การวิเคราะห์ข้อมูล (เชิงคุณภาพ) - กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

Download Report

Transcript การวิเคราะห์ข้อมูล (เชิงคุณภาพ) - กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

การวิเคราะห์ ข้อมูล
เชิงคุณภาพ
รองศาสตราจารย์ บาเพ็ญ เขียวหวาน
สาขาวิชาส่ งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
การเก็บข้ อมูล
การเลือกวิธีการเก็บข้ อมูล
1. วัตถุประสงค์ การศึกษา /การใช้ ประโยชน์ /จานวนข้ อมูลที่
2.
3.
4.
5.
6.
ต้ องการ
คุณสมบัตขิ องประชากรศึกษา
ระยะเวลาทีศ่ ึกษา
ความเป็ นไปได้ ด้านกาลังคน
ความเป็ นไปได้ ด้านทรัพยากร
สภาพแวดล้ อม
สอบถาม สั มภาษณ์ สั งเกต ทดลอง เวทีพูดคุย เครื่องมืออืน่ ๆ (RRA PRA AIC….)
ตอบแบบสอบถาม
การสั มภาษณ์
1. การสั มภาษณ์ รายบุคคล (Individual interview)
2. การสั มภาษณ์ ผ้ ูให้ ข้อมูลหลัก(สาคัญ) (Key informant interview)
บุคคลทีม่ ีคุณสมบัตพิ เิ ศษรอบรู้ ข้อมูลต่ างๆ
3. สั มภาษณ์ แบบกลุ่ม – สนทนากลุ่ม (group interview /focus group)
7-10 คนประชุม ซักถาม ผู้เก็บข้ อมูล จุดประเด็น ให้ เกิดการพูดคุย
ถามความ รู้ สึกนึกคิดข้ อมูลเชิงคุณภาพ
4. การตะล่ อมกล่ อมเกลา (probe) ซักถามล้ วงเอาความคิด ความจริง
(รายรับ รายจ่ าย ปัญหา) ใช้ เทคนิค(ตารวจ ทนาย) อาจรุกผู้ตอบ
โดยใช้ ข้อสมมติ สรุปความ ดูปฏิกริ ิยา
เวทีเก็บข้ อมูล
เวทีเก็บข้ อมูล
เวทีเก็บข้ อมูลทีพ่ นื้ ทีช่ ่ ุมนา้ บางตะบูน เพชรบุรี
9
การสั งเกต
1. การสั งเกตแบบมีส่วนร่ วม (Participant Ob.)
การสั งเกตภาค สนาม (Field Ob.)
– เข้ าไปใช้ ชีวติ ิกบั กลุ่มคนทีถ่ ูกศึกษา
– ร่ วมทากิจกรรมด้ วยกัน
– พยายามให้ คนในยอมรับว่ าผู้สังเกตมีสถานภาพ บทบาท
เช่ นเดียวกับตน
กระบวนการ---สังเกต---ซักถาม(โดยเฉพาะข้ อมูลความหมาย)---บันทึก
2. การสั งเกตแบบไม่ มสี ่ วนร่ วม (Non-Participant Ob.)
– นักวิจัย สั งเกตอยู่วงนอก
– ไม่ เข้ าไปร่ วมในชีวติ / กิจกรรม
วิธีการอืน่
•
•
•
•
การประชุมสั มมนา
การระดมสมอง
การพูดคุยแบบไม่ เป็ นทางการ
PRA, AIC, FSC ฯ
ยกร่างโครงการ
ศึกษาข้ อมูล
ทุติยภูมิ
สังเกต
ตัวอย่ างการออกแบบเก็บข้ อมูล
สั มภาษณ์
สอบถาม
ประชุม
ร่ างกรอบแนวคิด
กาหนดตัวแปร
วิเคราะห์ผล
เก็บ
ข้อมูล
ร่วมกิจกรรม
โครงการ
สั มมนา
จัดเวทีชมุ ชน
ถอดบทเรียนองค์ ความรู้
องค์ความรู้
กระบวนการ
-การส่ งเสริมอาชีพ
-ท่ องเทีย่ ว
-เครือข่ าย
-ศูนย์ เรียนรู้
เวทีสมั มนาคืนข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติม
จัดทายกร่างรายงาน
จัดทารายงาน
ฉบับสมบูรณ์
ดูความ
สอดคล้องกับบริ บท
ดูความเป็ นไปได้
ของข้อสังเกตอื่นๆ
ผู้วจิ ัย
การตรวจสอบ
ต่างวิธีการเก็บ
ความถูกต้ อง-เชื่อถือของข้ อมูล
เทคนิคสามเส้ า
Triangular
ทวนความ
คาตอบ
ต่างระยะเวลา
ต่างแหล่งข้อมูล
ต่าง……
ต่างสถานที่
การวิเคราะห์
ข้ อมูล
รองศาสตราจารย์ บาเพ็ญ เขียวหวาน
สาขาวิชาส่ งเสริมการเกษตรและสหกรณ์
INTELLIGENCE ปัญญา
ปฎิบัติ
KNOWLEDGE ความรู้
สั งเคราะห์
INFORMATION ข่ าวสาร สาระ
จปฐ. 1 2 3
+-x
ชาย
หญิง
ขพก.
