Powerpoint 1 - cyberlab.lh1.ku.ac.th

Download Report

Transcript Powerpoint 1 - cyberlab.lh1.ku.ac.th

การใช้ โปรแกรม Arc View 3.1
การเข้ าสู่ โปรแกรม Arc View 3.1
เมนู Start > Program > ESRI > ArcView GIS 3.1 > ArcView GIS 3.1 ซึ่งจะ
ปรากฏหน้ าต่ าง Welcome to ArcView GIS ดังรูป
สามารถเลือกวิธีการเข้ าสู่ Projects ได้ หลายวิธี ตามทีผ่ ู้ใช้ ต้องการ
ส่ วนประกอบหลักของ Arc View 3.1
Arc View จะใช้ หน้ าต่ าง Projects เป็ นตัวควบคุมหลักในการทางานทั้ง
ระบบของโปรแกรม ซึ่งในหน้ าต่ าง Projects นีจ้ ะใช้ เก็บแฟ้มข้ อมูลต่ างๆ
เอาไว้ ประกอบด้ วย Views, Tables, Charts, Layouts และ Scripts รวมทั้ง
การเปิ ดปิ ด Projects อืน่ ทีม่ อี ยู่ด้วย เมนูบาร์ และทูลบาร์ ของหน้ าต่าง Projects
หน้ าต่ าง Projects
ปุ่ มคาสั่ง Projects
ประเภทแฟ้มข้ อมูล
ภายใน Projects
สารบัญข้ อมูลของ
แต่ ละแฟ้มข้ อมูล
เมนูบาร์ และทูลบาร์ จะเปลีย่ นแปลงไปตามหน้ าต่ างแฟ้ มต่ างกันไป ดังรู ป
ตัวเมนูบาร์ และทูลบาร์ เมื่ออยู่ที่การทางานของ
หน้ าต่ างแฟ้ม Views
ตัวเมนูบาร์ และทูลบาร์ เมื่อ
อยู่ที่การทางานของหน้ าต่ าง
แฟ้ม Tables
ตัวเมนูบาร์ และทูลบาร์ เมื่ออยู่ที่การทางานของ
หน้ าต่ างแฟ้ม Layouts
ตัวเมนูบาร์ และทูลบาร์ เมื่ออยู่
ที่การทางานของหน้ าต่ าง
แฟ้ม Scripts
การจัดเก็บบันทึกและเรียกใช้ งาน
ฐานข้ อมูลด้ วย Projects
การสร้ าง Projects ใหม่
เมนู File > New Project ดังรู ป
การเปิ ด Projects ทีม่ อี ยู่แล้ ว
1. เมนู File > Open Project
2. เลือก Directories ทีใ่ ช้ เก็บข้ อมูลเลือก File Name ทีต่ ้ องการเรียก
ใช้ งาน แล้ ว Click ทีป่ ุ่ ม OK
1. เมนู File > Open Project
2.1 เลือก File Name ที่ต้องการ
2.2 Click mouse
การ Save Projects
เมนู File > Save Project หรือกดทีป่ ุ่ ม
บนทูลบาร์
เมนู File > Save Project
หมายเหตุ สามารถ Save ข้ อมูลจากหน้ าต่ าง แฟ้ ม Views หรือ หน้ าต่ างแฟ้ มอืน่ ๆ ได้ เช่ นกัน
การ Save Projects ด้ วยชื่ออืน่
1. เมนู File > Save Project As
2. เลือก Directories ทีต่ ้ องการใช้ เก็บข้ อมูลตั้งชื่อ File Name ที่
ต้ องการจัดเก็บแล้ ว Click ทีป่ ุ่ ม OK
1. เมนู File > Save Project As
2.1 ตั้งชื่อ File Name ที่ต้องการจัดเก็บแล้ว
2.2 Click mouse
การปิ ด Projects
เมนู File > Close Project หรือ กดทีป่ ุ่ ม
ด้ านขวาของหน้ าต่ าง Projects
มุมบน
เมนู File > Close Project
Click mouse
โปรแกรมจะสอบถาม
ความแน่ ใจ
หมายเหตุ ในกรณีที่ปิด Projects โดยไม่ มีการบันทึกข้ อมูลก่อนหน้ านี้ โปรแกรมจะสอบถามความแน่ ใจ
โดย Yes คือ Save ก่อนเปิ ด Projects, No คือ ไม่ Save และ Cancle คือยกเลิกในกรณีเกิดการผิดพลาดขึน้
การออกจากโปรแกรม Arc View
เมนู File > Exit หรือ กดทีป่ ุ่ ม
เมนู File > Exit
มุมบนด้ านขวาของหน้ าต่ างโปรแกรม
Click mouse
โปรแกรมจะสอบถาม
ความแน่ ใจ
หมายเหตุ ในกรณีที่ปิดโปรแกรมโดยไม่ มีการบันทึกข้อมูลก่อนหน้ านี้ โปรแกรม จะสอบถามความแน่ ใจ
โดย Yes คือ Save ก่อนเปิ ด Projects, No คือ ไม่ Save และ Cancle คือยกเลิกในกรณีเกิดการผิดพลาดขึน้
การกาหนดสี สาหรับการคัดเลือกข้ อมูล
ในการสอบถามหรือคัดเลือกข้ อมูลด้ วย Arc View จะแสดงผลของการสอบถาม
