบทีม่ ี
นัยสาคัญ
ความเสีย่ ง
ระดับ
ความ
เสีย่ ง
15
15
15
การตอบสนองความเสี่ ยง ขัน
้ ตอน
ที่ 1
แผนงาน/
โครงการ
กิจกรรมหลัก
ปัจจัยเสี่ ยง
หลีกเลี่ย ยอมรั
ง
บ แผนการจัดการ
ควบคุม
ต้นทุน
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงานให้กบั
นิสิต
( ผลผลิต )
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงานให้กบั
นิสิต
( ผลผลิต )
การเผยแพร่ การ การได้งานทาของ
รับสมัครงานผ่าน บัณฑิตไม่เป็ นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐาน
เว็บไซต์
กาหนด
ประกาศข่าวการ ใช้งบ
รับสมัครงาน
ประมาณ
หน้าแรกของ
คณะฯ
เว็บไซต์
การสร้าง
เงินเดือนเริ่ มต้นไม่
เครื อข่ายกับ
เป็ นไปตามเกณฑ์
สถาน
มาตรฐาน
ประกอบการทาง
ธุ รกิจ
สร้างเครื อข่าย ใช้งบ
ความร่ วมมือกับ ประมาณ
สถาน
คณะฯ
ประกอบการมาก
ยิง่ ขึ้น
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงานให้กบั
นิสิต
( ผลผลิต )
การสร้างความ
เข้มแข็งของ
โครงการสหกิจ
ศึกษา
ส่ งเสริ มให้นิสิต ใช้งบ
เข้าร่ วมโครงการ ประมาณ
สหกิจศึกษา
คณะฯ
นิสิตเข้าร่ วมโครงการ
สหกิจศึกษาน้อย
ทางเลือกที่
ผลประโย ถ่ายโอน
เหมาะสม
ชน์
นิสิตทราบ
ควบคุม
แหล่งงาน
ทามากขึ้น
คณะฯ มี
สถาน
ประกอบก
ารมาทา
การ
คัดเลือก
นิสิตไป
ทางานมาก
ขึ้น
นิสิตมี
โอกาสได้
งานทาสู ง
เมื่อเข้าร่ วม
โครงการ
ควบคุม
ควบคุม
การตอบสนองความเสี่ ยง ขัน
้ ตอน
ที่ 2
แผนงาน/
โครงการ
กิจกรรมหลัก
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงาน
ให้กบั นิสิต
( ผลผลิต )
การเผยแพร่
การรับสมัคร
งานผ่าน
เว็บไซต์
ปั จจัยเสี่ ยง
การได้งานทา
ของบัณฑิตไม่
เป็ นไปตาม
เกณฑ์
มาตรฐาน
กาหนด
พัฒนาระบบ การสร้าง
เงินเดือน
บริ การข้อมูล เครื อข่ายกับ เริ่ มต้นไม่
แหล่งงาน
สถาน
เป็ นไปตาม
ให้กบั นิสิต ประกอบการ เกณฑ์
( ผลผลิต )
ทางธุรกิจ
มาตรฐาน
พัฒนาระบบ
บริ การข้อมูล
แหล่งงาน
ให้กบั นิสิต
( ผลผลิต )
ประเภท
ความเสี่ ยง
ผลกระทบที่มี
นัยสาคัญ
โอกาส ผลกระท ระดับความ ทางเลือกที่
บ
เสี่ ยง
เหมาะสม
แนวทางการบริ หารความเสี่ ยง
/การปรับปรุ งการควบคุม
แผนการ
ผลประโยช
ต้นทุน
จัดการ
น์
ประกาศข่าว ใช้งบ
นิสิตทราบ
การรับสมัคร ประมาณ แหล่งงาน
งานหน้าแรก คณะฯ
ทามากขึ้น
ของเว็บไซต์
Operationa นิสิตขาดข้อมูล
ในการแสวงหา
l Risk
แหล่งงาน
3
3
15
ควบคุม
Strategic
Risk
3
3
15
ควบคุม
สร้างเครื อข่าย ใช้งบ
ความร่ วมมือ ประมาณ
กับสถาน
คณะฯ
ประกอบการ
มากยิง่ ขึ้น
3
3
15
ควบคุม
ส่งเสริ มให้
นิสิตเข้าร่ วม
โครงการสห
กิจศึกษา
คณะฯ ร่ วมมือ
กับสถาน
ประกอบการ
ธุรกิจน้อย
การสร้าง
นิสิตเข้าร่ วม Operationa การได้มาซึ่ง
ความเข้มแข็ง โครงการสห l Risk
โอกาสในการได้
โครงการ
กิจศึกษาน้อย
งานทาของนิสิต
สหกิจศึกษา