ABC
฿
วิเคราะห์
กชช 2 ค
ทะเบียนเกษตรกร
พุทธ
กขค
มุสลิม
DATA ข้ อมูล
•ระดับ
•จะทาอย่ างไร
•เป็ นอย่ างนั้นได้ อย่ างไร
•เป็ นอย่ างไร
•เปรียบเทียบ
•หาเหตุผล
•ความสั มพันธ์
•จัดกลุ่ม
•สั งเกต
•พูดคุย
•เก็บข้ อมูล
มันเป็ น(อยู่)อย่ างไร
ข้ อสรุป แนวคิด ทฤษฎี MODEL
ทฤษฏี แนวคิด
(THEORY LEVEL)
RESEARCH
วิจัย(เรียนรู้)
วิเคราะห์
(META LEVEL)
สิ่ งทีเ่ ห็น-ปฏิบัติ
(PRACTICAL LEVEL)
มันเป็ นอย่ างนั้นได้ อย่ างไร
ACTION
งานพัฒนา
แล้วจะทาอย่ างไร
การวิเคราะห์ และสั งเคราะห์
การวิเคราะห์
 การจาแนกแยกแยะในด้ านส่ วนประกอบหรือเนือ้ หาสาระ
 เพือ่ ค้ นหาประเด็นหลักหรือสาระสาคัญ
 โดยแยกเรื่องที่ไม่ เกีย่ วข้ องกันหรือเป็ นคนละประเด็นออก
จากกัน เป็ นส่ วนย่ อยๆ
 บ่ งชี้ความสั มพันธ์ เชื่อมโยงกันของส่ วนย่ อยหรือ
ความสั มพันธ์ ของส่ วนย่ อยกับส่ วนใหญ่
การสั งเคราะห์
การรวบรวมส่ วนประกอบย่ อยทั้งหลายมาผสมผสาน
จัดระบบให้ เป็ นสิ่ งใหม่ รู ปแบบใหม่ เรื่องใหม่
โครงสร้ างใหม่
อธิบายข้ อมูลหรือปรากฏการณ์ บางอย่ างทีส่ ัมพันธ์ กน
ั
นาหลักการความคิดมาผสมผสาน ให้ เกิดสิ่ งใหม่ หรือ
ได้ ข้อสรุปความสั มพันธ์ น้ันได้
วิเคราะห์ ~สั งเคราะห์
ได้
ได้
แกงส้ มที่อร่ อย
คนทัว่ ไปรู้จัก
ภูมิปัญญาแกงส้ม .....
ทาได้ ดมี ีฝีมือ
แกงส้ ม
เผยแพร่ คนยอมรับ
เลื่องลือเป็ นอาหารดัง
ในท้องถิ่น
สังเคราะห์ Synthesis
ได้
รู้องค์ ประกอบ
ของแกงส้ ม
วัตถุประสงค์
แกงส้ ม
วิเคราะห์ Analysis
เอาเครื่ องแกง
องค์ประกอบ
โขลกผสมลงหม้อแกง
รู้และไปหา วัตถุดิบ
พริ ก ตะไคร้ ผัก ปลาฯลฯ
หลักการ
วิเคราะห์
หลักการวิเคราะห์
1. กาหนดจุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์ ให้ ชัดเจน
2. แจกแจงส่ วนประกอบต่ างๆ ของสิ่ งที่วเิ คราะห์ เช่ น
* เนือ้ หาประกอบด้ วยอะไรบ้ าง โดยแยกเนือ้ เรื่อง
ออกเป็ นส่ วนๆ ให้ เห็นว่ า ใคร ทาอะไร ที่ไหน
เมื่อไร และอย่ างไร
* ประกอบกันอย่ างไร หรือประกอบด้ วยอะไรบ้ าง
หลักการวิเคราะห์ (ต่ อ)
3. แยกแยะความแตกต่ างระหว่ างสิ่ งหนึ่งกับสิ่ งอืน่ ๆ
* วิเคราะห์ แยกแยะ โดยวินิจฉัยให้ เห็นข้ อแตกต่ าง และทาให้
ข้ อแตกต่ างนั้นเด่ นขึน้ มา
4. ค้ นหาเหตุและผลของสิ่ งทีเ่ กิดขึน้
* ค้ นหาว่ า เรื่องนั้นเกิดมาจากสาเหตุใด เชื่อมโยงสั มพันธ์ กนั
ได้ อย่ างไร สมเหตุสมผลหรือไม่
5. ตรวจสอบ/จัดโครงสร้ างความสั มพันธ์ ขององค์ ประกอบใหญ่
และองค์ ประกอบย่ อย
6. นาเสนอผลการวิเคราะห์ ให้ เข้ าใจได้ ง่าย
คาถามติดปาก เพือ่ การวิเคราะห์
(ปัจจุบัน)มันเป็ นอยู่อย่ างไร ?
มันเคยเป็ นอย่ างไร ?
มันเพราะอะไร ?
มันก่ อให้ เกิดผลอย่ างไร ?
แล้ วอนาคตแนวโน้ มเป็ นอย่ างไร ?
และจะทาอย่ างไรกันดี
ขั้นตอนการ
วิเคราะห์
ขั้นตอนการวิเคราะห์ ข้อมูล (การวิจัยเชิงคุณภาพ)
1. การสร้ างกรอบแนวคิด สาหรับการวิเคราะห์
– ขั้นก่อนเริ่มเก็บรวบรวมข้ อมูล
– ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้ อมูล
– ขั้นการวิเคราะห์ ข้อมูลเพือ่ สร้ างบทสรุป
2. การตรวจสอบข้ อมูล
– การตรวจสอบเพือ่ หาความเชื่อถือได้ ของข้ อมูล
– การตรวจสอบเพือ่ ดูความครบถ้ วนและคุณภาพของข้ อมูล
ข้ อมูลทีเ่ ป็ นความคิดเห็น หรือทัศนะของผู้ถูกสั มภาษณ์
ข้ อมูลทีเ่ ป็ นการให้ รายละเอียด หรือ เล่ าเหตุการณ์ (descriptive data)
ขั้นตอนการวิเคราะห์ ข้อมูล (การวิจัยเชิงคุณภาพ) (ต่ อ)
3. การจดบันทึกข้ อมูล (note taking)
– ทั้งขณะทีต่ รวจสอบข้ อมูลและหลังตรวจสอบข้ อมูล
4. การจัดแฟ้ มข้ อมูล (Establishing Files)
– แฟ้มจิปาถะ หรือสาหรับข้ อมูลทัว่ ๆ ไป (Background Files)
– แฟ้มการวิเคราะห์ เบือ้ งต้ น (Analysis Files)
– แฟ้มงานสนาม (Fieldwork Files)
ขั้นตอนการวิเคราะห์ ข้อมูล (การวิจัยเชิงคุณภาพ) (ต่ อ)
5 การทาดัชนีข้อมูล (Indexing)
– ดัชนีบรรยาย (descriptive index) /พรรณนา
– ดัชนีความ (interpretive index) /ให้ รายละเอียดว่ าคืออะไร
– ดัชนีอธิบาย (explanatory index) /แสดงแบบแผนเหตุการณ์ ความ
เชื่อมโยง ความสั มพันธ์
6 การทาข้ อมูลสรุปชั่วคราวและการกาจัดข้ อมูล
7 การสร้ างบทสรุ ปและการพิสูจน์ บทสรุป
– การสร้ างบทสรุป
– การพิสูจน์ บทสรุป
สร ้างกรอบ
การวิเคราะห์
องค์ความรู ้
เชงิ เนือ
้ หา

มิตท
ิ างสงั คมวัฒนธรรม

มิตก
ิ ารเปลีย
่ นแปลง/สาเหตุ-ผลกระทบ

ั ้ และผลประโยชน์
มิตท
ิ างโครงสร ้างทางชนชน
มิตท
ิ างระบบภูมน
ิ เิ วศวัฒนธรรม
ฯลฯ

องค์ความรู ้เชงิ
กระบวนการจาก
การทางาน/การ
วิจัย
การวิเคราะห์ภมู ิ ปัญญา องค์ความรู้
วิธีการ
วิเคราะห์
วิธีวเิ คราะห์ ข้อมูลการวิจยั เชิงคุณภาพ
การจาแนกประเภทข้ อมูล (Typological Analysis)
คือ การแบ่ งสิ่ งต่ างๆ ออกเป็ นชนิด จัดพวก ประเภท
– การจาแนกชนิดข้ อมูลในเหตุการณ์ โดยใช้ ทฤษฎี
ฉากและบุคคล
พฤติกรรม
แบบแผนพฤติกรรม
ความสั มพันธ์
การมีส่วนร่ วม
ความหมาย
– การจาแนกชนิดข้ อมูลในเหตุการณ์ โดยไม่ ใช้ ทฤษฎี
จาแนกประเภท
จักลุ่มคา (ปัญหาการพัฒนา)
ขาดงบ
ชาวบ้านไม่รู้จกั องค์กร
จนท. ไม่ลงพื้นที่
ชาวบ้านมีทศั นคติ
ไม่ดีต่อ จนท.
