การคิดวิเคราะห์องค์ประกอบ

Download Report

Transcript การคิดวิเคราะห์องค์ประกอบ

การออกแบบสิ่ งแวดล้ อมทางการเรียนรู้ แบบเปิ ดบนเครือข่ าย
ทีส่ ่ งเสริมการคิดวิเคราะห์ วชิ าวิทยาศาสตร์
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
Design of Web-Based Open Learning Environments (Woles)
To Enhance Analytical Thinking for Science Classroom
โดย : นายศักดรินทร์ ขามธาตุ
ผศ.ดร.อิศรา ก้านจักร
อ.ดร.พงศ์ ธนัช แซ่ จู
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เทคโนโลยีมีความเจริ ญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ ว
ความรู้และข้อมูลที่มากมายหลากหลาย
ความรู ้และข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา
OLEs
ANALYTICAL
THINKING
PISA ,O-NET
web
เพื่อออกแบบและพัฒนาสิ่ งแวดล้อมทางการเรี ยนรู้
แบบเปิ ดบนเครื อข่ายที่ส่งเสริ มการคิดวิเคราะห์
OLEs
เป็ นทฤษฎีที่ให้ผเู้ รี ยนสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเองโดย
ใช้ความสัมพันธ์จากประสบการณ์เดิมบวกกับ
ประสบการณ์ใหม่ที่ได้รับ (สุ มาลี ชัยเจริ ญ, 2551)
Technology
Constructivism
การเรี ยนรู้บนเครื อข่ายเป็ น
เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพราะมี
คุณลักษณะของสื่ อที่ตอบสนอง
ต่อการเรี ยนรู้ท้งั รายบุคคลและ
เป็ นกลุ่ม ผูเ้ รี ยนสามารถสื บค้น
ความรู้ได้ตามความต้องการที่จะ
เรี ยนรู้ สามารถแบ่งปัน
แลกเปลี่ยนมุมมองที่หลากหลาย
กับผูเ้ รี ยนและผูเ้ ชี่ยวชาญอื่น
(Kanjug and Chaijaroen; 2012)
Learning
theory
Knowledge
and skill
มุ่นให้ผเู ้ รี ยนสร้างความรู ้ดว้ ยตนเอง
จากประสบการณ์และส่ งเสริ มการ
แก้ปัญหาที่เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนเสนอ
คาตอบที่หลากหลายแนวทาง โดยมี
องค์ประกอบที่สาคัญคือ การนาเข้าสู่
บริ บท แหล่งทรัพยากร เครื่ องมือ และ
ฐานการช่วยเหลือ (Hannafin,1999)
Science
Analytical Thinking
Pedagogies
WEB
ซึ่งเป็ นการคิดขั้นสูงที่ผเู้ รี ยนใช้สาหรับ
การจาแนกแยกแยะหาความสัมพันธ์เชิง
เหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น
เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริ งซึ่ งใช้พ้นื ฐาน
การคิดของบลูม(Bloom,1954)
การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking)
Analyti
cal
Thinkin
g
(1)การคิดวิเคราะห์ องค์ ประกอบ (Analysis of
Element) หมายถึงความสามารถในการจาแนก บอก
ชนิด ลักษณะ ประเภทของบรรดาข้อความ เรื่ องราว
วัตถุสิ่งของ เหตุการณ์ และการกระทา ต่างๆ ตาม
กฎเกณฑ์และหลักการใหม่ที่เรากาหนดให้
(2)การวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ (Analysis of
Relationship) หมายถึง ความสามารถในการ
ค้นหาความเกี่ยวข้องหรื อสัมพันธ์กนั ระหว่าง
คุณลักษณะสาคัญใด ๆ ของเนื้อหา และสิ่ งต่างๆที่
ได้เรี ยนรู้
ผูว้ ิจยั ได้ประยุกต์หลักการวิจยั เชิงพัฒนาของ Richey and Klein (2007) ซึ่งประกอบด้วย 3 กระบวนการ
กระบวนการออกแบบ
• ศึกษาหลักการและ
ทฤษฏี
• ศึกษาสภาพบริ บท
• สร้างกรอบแนวคิดใน
การออกแบบ
กระบวนการพัฒนา
กระบวนการประเมิน
• กาหนดขอบข่ายของ
เนื้อหา
• สร้าง WOLEs
• -ตรวจสอบโดย อาจารย์ที่
ปรึ กษา
• (1) การประเมินด้านผลผลิต
(2) การประเมินด้านบริ บทการใช้
(3) การประเมินด้านความคิดเห็น
(4) การประเมินด้าน
ความสามารถการคิดวิเคราะห์
(5) การประเมินด้านผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยน
ผลการวิจยั
การกระตุน้ โครงสร้างทาง
ปัญญาและทักษะการคิด
วิเคราะห์
การสนับสนุนการปรับ
สมดุลทางปัญญาและทักษะ
การคิดวิเคราะห์
Cognitive constructivism
OLEs
analysis thinking
Enabling contexts
สถานการณ์ปัญหา
กรอบการคิดวิเคราะห์
-Externally Imposed(problem
solving)
-การคิดวิเคราะห์องค์ประกอบ
-Externally Induced(Case-based )
-การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
