ยกระดับคุณภาพการศึกษา อปท.

Download Report

Transcript ยกระดับคุณภาพการศึกษา อปท.

การขับเคลือ่ นและยกระดับคุณภาพการศึกษา
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ดร.วัลลภ รองพล
Dr.WANLOP RONGPOL (Ph.D.HRD.)
รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2
อาจารย์พเิ ศษมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อาจารย์พเิ ศษมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
E-mail : [email protected]

08-1781-2551
ประวัติการศึกษา ดร.วัลลภ รองพล
พ.ศ.2525
พ.ศ.2539
พ.ศ.2542
พ.ศ.2555
ป.ตรี การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) ชีววิทยา มศว.บางแสน
ป.ตรี นิ ติศาสตร์บณ
ั ฑิต (น.บ.) มสธ.
ป.โท การศึกษามหาบัณฑิต(กศ.ม.) บริหารการศึกษา ม.บูรพา
ป.เอก ปรัชญาดุษฎีบณ
ั ฑิต(PH.D.HRD.) การพัฒนา
ทรัพยากรมนุ ษย์ ม.รามคาแหง
การขับเคลื่อนและการยกระดับ
คุณภาพการศึกษา
เราจะยึดหลักใดในการทางาน ?
BENCHMARK 1
Major Global Change
1
Change in competition
platform & Business Model
6
Technological
change
Emergence of
“the Second Economy”
Change in Social System
and Interaction
2
Climate change
Political change
-Disaster
-Energy & Food
-Security
-Conflict
-People participation
3
5
International
Cultural change
Economic Platform
change
-Social value change
-More individualism
4
Demographical
Structure change
Aging Society
Economic
Integration & connectivity
21st Century What schools are for ?
Learning
BENCHMARK 2
ประกาศวาระแห่งชาติดา้ นการศึกษา
ที่มาของการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาของไทย
* IMD : International Institute for Management
Development คือความสามารถทางการแข่งขัน พบว่า ในปี ค.ศ.2013
การศึกษาไทยอยู่อนั ดับ 51 จาก 60 ประเทศ
 * PISA ค.ศ.2009 เด็กไทยอยู่อนั ดับ 50 จาก 65 ประเทศ
 * Time Higher Education World Rankings : THEWR
ในปี ค.ศ.2012-2013 จัดอันดับมหาวิทยาลัยดีท่สี ดุ ในโลก 400 แห่ง ของไทยติดอันดับ
แห่งเดียวอยู่ในอันดับ 351
 * WEF: World Economic Forum. The Global

Competitiveness Report 2012-2013 คุณภาพการศึกษาไทยอยู่ใน

อันดับ 8 ในกลุม่ อาเซียนและเป็ นกลุม่ ที่มีคะแนนตา่ สุด
ปี 2556
“ปี แห่งการรวมพลัง ยกระดับคุณภาพการศึกษา”
Ministerial Retreat : Moving
Forward with Education Reform
ปัญหาของนักเรียนไทยที่พบคือ
?
ปัจจัยหนึ่ งที่ทาให้ผลการ
ประเมินคุณภาพการศึกษา
ตกตา่
1. ปัจจุบัน มีคนไทย ไม่ ร้ ู หนังสื อ อ่ านไม่ ออก เขียนไม่ ได้
ประมาณ ๒ ล้ าน คน
(ข้ อมูลจาก:Unesco ,September 10,2012)
2. คนไทย ไม่มีนิสยั รักการอ่าน จากสถิติ ปรากฏว่า
คนไทยอ่านหนังสือ ๘ บรรทัด จากค่าเฉลี่ย ของคนทัง้ ประเทศ ๖๕ ล้านคน
แต่เพื่อนบ้าน อย่าง สิงคโปร์,เวียตนาม อ่านปี ละ ๕ เล่ม ประเทศ จีนอ่านปี ละ ๖ เล่ม
ยุโรป อ่านปี ละ ๑๖ เล่ม
( ข้อมูลจาก:สานักงานสถิติแห่งชาติ)
นักเรียนที่อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้
ระดับ หน่วยงานต้นสังกัดควรต้อง.....