ชาวบ้ าน
เจ้าหน้าที่
ขาดความรู ้ความมัน่ ใจ
องค์กรพัฒนา
ไม่มีแผนชัดเจน
การบริหารจัดการองค์ กร
เจ้ าหน้ าที่/ นักพัฒนา
จัดแยกประเภท
“ป่ า”
“ป่ าครอบครัว”
“ป่ าพ่อเฒ่ า”
“ป่ าผีปู่ตา”
“ป่ าชุมชน”
“ป่ าช้ า”
“ป่ าสวนดูซง”
“.......”
จาแนกขั้นตอน การพัฒนากลุ่ม
•พัฒนากลุ่ม
•ตั้งกลุ่ม
•เตรี ยมกลุ่ม
•พัฒนาผูน้ า
•สร้างผูน้ า
•ศึกษาชุมชน
•เตรี ยมทีม
วิเคราะห์ ความสั มพันธ์ (คน/เหตุการณ์)
นาย ข
นาย หัว
คนสนิท
ลูกหนี้
นาย ทุน
เงินกู้
นาย ก
ผญบ.
ญาติ
ลูกจ้าง
เพื่อน
นาย ค
เพื่อน
นาย จ
สามี
นาง ง
ม.ศิลปากร
จังหวัด
อบต.
กรมทะเล ผู้นาชุมชน
มสธ.
กลุ่มธุรกิจ
ชุมชน
ม.เกษตร
กลุ่ม
อนุรักษ์
ภาคีการจัดการ รสทช
ปราชญ์ การท่ องเทีย่ วชุมชน
วัด
ชาวบ้ าน
โรงเรียน เยาวชน
บริษัท
องค์ กร
เอกชน
ททท.
GVI
พอช.
NGO
CHARM
แบบแผนวิธีการเข้ าสู่ เศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นตอน
การขยายผล
ขั้นตอน
การดารงไว้
ตามแนวทาง
ขั้นตอน
การเข้ าสู่ เศรษฐกิจ
พอเพียง
 คุย/เวที
 ศึกษาชีวติ จริง
 เชื่อมฐานเดิม




กลุ่ม เครือข่ ายเวที
เชื่อมคน สื่ อสาร
หาแนวทางใหม่
กัลยาณมิตร เข้ าใจ กาลังใจ




ตอกยา้ ตามติด ● เรียนรู้ สรุป
ปรับตัว เท่ าทัน ● เชื่อม เศรษฐกิจ จิตใจ
ศึกษาวิจัย
● แบบอย่ าง ต้ นแบบ
สร้ างวัฒนธรรมใหม่ ดารงวัฒนธรรมเดิมที่ดงี าม




ยกปัญหา วิกฤติมาเรียนรู้
คนจุดประกาย
ศึกษาตนเอง
คิดวิเคราะห์ ร่วม
แนวทางการพัฒนา
ระดับครัวเรือน
แนวทางการพัฒนา
ระดับชุมชน
- ปรับใช้ เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม
- เลือกใช้ เทคโนโลยีต้นทุนต่าพึง่ พาตนเองได้
จัดการได้
- จัดระบบการผลิตอย่างยัง่ ยืน
- ลดรายจ่ ายในครัวเรือน
- หาแนวทางเพิม่ รายได้ ทเี่ หมาะสม
- เพิม่ มูลค่ าผลผลิต / แปรรู ป
- ใช้ ทรัพยากรในครัวเรือน
- จัดการดิน นา้ สิ่ งแวดล้อมทีเ่ หมาะสมในฟาร์ ม
-
มีเป้าหมายชี วติ ทีถ่ ูกต้ อง ดีงาม
ใฝ่ ธรรมะ
ขยัน ซื่อสั ตย์ เป็ นธรรม
มีจิตสาธารณะ
- สั งคมครอบครัวทีเ่ ข้ มแข็ง
- บ่ มเพาะเด็ก / เปิ ดโอกาสสตรี
T
- เรียนรู้ เทคโนโลยี
- สร้ างเทคโนโลยีใหม่ ร่วมกัน
- มีแหล่ งสมาชิ กในชุ มชน
E
- สร้ างฐานทุนชุ มชน
- ส่ งเสริมวิสาหกิจชุ มชน
- การจัดการตลาด
R
M
S
- อนุรักษ์ ฟื้ นฟู จัดการทรัพยากรอย่ างยัง่ ยืน
- กาหนดกฎเกณฑ์ ในการจัดการ
- วัฒนธรรม ชุ มชน
- มีศูนย์ รวม จิตใจ
- ตัดสิ นใจร่ วมกันด้ วยเหตุและผล
-
รวมกลุ่ม และเครือข่ าย
เรียนรู้ ร่วมกัน / เวทีชาวบ้ าน
สื่ อสารทัว่ ถึง
สร้ างและพัฒนาผู้นา
สร้ างสวัสดิการชุ มชน
ภาพ แนวทางการพัฒนา ระดับครัวเรือนและชุ มชน
ขั้นตอน
10. ขยาย
ผล
9. สรุ ปบทเรียน
8. ปฏิบัติการวิจัย
พัฒนา
7. จัดทาโจทย์ แนวทางและ
แผนพัฒนา
6. สร้ างทางเลือก
5. ศึกษาศักยภาพความ
ต้ องการ
4. ร่ วมศึกษาวิเคราะห์ สถานการณ์
3. เตรียมชุ มชน
2. เตรียมทีมนักวิจัยภายนอก / ชาวบ้ าน
1. ประสานหน่ วยงาน
- ขยายผล กิจกรรมอื่นๆ เพิ่มเติม
- ขยายผลไปยังองค์กรอื่นๆ
วิธีการ
- ขยายผลไปยังชุมชนอื่นๆ
- จัดตั้งศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชน
-จัดเวทีสรุ ปผลการปฏิบตั ิงานร่ วมกับชุมชน - ถอดความรู้ องค์ความรู้ จากการ
ปฏิบตั ิงานทุกระยะ - ประชุมเสนอผลต่อหน่วยงาน องค์กรต่างๆ