SOI
Conceptual model
OLEs
Static Resource , Dynamic Resource
Processing Tool
analysis thinking
Manipulation Tool
ธนาคารความรู้
เครื่ องมือทาง
ปัญญา
Communication Tool
การส่ งเสริ มทักษะ
การคิดวิเคราะห์
การช่วยเหลือและการขยาย
มุมมองที่หลากหลาย
กรอบการคิดวิเคราะห์
analysis thinking
-การคิดวิเคราะห์องค์ประกอบ
-การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
OLEs
social constuctivism
-Conceptual Scaffolding
-Metacognitive Scaffolding
ศูนย์ พฒ
ั นาทักษะ
การคิดวิเคราะห์
ฐานการช่วยเหลือ
-Procedural Scaffolding
-Strategic Scaffolding
social support
ชุมชนการเรี ยนรู้
(1)การกระต้ นุ สร้ างโครงสร้ างทางปัญญา เป็ นการออกแบบการเรี ยนรู้ที่เป็ นสถานการณ์ปัญหา ซึ่งจะ
เป็ น เสมือนประตูที่ผเู ้ รี ยนจะเข้าสู่เนื้อหาที่จะเรี ยนรู้
ตัวอย่างสื่ อ
(2)การสนับสนุนการปรั บสมดลุ ทางปัญญาและการคิดวิเคราะห์ ออกแบบให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้โดยการ
ค้นพบความรู ้จากการเสาะแสวงหาความรู้จากแหล่งสารสนเทศ โดยจัดแหล่งข้อมูลไว้ภายในWOLEs ซึ่ง
ประกอบไปด้วย ธนาคารความรู้ และ เครื่ องมือทางปัญญา
(3) การส่ งเสริ มทักษะการคิดวิเคราะห์ ออกแบบให้ผเู้ รี ยนได้มีโอกาสฝึ กคิดตามกระบวนการคิดแบบ
วิทยาศาสตร์โดยการคิดวิเคราะห์เพื่อหาทางในการหาคาตอบหรื อแก้ปัญหา รวมทั้งได้ฝึกการใช้เหตุผล
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์
(4)การช่ วยเหลือและการขยายมุมมองทีห่ ลากหลาย ออกแบบให้ผเู้ รี ยนขยายความคิดรวบยอดให้กว้างขึ้น
โดยการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้และมุมมองที่หลากหลาย
กระบวนการประเมินประสิ ทธิภาพของสิ่ งแวดล้อมทางการเรี ยนรู ้แบบเปิ ดบนเครื อข่ายที่ส่งเสริ มการคิดวิเคราะห์ได้
ดาเนินการการประเมินประสิ ทธิภาพ โดยประยุกต์จากการประเมินประสิ ทธิภาพและพัฒนาสื่ อบนเครื อข่ายของ สุ มาลี
ชัยเจริ ญ (2547)
ด้ านผลผลิต
พบว่า เนื้อมีความถูกต้อง เพียงพอต่อการแสวงหาคาตอบด้วยตนเอง มีการออกแบบ
สารในการนาเสนอเนื้อหาที่เอื้อต่อการสร้างความเข้าใจในการเรี ยนเป็ นลาดับขั้นที่ดี
ด้านบริ บทการใช้
พบว่า การเรี ยนด้วย WOLEsผูเ้ รี ยนยังไม่คุน้ เคยกับกิจกรรมที่ตอ้ งสร้างความรู้ตนเอง
และทักษะการใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้
ด้ านความคิดเห็น
ด้านความสามารถทางด้าน
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ด้ านผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
พบว่าผูเ้ รี ยนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสารสนเทศที่จดั เตรี ยมสามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่าง
เพียงพอ และภาษาที่ใช้สามารถสื่ อได้ตรงกับความคิดรวบยอด สารสนเทศมีความทันสมัยและทัน
ต่อเหตุการณ์ปัจจุบนั
พบว่า ผูเ้ รี ยนสามารถแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการวิเคราะห์องค์ประกอบและความสัมพันธ์
ของปัญหา โดยการแยกประเด็นคาถามจากสถานการณ์ปัญหาที่เผชิญออกมาเป็ นรายละเอียดว่าสิ่ งที่
โจทย์ระบุมา สิ่ งที่ตอ้ งการค้นหาเพิ่ม และสิ่ งที่ตนเองทราบ
พบว่า ผูเ้ รี ยนที่เรี ยนด้วย WOLEs มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนสู งขึ้นกว่าก่อน
เรี ยน
1
•การเตรี ยมชั้นเรี ยนก่อนที่จะใช้งาน โดยที่ผเู ้ รี ยนยังไม่มีประสบการณ์ใน
การเรี ยนแบบคอนสตรัคติวสิ ต์ ผูส้ อนต้องมีการเตรี ยมตัวในส่ วนนี้ดว้ ย
2
•ในการโค้ชนั้น มีความสาคัญต่อผูเ้ รี ยนเป็ นอย่างสู ง ซึ่ งผูส้ อนต้องมี
การโค้ชวิธีคิดหาคาตอบ และการโค้ชในด้านทักษะการใช้คอมพิวเตอร์
งานวิจยั นี้ ได้ รับการสนับสนุนจาก
สาขาเทคโนโลยีการศึกษา
ศูนย์ วจิ ัยนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางปัญญา
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
Thank you!