• ประชุมเสวนาครูภาษาไทย
• จัดพิมพ์หนังสือแบบเรียนเร็วใหม่
• ใช้ สื่อชุดซ่ อมเสริมนักเรียน ชั้น ป.3
• พัฒนาสือ่ การอ่านย่อความ
• พัฒนาวิทยากรแกนนา การอ่านรูเ้ รื่องและสือ่ สารได้
• พัฒนาความสามารถการอ่านคิดวิเคราะห์
• พัฒนาสือ่ การเรียนรูแ้ ละนวัตกรรมที่สง่ เสริมการอ่านคิดวิเคราะห์
ใช้ สื่อชุดซ่ อมเสริมนักเรียน ชั้น ป.3
แนวการสอนซ่อมเสริมการอ่านและการเขียน
ชัน้ ประถมศึกษาปี ท่ี 3
8 นโยบาย
1. เร่งปฏิรูปการเรียนรูท้ ง้ั ระบบให้สมั พันธ์เชื่อมโยงกัน
BENCHMARK 3
VTR of PISA
PISA คืออะไร ?
เป็ นโครงการประเมินผลนักเรียนระดับ
นานาชาติที่วดั ทักษะและความสามารถของ
นักเรียนอายุ 15 ปี ด้าน การอ่าน คณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์
ประเมินต่อเนื่ องกันทุก 3 ปี จัดโดย OECD
(Organization for Economic Co-operation
and Development)
ประชากรเป้ าหมายของการสอบ PISA คือ
นักเรียนที่กาลังเรียนในระดับมัธยมศึกษาที่มีอายุ
15 ปี ของประเทศนัน้ ๆ ไม่ว่าจะเรียนอยู่ชนั ้ ใด (ม. 2,
ม. 3, ม. 4, หรือ ม. 5, ปวช. 1 หรือ ปวช. 2) และไม่ว่า
จะเรียนอยู่ในโรงเรียนของสังกัดใด (สพฐ., การ
ปกครองส่วนท้องถิ่น, อาชีวะ, สาธิต, เอกชน)
27
การประเมินผลนานาชาติ - PISA
ปี ที่
ประเมิน
2000
2003
2006
2009
2012
2015
วิชาที่
เน้นเป็ น
หลักใน
การ
ประเมิน
(ตัวหนา)
การอาน
่
คณิตศาส
ตร ์
วิทยาศา
สตร ์
การอาน
่
คณิตศาส
ตร ์
วิทยาศาส
ตร ์
การ
แกปั
้ ญหา
วิธก
ี าร
เรียน
เจตคติตอ
่
คณิตศาส
ตร ์
การอาน
่
คณิตศาส
ตร ์
วิทยาศาส
ตร ์
การอาน
่
คณิตศาส
ตร ์
วิทยาศาส
ตร ์
การอาน
่
คณิตศาส
ตร ์
วิทยาศาส
ตร ์
การอาน
่
คณิตศาส
ตร ์
วิทยาศาส
ตร ์
วิธก
ี าร
เรียน
เจตคติตอ
่
วิทยาศาส
ตร ์
กิจกรรม
เกีย
่ วกับ
อาน
่
กลวิธท
ี ี่
นักเรียน28
การ
อยูในขั
น
้
่
แกปั
้ ญหา พิจารณา
และ
โอกาสใน
การ
แบบสอบถ วิธก
ี าร
ามสาหรับ เรียน
นักเรียน ความ
ผูกพัน
และ
คะแนนของนักเรียนจาแนกตามสังกัด(PISA 2009)
การอ่าน
600
550
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
คะแนน
สาธิต
500
450
สพฐ.2
สช.
เฉลีย
่ ประเทศ
กทม.
กศท.