- คืนความรู ้สู่ชุมชนโดยการจัดเวทีในชุมชน
- ดาเนินการตามแผน
- ปรับแผน เสนอแผนเพิ่มเติม
- ประสานหน่วยงาน องค์กรที่เกี่ยวข้องในการปฏิบตั ิ
- ดาเนินการก่อตั้งกลุ่ม / คณะทางาน รับผิดชอบงาน
- กาหนดโจทย์วจิ ยั PAR
- กาหนดแนวทาง และยกร่ างแผนปฏิบตั ิการ
- ประชุมเสนอ และวิจารณ์แผน โดยชุมชนและภายนอก
- จัดทาแผนสมบูรณ์แต่ละด้าน พร้อมผูร้ ับผิดชอบ
- จัดศึกษา ดูงานกรณี ต่างๆ
- เชิญบุคคลภายนอกให้ขอ้ มูลเปิ ดประเด็น
- ร่ วมวิเคราะห์กาหนดทางเลือก - ประเมินทางเลือกที่เหมาะสมกับพื้นที่
- ศึกษา ประเมินศักยภาพชุมชนด้านต่างๆ - วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส
อุปสรรค
- กาหนดสถานที่พึงประสงค์ร่วมกัน
- ศึกษาสถานการณ์ดา้ นต่างๆ จากข้อมูลทุติยภูมิ - ศึกษาข้อมูลปฐมภูมิร่วมกัน
- ประชุมสมาชิกชุมชน
- จุดประกายความคิดให้แก่สมาชิกโดยใช้กรณี ศึกษาต่างๆ
- ชี้แจงวัตถุประสงค์ กระบวนการทางาน PAR - เสนอกรณี ศึกษา PAR เป็ นตัวอย่าง
- วางตัว กาหนดบทบาทนักวิจยั ภายใน-นอก และนักวิจยั ชาวบ้าน
- ประชุมหารื อ สร้างความเข้าใจร่ วมกัน - ประสานหน่วยงาน องค์กร กลุ่ม ภายในนอกชุมชน - จัดช่องทางการสื่ อสาร - สร้างกลไกการทางานร่ วมในรู ปคณะทางาน
ข้ อเสนอแนะด้ านกระบวนการวิจัยเชิ งปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วมแบบบูรณาการ
พัฒนาการองค์ กรชาวบ้ าน
ระยะขยายเครือข่ าย
ระยะการขยาย
สมาชิก / กิจกรรม
ระยะการก่อตั้ง
ระยะการเตรียมการ
ก่อเกิด
วิธีการในส่ วนชุ มชน / องค์ กร
วิธีการในส่ วนของ
นักพัฒนา
- จัดเวทีพูดคุยระหว่างกลุ่ม / ชุมชน
- เยีย่ มเยียนเครือข่ าย
- กาหนดแผนงานกิจกรรมของเครือข่ าย
- จัดเวทีสัญจร
- เชื่อมกลุ่ม/ชุมชน
- จัดเวทีร่วม
- สนับสนุนกิจกรรมเครือข่ าย
- ให้ ข้อมูล แก่เครือข่ าย
- กิจกรรมประเมินสรุปบทเรียน
-จัดเวทีพูดคุยกับชุมชน
-- ขยายกิจกรรมที่จาเป็ นกับสมาชิก
- ประชาสัมพันธ์ สื่อสารหาเพือ่ น
- สนับสนุนกิจกรรม
- ร่ วมสรุปบทเรียน
- ประสานภาคีเพิม่
- ติดตามให้ กาลังใจต่ อเนื่อง
- หาสมาชิก - ทาความเข้ าใจ ปัญหา/
ทางออก - กาหนดกฎเกณฑ์ กติกา
- จัดโครงสร้ างองค์กร - กาหนดกิจกรรม
- ให้ ข้อมูลเพิม่ เติม
- จัดเวทีเรียนรู้ ดูงาน
- ประสานภาคีเพิม่
- หาผู้สนใจ
- ระบุปัญหา
- ศึกษาชุมชน/องค์กร
- จุดประเด็น
- เสนอข้ อมูล
- คุยในวงย่ อย
- กระตุ้นความสนใจ
พัฒนาการและวิธีการพัฒนาองค์ กรชาวบ้ าน
oช่ องทางการสื่ อสารกับสมาชิ ก
oความคาดหวัง
oบทเรียนทีส่ าเร็จ
oอิทธิพล/ระบบอุปถัมภ์
oการติดตามของภาคีร่วม
oการเมืองท้องถิ่น
oความไม่
เข้ าใจต่ อปัญหา
oผู้นาไม่ สนใจ
oการสื่ อสาร
oบทเรียนความ
ล้มเหลวจากอดีต
ระยะ 2
ก่ อตั้ง/ ก่ อเกิด
ระยะ 1
เตรียมการ
ปัญหา การบริหาร
องค์ กรชาวบ้ าน
ระยะ 3
ดารงอยู่
ระยะ 4
ขยายตัว
oความเข้ าใจร่ วมกัน
oการกระจายงาน
oการพบปะทีต่ ่ อเนื่อง
oผลทีไ่ ด้ รับ
oการประชาสั มพันธ์
ปัญหาในการบริหารองค์ กรชาวบ้ านแต่ ละระยะ
oการจัดการ
เวลา
oผู้นารุ่นใหม่
oการสร้ างความเข้ าใจ
oการติดตามผล
oความซื่อสั ตย์
oการรักษากฎระเบียบ
oบรรยากาศในกลุ่ม
วิเคราะห์ การมีส่วนร่ วมของ
STH ในการจัดการป่ าชายเลน
ผู้มีส่วนได้ -เสี ย
ใคร?/กลุ่มไหน?