ใช้งบ
ประมาณ
คณะฯ
คณะฯ มี
สถาน
ประกอบกา
รมาทาการ
คัดเลือก
นิสิตไป
ทางานมาก
ขึ้น
นิสิตมี
โอกาสได้
งานทาสูง
เมื่อเข้าร่ วม
โครงการ
การตอบสนองความเสี่ ยง ขัน
้ ตอน
ที่ 3
แผนงาน/ กิจกรรม ปัจจัยเสี่ ยง ประเภท ผลกระท ระดับ
กิจกรรม
รายละเอียดการจัดการ
ความ
บที่มี ความ แผนการ ต้นทุน
การใช้
ตาม
โครงการ หลัก
เสี่ ยง นัยสาคัญ เสี่ ยง จัดการ
ประโยชน์ แผนการ
จัดการ
พัฒนา การ
การได้งาน Operatio นิสิตขาด 15
ประกาศ ใช้งบ
นิสิตทราบ ประชาสั
ระบบ เผยแพร่ ทาของ
ข่าวการ ประมาณ แหล่งงาน มพันธ์
nal Risk ข้อมูลใน
บริ การ การรับ บัณฑิตไม่
การ
รับสมัคร คณะฯ
ทามากขึ้น แหล่ง
ข้อมูล สมัคร เป็ นไปตาม
แสวงหา
งานหน้า
ฝึ กงาน
แหล่ง งานผ่าน เกณฑ์
แรกของ
ผ่าน
แหล่งงาน
งาน
เว็บไซต์ มาตรฐาน
เว็บไซต์
เว็บไซต์
ให้กบั
กาหนด
นิสิต
( ผลผลิต
)
กาหนด
การ
ดาเนินก
าร
1
กันยายน
2552-31
ตุลาคม
2553
ผูร้ ับผิดชอ ผูร้ ับผิดชอบ
บ(ระบุ (ตาแหน่ง)
ชื่อ)
อาจารย์ รองคณบดี
ธีระพล ฝ่ ายพัฒนา
ศิระบูชา นิสิตและ
อาคาร
สถานที่
อมู
ความบกพรองระบบข
้ ล
่
1. การวิเคราะห์ระดับความเสี่ ยงผิดพลาดเช่น 4x3 =15, 4x4=21 ซึ่ งค่าที่ถูกต้องควรจะเป็ น 4x3
=12, 4x4=16 เมื่อระบบคานวณผิดพลาดการเรี ยงลาดับความเสี่ ยงก็ผดิ พลาด
2. ระบบข้อมูลการตอบสนองความเสี่ ยง มีขอ้ จากัดจานวนคอลัมน์แค่ 5 คอลัมน์
ระบบควรเพิ่มจานวนคอลัมน์เพื่อให้สามารถกรอกข้อมูลได้เพิ่มและครบถ้วนครอบคลุม
3. ควรเพิ่มช่องถาม-ตอบ เพื่อเสริ มสร้างความเข้าใจระบบฐานข้อมูล
4. ควรขยายเวลาในการบันทึกข้อมูลผ่านระบบในช่วงการเริ่ มต้นใช้ระบบฐานข้อมูล
5. ข้อมูลที่ทางคณะฯ ได้ทาการบันทึกในระบบนั้นไม่สมบูรณ์ เนื่องจากระบบฐานข้อมูล ไม่
เสถียร จึงได้จดั ทาเล่มวิเคราะห์ความเสี่ ยงให้กบั มหาวิทยาลัยเป็ นรู ปเล่ม เพื่อสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ได้จริ ง
6. การวิเคราะห์โครงการที่จะจัดทาในแผนนั้นควรมีการคาดการณ์วา่ จะเกิดกิจกรรมนั้นแน่นอน
เพราะมีผลต่อการรายงานการดาเนินงานตามแผนการบริ หารจัดการความเสี่ ยงว่าได้ดาเนินการตาม
เป้ าหมายไปแล้วกี่โครงการ/บรรลุตามเป้ าหมายที่กาหนดหรื อไม่
7. หลักการเขียนกิจกรรมในแผนความเสี่ ยงควรเป็ นกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นจริ ง ณ ปี นั้น ๆ เพราะหาก
เขียนกิจกรรมที่คาดว่าจะเกิดในอีก 3ปี ถึง 5ปี จะต้องดาเนินการจัดทา Scenarios หรื อ การทาอนาคตภาพ
ซึ่งต้องดาเนินการจัดทาโดยวิธีวจิ ยั EDFR หรื อ Delphi ซึ่งจะต้องใช้ระยะเวลามากในการจัดทาจึงจะได้
คาตอบที่เชื่อถือได้
จบการนาเสนอ
ขอขอบพระค ุณ
ฝ่ายวางแผนและประกันค ุณภาพ
คณะการบัญชีและการจัดการ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โทร.043-754333 ต่อ 3426, 3497