400
350
300
29
อศ.1
อศ.2
สพฐ.1
ไทยเข้าร่วมโครงการ PISA มาแล้ว 4 ครัง้ (2543,
2546, 2549, 2552)
ผลยังอยู่ในระดับที่ไม่น่าพอใจ
รายการ
2006 (57 ประเทศ)
2009 (65 ประเทศ)
นานา
ลาดับ นานา
ลาดับ
ไทย
ไทย
ชาติ
ที่
ชาติ
ที่
การอาน
่
492
417
คณิตศาส
ตร ์
498
417
วิทยาศาส
ตร ์
500
421
4142
4346
4447
494
421
496
419
501
425
4751
4852
4749
30
- ผลการสอบ PISA ที่ตา่ ต่อเนื่ องมา 4 ครัง้ มีผลต่อภาพลักษณ์
ของประเทศมาก เนื่ องจากได้มีการนาผลการสอบ PISA ไป
เป็ นเกณฑ์หนึ่ งใน การจัดลาดับความสามารถใน การแข่งขันของ
ประเทศ รวมทัง้ เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาความน่ าลงทุนด้วย
- นานาชาติมองประเทศไทยว่า เป็ นประเทศที่มีคณ
ุ ภาพการศึกษาตา่
หรือกล่าวได้อกี อย่างหนึ่ งว่า คุณภาพหรือศักยภาพของคนไทยตา่
เมื่อเทียบกับนานาชาติ
31
กระทรวงศึกษาธิการได้ใช้ผลการสอบ PISA เป็นตัวบ่งชี้หนึ่ งของ
ความสาเร็จของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561)
“ภายในปี พ.ศ. 2561 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้านคณิ ตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ เพิ่มขึ้นไม่ตา่ กว่าค่าเฉลีย่ นานาชาติ (ผลทดสอบ PISA)”
32
BENCHMARK 4
การทดสอบระดับชาติ (O-NET)
 รายงานข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET)
* คะแนนเฉลี่ยร้อยละชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา 2556 เปรียบเทียบระดับประเทศ
* คะแนนเฉลี่ยร้อยละชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา 2556เปรียบเทียบปี การศึกษา 2555
* แนวโน้มคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลการทดสอบระดับชาติขน้ั พื้นฐานชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6
ปี การศึกษา 2554-2556
* การผ่านมาตรฐานหลักสูตร ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐานชัน้ ประถมศึกษา
ปี ท่ี 6 ปี การศึกษา 2556
* ร้อยละของนักเรียนตามช่วงคะแนน ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา 2556
BENCHMARK 5
การประเมินภายนอก รอบ 3
(พ.ศ.2554 - 2558)
ของ
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) สมศ.
BENCHMARK 6
(KPI Dictionary for Thai Education Evaluation)
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (2554)
กรอบตัวชี้วดั สาหรับการประเมินผลการจัดการศึกษาของไทยใน 5 ด้าน ได้แก่
1. ด้านความครอบคลุมทัว่ ถึงและเพียงพอ (10 ตัวชี้วดั )
2. ด้านความเสมอภาคและเป็ นธรรม (2 ตัวชี้วดั )
3. ด้านคุณภาพการศึกษา (5 ตัวชี้วดั )
4. ด้านประสิทธิภาพ (18 ตัวชี้วดั )
5. ด้านประสิทธิผล (8 ตัวชี้วดั )
รวม 43 ตัวชี้วดั หลัก 52 ตัวชี้วดั ย่อย
3. ด้านคุณภาพการศึกษา
 ตัวชี้วดั ที่ 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 ตัวชี้วดั ย่อยที่ 3.1.1 ร้อยละของจานวนผูเ้ รียนระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน(ป.6
ม.3 ม.6) ที่มีผลการทดสอบระดับชาติอยู่ใน ระดับดี จาแนกตามกลุ่มสาระหลัก
(คณิ ตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ
ภาษาต่างประเทศ)
 ระดับดี หมายถึง ได้คะแนนมากกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศของการ
ทดสอบ O-NET ในแต่ละวิชา
(ข้อมูลจาก สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
สทศ.)