ได้ -เสี ย
อย่ างไร?
มีส่วนร่ วมในการจัดการ
อย่ างไร? ระดับใด?
รู ปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน
รู ปแบบที่ 1
(กองทุน)สวัสดิการชุ มชน
ต่ อยอดกลุ่ม
ฌาปนกิจ
หมู่บ้าน
กาไ
ร
เงินสมทบมาเป็ น
กองทุน
กองทุนหมู่บ้าน
ออมทรัพย์และ
องค์ กรการเงิน
ออมเงินสมทบราย
ปี / รายเดือน
รู ปแบบที่ 2
กองทุนสวัสดิการชุ มชน
สมาชิกกองทุน
หมู่บา้ นและกลุ่มออม
ทรัพย์ตอ้ งเป็ นสมาชิก
สวัสดิการชุมชน
กาไ
ร
เงินสมทบมาเป็ นกองทุน
(เป็ นเงินก้อนและจัดสรร
เป็ นเปอร์เซนต์จากผล
กาไร)
กองทุนหมู่บ้าน
ออมทรัพย์ และ
องค์ กรการเงิน
ออมเงินสมทบรายปี
/ รายเดือน
รู ปแบบที่ 3
เงินสงเคราะห์
สสว. 8
กองทุนสวัสดิการชุ มชน
เงินปันผล
ออมทรัพย์
ออมเงินสมทบ
รายปี / รายเดือน
การอภิปราย
สัมมนา
การสืบทอดทาง
วัฒนธรรม
การบูรณาการเชิงวิธีการ
การจัดเวที
การประชุม ชี้แจง
ชุมชน
การใช้ สื่อ บุคคล ภาพ
การบูรณาการเชิงเนือ้ หา
VCD เอกสาร
ด้ านการพัฒนากลุ่ม
และเครือข่ าย
ด้ านการพัฒนา
ผู้นา สตรี และ
เยาวชน
รูปแบบการจัดการ
ความรู้ แบบบูรณา
การ
การวิจยั เชิง
ด้ านการจัดการทรัพยากร ดิน
ปฏิบัตกิ ารแบบมี
นา้ ป่ า และสิ่ งแวดล้อม
ส่ วนร่ วม
การประกวด
แข็งขัน
ด้ านการผลิต
ทางการเกษตร
ด้ านการ
จัดการทุน
การหารือ / พูดคุยไม่
เป็ นทางการ
ด้ านการแปรรู ป
และหัตถกรรม
ด้ านการจัดการ
ตลาด
การบรรยาย
อบรม
รูปแบบการจัดการความรู้แบบบูรณาการ
การทัศนศึกษา
ดูงาน
การจัดสาธิตของ
จริง
ภาพ การพัฒนาแบบบูรณาการเพือ่ สนับสนุนชุ มชน
หน่ วยงาน
องค์ กร
- องค์กรรัฐ
- องค์กรเอกชน
- องค์กรท้องถิ่น
- องค์กรประชาชน
- ระดับเดียวกันและ
ระหว่างระดับ
- ของชาวบ้าน
- ของนักพัฒนา
- ของนักวิจยั
- ชาวบ้าน+นักพัฒนา+
นักวิจยั
เวลา
- กิจกรรมเรี ยนรู้
- กิจกรรมพัฒนา / จัดการ
- กิจกรรมแสวงหา ความรู้ (วิจยั )
กิจกรรม
พืน้ ที่
- ในพื้นที่เดียวกัน
- ระหว่างพื้นที่
การพัฒนาแบบ
บูรณาการ
-
เศรษฐกิจ
สังคม
จิตใจ
ทรัพยากรธรรมชาติ
มิติประเด็น
- เยาวชน/สตรี
- สมาชิกชุมชน
- แกนนา
- นักพัฒนา
- นักวิชาการ
-วัสดุ
-งบประมาณ
-ทรัพยากรอื่นๆ
คน
ทรัพยากรใน
งานพัฒนา
ปัจจัยที่เกีย่ วข้ องกับการบริหารองค์ กรชาวบ้ าน
ผู้นา
ความรู้ทกั ษะในด้านการ
จัดการ ระบบการเงิน การ
ประสานงาน
การเชื่อมโยงรู้จกั กับกลุ่มอื่น
บทบาทหน้าที่ที่ชดั เจน
การสื่ อสาร ในและนอกกลุ่ม
การสร้างผูน้ ารุ่ นใหม่
กฎระเบียบ
ความชัดเจน
การรับรู้ / รับทราบ /
ความเข้าใจ
ทุน ทรัพยากร ภูมิปัญญา
ความเหมาะสม
การจัดหา
การจัดสรร และใช้ประโยชน์
ปัจจัยที่เกีย่ วข้ องกับการจัดการความรู้
ผู้นา
เห็นความสาคัญ สนับสนุนอย่างจริ งจัง
ต่อเนื่อง
สร้างวัฒนธรรมความเชื่อใจและการ
แบ่งปันความรู ้
บรรยากาศและวัฒนธรรมการทางาน
ศึกษา ค้นคว้า เรี ยนรู ้ ตลอดชีวิต
ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น
พลังในการคิดสร้างสรรค์
ความขยัน อดทน
จิตสานึกของการเป็ น "ผูใ้ ห้"
จิตใจเป็ นประชาธิ ปไตย
เทคโนโลยีและกระบวนการ
เอื้อและสนับสนุนการทางานและการ
เรี ยนรู ้
เอื้อต่อการจัดการข้อมูล องค์ความรู ้
สะดวก รวดเร็ ว ใช้งานง่าย
การจัดการ
กาหนดทิศทาง
ทีมจัดการทาตามแผนงาน
แผนงานชัดเจน
แผนงานชัดเจน มาจากการทุกฝ่ าย
มีส่วนร่ วม
การสร้ างแรงจูงใจ
สร้างแรงเกื้อหนุนและจูงใจ ให้ผรู ้ ู ้
แบ่งปันหรื อถ่ายโอนองค์ความรู ้ดว้ ย
ความสมัครใจ
สมาชิก
เวลาที่ให้กบั กลุ่ม
การมีส่วนร่ วม
ความสมัครสมานสามัคคี
ทักษะในการประกอบ
อาชีพ
กิจกรรม / อาชีพ
ความสอดคล้อง
ความต่อเนื่อง
การต่อยอด
การประเมินผล
ระบุตวั ชี้วดั ที่ชดั เจน
การนาผลไปใช้ เพื่อสร้างแรง
ขับเคลื่อนให้เกิดการเรี ยนรู ้และมีส่วน
ร่ วมในการสร้างฐานความรู ้อย่าง
ความรู้ ทักษะ และขีดความสามารถ ต่อเนื่อง
ด้านการจัดการความรู ้
ด้านการใช้เทคโนโลยี
ผลประโยชน์
การสร้าง
การแบ่งปั น
ในชุมชน
นอกชุมชน
T
E
R
M
ภูมิปัญญา
ภายใน
ภายนอก
แก้ปัญหำ
กำหนด
แผน / กิจกรรม
S
การ
พึ่งตนเอง
กำหนด
วัตถุประสงค์
ภาพ แนวทางการพัฒนาแบบบูรณาการ
เพือ่ การพึง่ ตนเองของชุมชนอย่ างยั่งยืน
แผนภูมแิ สดงความต่ อเนื่อง
ตลาดในชุ มชน
ชาวประมง
พืน้ บ้ าน
แพปลา
ในชุ มชน
พ่อค้ าคนกลาง
ในเมือง
พ่อค้ าเร่
พ่อค้ าปลีก
ในตลาดสด
ผู้บริโภค
การวิเคราะห์ ข้อมูล (เชิงคุณภาพ) (ต่ อ)
การเปรียบเทียบข้ อมูล (Comparison)
การเปรียบเทียบข้ อมูล คือ การแสวงหา
ความเหมือนและความแตกต่ างทีม่ อี ยู่ใน
ลักษณะ (qualities) หรือคุณสมบัติ
(attributes) ของข้ อมูลตั้งแต่ สองชุดขึน้ ไป
เปรียบเทียบข้ อมูล
ผู้นา
สมาชิก
ทุน
กิจกรรม
กลุ่มที่ 1
ดี
มาก
มากพอ
ต่ อเนื่อง
กลุ่มที่ 2
ปานกลาง
น้ อย
ไม่ พอ
ต่ อเนื่อง
กลุ่มที่ 3
ไม่ ดี
น้ อย
ไม่ พอ
ไม่ ต่อเนื่อง
เปรียบเทียบทรัพยากรและสภาพแวดล้ อมชุมชน
กลุ่ม
ประเด็น
สวนและป่ า
สมบูรณ์
ได้ร่วมมือกันในการจัดตั้ง
กลุ่มอนุรักษ์ป่าขึ้น มี
กฎระเบียบในการจัดการ
ป่ าที่ทุกคนในชุมชนให้การ
ยอมรับและปฏิบตั ิตาม
สวนและนา้ สมบูรณ์
ไม่มีพ้นื ที่ป่าในชุมชน พื้นที่ใน
ชุมชนทั้งหมดเป็ นสวนไม้ยนื ต้น
ในบางพื้นที่มีการเก็บผลผลิต
จากธรรมชาติที่เป็ นคูคลองมา
บริ โภค
สภาพแวดล้อมส่ วนใหญ่เป็ น
สภาพแวดล้ อม มีปัญหาด้าน
สภาพแวดล้อมเช่นเดียวกัน สวนไม้ผล ไม่ค่อยมีปัญหาที่เกิด
แต่บา้ นสายเพชรมีปัญหา จากการใช้สารเคมี ส่ วนในเรื่ อง
ด้านสภาพอากาศที่เป็ น
การจัดการขยะส่ วนมากเป็ นการ
จัดการกันเองภายในครัวเรื อน
ฝุ่ นผง บ้านเปร็ ดในเป็ น
ปั ญหาในเรื่ องน้ าเสี ยที่เกิด
ในชุมชน
ป่ า
นาไร่
ชุมชนในกลุ่มนี้ไม่มีทรัพยากร
ป่ าไม้ที่จะสนับสนุนในการ
ดารงชีวิต หรื อถ้ามีกเ็ ป็ นพื้นที่
ป่ าละเมาะขนาดเล็ก พื้นที่ป่า
ไม่สมบูรณ์นกั
สภาพแวดล้อมโดยรวมของ
กลุ่มชุมชนนี้ไม่มีปัญหา
ยกเว้นบ้านหนองกระอิฐมี
ปั ญหามลภาวะเนื่องจากการ
ใช้ยาป้ องกันกาจัดศรัตรู พืชใน
การปลูกอ้อย ทาให้ละอองยา
ไปส่ งผลกระทบต่อพืชอื่นๆ
การวิเคราะห์ ข้อมูล (เชิงคุณภาพ) (ต่ อ)
การวิเคราะห์ ส่วนประกอบ
(Componential Analysis)
การวิเคราะห์ ส่วนประกอบ คือ การ
แสวงหาคุณสมบัตทิ เี่ กีย่ วข้ องกับเรื่อง
หรือ ชนิดต่ างๆ ของข้ อมูลอย่ างเป็ น
ระบบ
วิเคราะห์ ส่วนประกอบ (ผู้นาทีป่ ระสบความสาเร็จ)
อายุ
การศึกษา ฟาร์ ม สมาชิก ฐานะ
นายแดง
35
ป. 6
นายดา
40
มศ. 3
นายมี
37
ป. 4
ไม้ ผล
ปลา
ไม้ ผล
วัว
ไม้ ลวก
5
4
4
ดี
การดู
งาน
บ่ อยมาก
ปานกลาง บ่ อยมาก
ดี
ปานกลาง
องค์ ประกอบการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง
สอดคล้องปัญหา/วิถี เรี ยนรู้ใช้จริ ง
แหล่งเรี ยนรู้
อืน่ ๆ
วิถีชีวิต จิตใจ
รู้จกั ตนเอง
ติดตาม สรุ ป/ประเมิน
บทเรียนใหม่
องค์ ความรู้
ภายใน
องค์ ประกอบการเรียนรู้
ของชุ มชน
ผู้ร้ ู
องค์ ความรู้
ภายนอก
วิธีการ
สื่ อ
เสวนา/ประชุม/ถก/จับเข่า
การผลิต/แปรรู ป
กลุ่ม
จัดการ เงิน
สุ ขภาพ ทรัพยากร
ครอบครัวถ่ายทอด
ดูตวั อย่าง
คนจริ งเล่า
ทา/ทดลอง
เครื อข่าย
รัฐ/เอกชน
แหล่งอื่นๆ
ตารางเวลา (CHECKLISTS)
ตัวอย่าง
จัดเวทีทาแผนชุ มชน
(แต่ละศูนย์ทาจริ งต่างกัน? มีผลต่อการมีส่วนร่ วมของชาวบ้านในการทางาน)
วันที่ 1
เช้า
วันที่ 2
บ่าย
เช้า
วันที่ 3
บ่าย
เช้า
บ่าย
.................... .................... .................... .................... .................... ....................