ตัวชี้วดั ที่ 3.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ระดับ
ผลการวิเคราะห์
ความหมาย
1
3
<50.00%
50.00-64.99%
65.00-89.99%
ปรับปรุง
พอใช้
ดี
4
>90.00%
ดีมาก
2
ตัวชี้วดั ที่ 3.2 ร้อยละของจานวนสถานศึกษาที่
ผูเ้ รียนมีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และค่านิ ยมอัน
พึงประสงค์ ระดับดีข้ ึนไป
ได้แก่ การมีวนิ ยั มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์
สุจริต มีความกตัญญูกตเวที มีความเมตตากรุณา
โอบอ้อมอารีเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ไม่เห็นแก่ตวั มีความ
ประหยัดใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า และปฏิบตั ิตน
เป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวม
 ตัวชี้วดั ที่ 3.3 ร้อยละของจานวนสถานศึกษาที่ผูเ้ รียน
มีสุขนิ สยั สุขภาพกาย และสุขภาพจิต ในระดับดีข้ ึนไป
ได้แก่ : ผูเ้ รียนรูจ้ กั ดูแลสุขภาพ สุขนิ สยั ออกกาลังกายสมา่ เสมอ
มีน้ าหนัก ส่วนสูง สมรรถภาพทางการตามเกณฑ์ ไม่เสพหรือ
แสวงหาผลประโยชน์จากสิง่ เสพติด สิง่ มอมเมา หลีกเลี่ยงสภา
ที่เสีย่ งต่อความรุนแรง โรคภัย อุบตั เิ หตุ รวมทัง้ ปัญหาทางเพศ
มีความมัน่ ใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และให้เกียรติผูอ้ น่ื
มีความร่าเริงแจ่มใส มีมนุ ษยสัมพันธ์ท่ดี ตี ่อเพื่อน ครูและผูอ้ น่ื
การตรวจสอบประเมินคุณภาพผูเ้ รียน
เพื่อนาผลการประเมินมาใช้เป็ นข้อมูลในการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่ อง การวัดด้วยเครือ่ งมือที่มี
ประสิทธิภาพ เป็ นที่ยอมรับคือการพัฒนาระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษา
การวัดผลประเมินผลสะท้อนมาตรฐาน
(Standards – based – Assessment)
เครื่องมือการขับเคลื่อนและยกระดับคุณภาพการศึกษา
 หลักการ/ประเด็นยุทธศาสตร์
 ใช้วธิ ีการและเครื่องมือที่เหมาะสม
 มีความตรง สามารถวัดในสิง่ ที่ตอ้ งการวัด
 มีการประเมินภาคปฏิบตั ิ การมอบหมายงานให้ทา
 มีการใช้คาถาม ให้แสดงเหตุผลประกอบคาตอบ ทัง้ ด้วย
การเขียน การพูด หรือการเสนอผลงาน
 เป็ นการประเมินที่วดั ทัง้ ความคิดและความเข้าใจ
มาตรฐานด้านการวัดและประเมินผล
 สอดคล้องวัตถุประสงค์ท่กี าหนด
 ประกอบด้วยทัง้ การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน และโอกาส
ในการได้รบั การศึกษาของผูเ้ รียน
 ให้ขอ้ มูลที่มีคณ
ุ ภาพ และการดาเนิ นการที่เกี่ยวข้องต้องยึด
ข้อมูลที่ได้น้นั เป็ นหลัก
 เป็ นไปอย่างยุติธรรม
 ให้ขอ้ สรุปที่สามารถใช้อา้ งอิงได้อย่างเป็ นที่เชื่อถือ ทัง้ ใน
ด้านผลสัมฤทธิ์ และโอกาสในการศึกษาของผูเ้ รียน
(NSES : Assessment Standards)
ตัวอย่างเครื่องมือ
Workshop
แบ่งกลุม่ ผูเ้ ข้าอบรมออกเป็ น 6 กลุม่
ให้อภิปรายกลุม่ การขับเคลือ่ นและยกระดับคุณภาพ
การศึกษา อปท. (ในบริบทเสมือนจริงของท่าน)
แล้วสรุปความคิดเห็นของกลุม่ ส่งตัวแทนนาเสนอ
ผลงานหน้าชัน้ เรียน โดยใช้ผงั ความคิด(Mind
Map) หรือรูปแบบ (Model) เสนอลงบน Chart