.................... .................... .................... .................... .................... ....................
........
........
........
........
........
........
หมู่บา้ น ก
กรณีการนาเสนอสถานการณ์ของทรัพยากรชายฝั่ งอ่าวพังงา
ก่อน พ.ศ. 2500 ทรัพยากรชายฝั่ งมีความสมบูรณ์ ชาวบ้ านสามารถจับสัตว์น ้าได้ มาก
ปี 2504 - ปี 2533 มีการทาอวนลากเป็ นจานวนมาก มีการทาสัมปทานป่ าชายเลน
เพื่อการเผาถ่านและทาเหมืองแร่ ทาให้ ทรัพยากรสัตว์น ้าและป่ าชายเลนเสื่อมโทรม
ปี พ.ศ. 2535 มีการขยายตัวของการเพาะเลี ้ยงกุ้งในเขตชายฝั่ ง ทาให้ ชาวประมงพื ้นบ้ านเดือดร้ อนจาก
การเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝั่ ง ซึง่ มีผลทาให้ จบั สัตว์น ้าได้ น้อย
พ.ศ. 2537 เริ่ มมีองค์กรพัฒนาเอกชนลงมาทางานร่วมกับชาวบ้ าน มีการรวมกลุม่ กันของชาวประมง
เพื่อจัดการทรัพยากรชายฝั่ ง ทรัพยากรจึงเริ่ มฟื น้ ตัวและรัฐให้ ความสาคัญกับการดูแลทรัพยากรร่วมกับ
ชาวบ้ านมากขึ ้น ปี
พ.ศ. 2541 เริ่ มมีการทาการประมงทาลายล้ างด้ วยเครื่ องมืออื่นๆ อีก และยังมีการเข้ ามาจับสัตว์น ้า
ชายฝั่ งของเรื ออวนลากจากภายนอก ทาให้ ทรัพยากรชายฝั่ งบาง
ส่วนเสื่อมโทรม
ปี พ.ศ. 2545 รัฐได้ ยกเลิกการให้ สมั ปทานป่ าชายเลนในทาให้ สถานการณ์ป่าชายเลนบางส่วนดีขึ ้น
การดาเนินนโยบายของรัฐภายใต้ แนว
ทางการพัฒนากระแสหลัก น่ าจะมีผลต่ อ
วิถีคดิ ของชาวประมงที่กระทบต่ อแบบ
แผนการดารงชีวิต
ยุทธศาสตร์ การดาเนินงานของชาวบ้ าน
ในการจัดการทรัพยากรชายฝั่งในแต่ ละช่ วงเวลา
การพัฒนากระแสหลัก เศรษฐกิจระบบตลาดเสรี สั มพันธ์
ต่ อวิถีคดิ ของกลุ่มคนทีเ่ กีย่ วข้ องกับการทาประมงทีก่ ระทบ
ต่ อแบบแผนการดารงชีวิต แต่ ชาวบ้ านไม่ ยอมจานนกับ
สถานการณ์ มีความพยายามร่ วมกันต่ อรองกับการพัฒนาที่
ไม่ เท่ าเทียม
วิธีวเิ คราะห์ ข้อมูลการวิจยั เชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์ จุดอ่ อน จุด
แข็ง โอกาส และอุปสรรค
(SWOT Analysis)
วิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค
(SWOT Analysis)
ปัจจัยภายใน
จุดแข็ง
จุดอ่ อน
ปัจจัยภายนอก
โอกาส
อุปสรรค
การวิเคราะห์วางแผนกลยุทธ์
S
รุก ลุย
รุก ระวัง ป้องกัน
O
T
รับ/ปรับในองค์ กร ถอย/เลิก
W
•ใช้ จุดแข็ง
•ปิ ด จุดอ่ อน
•หา โอกาส (ฉวย)
•ระวัง อุปสรรค (แก้ )
ปรับภายใน
ควบคุมภายนอก
วิธีวเิ คราะห์ ข้อมูลการวิจยั เชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์ ความเป็ น
เหตุ เป็ นผล
เครือข่ ายของเหตุผล (การลดลงของสัตว์นา้ )
แข่ งขันขัดแย้ ง
รายได้ น้อย
การลดลง
ของสั ตว์ ทะเล
การละเมิดกม.
การบังคับใช้ กม.
แนวเขตไม่ ชัด
ไม่ ได้ ผล
แหล่งเพาะพันธุ์ถูกทาลาย
องค์ กรชาวบ้ าน
อ่อนแอ
สาเหตุ
รากเหง้ าปัญหา
องค์ กรชุ มชนไม่ เข็มแข็งในการจัดการทรัพยากร
ชุ มชนถูกริดรอนสิ ทธิ
และขาดโอกาสในการจัดการ
นโยบายรัฐไม่ ตระหนัก
ถึงสิ ทธิชุมชน
ในการจัดการทรัพยากร
ผู้นาไม่ ได้ รับการพัฒนา
ความสู ญหายของ
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
ภูมิปัญญาท้ องถิ่น
ไม่ ได้ รับการยอมรับ
ระบบการศึกษา
ไม่ สอดคล้องกับ
ความต้ องการและ
วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ผลกระทบที่เกิดขึน้
คุณภาพชีวติ ความเสื่ อมโทรมของทรัพยากร
พึง่ พิงภายนอก
ต้ องหาเงินจากทางอืน่
ปลูกพืชเชิงเดี่ยว
การจัดการทรัพยากรไม่ ยงั่ ยืน
การรุกแย่ งชิง
จากภายนอก
ชุ มชนไม่ สามารถควบคุม
จัดการทรัพยากรได้
องค์ กรชุ มชนไม่ เข็มแข็งในการจัดการทรัพยากร
แผนภูมิก้างปลา
สาเหตุใหญ่ 3
สาเหตุใหญ่ 3
สาเหตุใหญ่ 3
สาเหตุยอ่ ย
สาเหตุยอ่ ยๆ
สาเหตุใหญ่ 3
สาเหตุใหญ่ 3
ข้ อคิด
–
–
–
–
หาสาเหตุให้ สอดคล้ องกับปัญหา
ก้ างปลาดีมเี หตุย่อยมาก
อย่ าสรุปเมือ่ พบเพียงบางสาเหตุ
อย่ าใช้ อาการเป็ นสาเหตุ
สาเหตุใหญ่ 3
ปรากฏการณ์
1. ปัญหา
ให้ อาหารเสริม
เด็กขาดสารอาหาร
2. รูปแบบ Pattern
เปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภค
อาหารที่กนิ พฤติกรรม
การบริโภค
ปัญหาเชิงโครงสร้ าง 3. ต้ องคิดสร้ างสรรค์ แก้ ไข พัฒนาเศรษฐกิจ สั งคม
เชิงโครงสร้ าง (Structure)
ปัญหารูปแบบ
ปัญหาวิธีคดิ
4.โลกทัศน์ ความคิด และวิธีคดิ
(Mental Model)
สร้ างคนให้ เข้ าใจ
สานึก ตระหนัก
ภูเขานา้ แข็งของปัญหา และการแก้ ทรี่ ากเหง้ า-การมองทั้งระบบ
จัดเวทีสรุปบทเรียนและบทวิเคราะห์ เบือ้ งต้ น
วิเคราะห์– สังเคราะห์ วันที่ ............
ผูร้ ่ วมวิเคราะห์ ......................................
ทาอะไร
เมือ่ ไร
อย่ างไร
ทาไม
(กิจกรรม/
กระบวนการ)
ใครทา
ใครร่ วม
แค่ ไหน
ผลทีเ่ กิด
เงือ่ นไข
ปัญหา
Output
ปัจจัยที่
ข้ อสงสั ย
Outcome เกีย่ วข้ อง ทีม่ อี ยู่
Impact + หนุน/
-
ขัดขวาง
บทสรุ ป
ข้ อคิดเห็น
ข้ อเสนอ
ข้ อสั งเกต
อืน่ ๆ
เราควรจะ
ทาอะไรต่ อไป
อย่ างไร และ
เพือ่ อะไร
1.จะสื่ ออะไร
1.กาหนด
วัตถุประสงค์
ในการวิเคราะห์
ให้ ชัดเจน
Problem tree
แผนภูมิก้างปลา
ตารางวิเคราะห์
3.วิเคราะห์ อย่ างไร
Mind map
Concept map
ภูเขานา้ แข็ง
ส่ วนประกอบ
การเปลีย่ นแปลง วิเคราะห์
ความสัมพันธ์
ความต่ อเนื่อง
จาแนก/องค์ประกอบ
เปรียบเทียบข้ อมูล
จัดหมวดหมู่
2.วิเคราะห์ อะไร
วิเคราะห์ SWOT
ข้ อพิจารณา
1. ศึกษาเอกสาร สถานการณ์ ต่างๆ ล่วงหน้ าให้ เข้ าประเด็นต่ างๆ ก่อนเริ่มงาน
2. ปรับกรอบความคิดให้ เข้ ากับสถานการณ์ ทบทวนสิ่ งทีต่ ้ องทา บทบาท
นักวิจัย ให้ เหมาะสม ยืดหยุ่นกับสถานการณ์ และการทางานกับคนหลายฝ่ าย
3.
กาหนดโครงสร้ างการมีส่วนร่ วม (สาคัญ) กาหนดให้ ชัดว่ าใครเกีย่ วข้ อง มี
บทบาทอะไร (ลดความขัดแย้ ง ช่ วยทาความเข้ าใจ)
4. รวบรวมข้ อมูล วิเคราะห์ ตีความ (ในแต่ ละระยะ) ศึกษารวบรวม สรุป เขียน
ไป ไม่ ให้ สะสมหรือลืม
5. เขียนรายงานถึงสิ่ งทีท่ า สิ่ งทีอ่ ยากนาเสนอ สิ่ งทีค่ ้ นพบ พร้ อมเหตุผล
ประกอบทีช่ ัดเจน (ข้ อสรุป ,Model วิธีการ ฯลฯ)
•คนเก็บข้ อมูล
•คนวิเคราะห์ ข้อมูล
เป็ นคนกลุ่มเดียวกัน
•คนใช้ ผล
คนในเป็ นหลัก
คนนอกหนุน
บทบาทหลักร่ วมกัน
ทา
สั งเกต
บันทึก
วิเคราะห์
สั งเคราะห์
สรุป
สงสั ยไม่ มคี าตอบ
ข้ อมูล
โจทย์ /คาถาม
•ตัวเลข + - × ÷
•ไม่ ใช่ ตวั เลข ตัวหนังสื อ คาพูด ภาพ
~เปรี ยบเทียบ ~หาความสัมพันธ์
~ความหมาย ~จัดหมวดหมู่
~หาเหตุผล ~SWOT
ฯลฯ
วัตถุประสงค์ การวิจัย
วิธีการได้ ข้อมูล
•ทดลอง
•จัดเวที
•สังเกต
•สัมภาษณ์
•เดินสารวจ
•PRA
ข้ อมูล
เครื่องมือเก็บข้ อมูล
•แบบสังเกต
•แบบสัมภาษณ์
•แบบบันทึก
•แบบmind map
•แบบPRA
วิเคราะห์
สั งเคราะห์
•ได้คาตอบโจทย์
•สร้างความรู้