หรือคัดเลือก ด้ วยการเปลีย่ นสี ให้ เป็ นสี ทกี่ าหนด (Select Color) ไว้ ใน Project Properties
ทั้งในตารางข้ อมูลและในข้ อมูลรู ปภาพทีแ่ สดง เพือ่ ให้ เกิดความชัดเจนของข้ อมูลทั้งหมดที่
แสดง มีวธิ ีการกาหนด Select Color ดังนี้
1. เมนู Project > Properties
2. เลือกทีป่ ุ่ ม Selection Color
3. เลือกสี ทตี่ ้ องการ และหากต้ องการปรับความเข้ มของสี ให้ กดปุ่ ม Custom แล้ วปรับสี
ตามต้ องการเมือ่ ได้ ตามต้ องการแล้ ว กดปุ่ ม OK บนหน้ าต่ าง Color Picker
4. จากนั้นกดปุ่ ม OK อีกครั้ง บนหน้ าต่ าง Project Properties
1. เมนู Project > Properties
2. Click mouse
3.1 เลือกสีที่ต้องการ
3.2 Click mouse
4. Click mouse
แสดงและสอบถามข้ อมูลเชิงพืน้ ทีด่ ้ วย Views
หน้ าทีแ่ ละการเข้ าสู่ Views
Arc View จะใช้ หน้ าต่ าง Views เป็ นตัวแสดงข้ อมูลภาพทั้งหมดรวมถึงการแก้ ไข
ตรวจสอบ ค้ นหา และแสดงผลการวิเคราะห์ ทไี่ ด้ จากแหล่ งข้ อมูลต่ างๆ ซึ่งจะถูกจัดเก็บไว้
ภายในหน้ าต่ าง Projects
ดังนั้นเมือ่ จะเข้ าสู่ Views ใดๆ ก็ตามจะต้ องกลับไปสู่ หน้ าต่ าง Projects ก่ อนทีจ่ ะทา
การเปิ ดหน้ าต่ าง Views ทีต่ ้ องการขึน้ มาใหม่ ทุกครั้ง ดังรูป
1. เลือกแฟ้ มข้ อมูลประเภท Views ในหน้ าต่ าง Projects
2. กดปุ่ ม New เพือ่ สร้ างหน้ าต่ าง Views ใหม่ หรือเลือกชื่อข้ อมูลเดิมทีม่ อี ยู่แล้ ว เพือ่ ตรวจสอบแก้ ไข
และเพิม่ เติมในรายละเอียด จากทีม่ อี ยู่เดิม และกดปุ่ ม Open เพือ่ ดาเนินการตามขั้นตอนอืน่ ๆ ต่ อไป
1. เลือกแท็บ Views
2.1 กดปุ่ ม New เพือ่ สร้ างหน้ าต่ างใหม่ หรือเลือกชื่อข้ อมูลเดิมทีม่ ีอยู่เดิม
2.2 หน้ าต่ าง View
ส่ วนประกอบหลักของหน้ าต่ าง Views
View-menu bar
View-tool bar
View-button bar
Legend
Work area
ใช้ เก็บคาสั่ งหลักทีส่ าคัญของการแสดงภาพด้ วย View คาสั่ งเหล่ านีจ้ ะ
เปลีย่ นแปลงไปตามหน้ าต่ างข้ อมูลต่ างๆ
เป็ นแถบเครื่องมือทีเ่ กีย่ วข้ องกับการแสดงภาพบน View
เป็ นแถบปุ่ มเครื่องมือช่ วยในการทางานในการเพิม่ รายละเอียดของภาพ
และใช้ ในการบอกค่ ามาตราส่ วนของภาพทีแ่ สดงอยู่บนหน้ าจอภาพ และ
ค่ าพิกดั ทีต่ ้ังอ่ านได้ เมืเ่ ทียบกับพืน้ ผิวโลกจริง
เป็ นพืน้ ทีส่ าหรับแสดงให้ ร้ ูว่าใน View ทีก่ าลังทางานอยู่ด้วยนั้น มี
Theme อะไรแสดงอยู่บ้าง ข้ อมูลนั้นแสดงผลอยู่หรือไม่ และแต่ ละ
Theme จัดอยู่ในตาแหน่ งทีเ่ หมาะสมหรือไม่
เป็ นพืน้ ที่ทใี่ ช้ ในการแสดงภาพของ Theme ต่ างๆ ทีม่ อี ยู่ในลักษณะของ
การวางซ้ อนของแผ่ นใสรวมถึงการแสดงผลทีไ่ ด้ จากการสอบถามและ
คัดเลือกของข้ อมูลต่ างๆ ด้ วย
View-menu bar
View-button bar
Legend
Work area
View-tool bar
การดึงข้ อมูลภาพเพือ่ แสดงใน Views
มีวธิ ีการดังนี้
1. Click mouse ที่ Icon Add Theme บนเมนูบาร์ ทเี่ ปิ ดหน้ าต่ าง สาหรับเลือกข้ อมูลทีต่ ้ องการ
ใช้ งาน
2. เลือก Drive ทีจ่ ัดเก็บข้ อมูล
3. เลือก Directory ทีจ่ ัดเก็บข้ อมูล
4. เลือกชื่อข้ อมูล (Coverage) ทีต่ ้ องการ
5. เลือกประเภทของข้ อมูลทีต่ ้ องการ เช่ น ประเภทข้ อมูลทีเ่ ป็ นลักษณะเส้ น (Arc) ข้ อมูลพืน้ ที่
(Polygon) หรือข้ อมูลประเภทตาแหน่ งทีต่ ้งั (Point) โดย Click mouse ทีร่ ู ปแฟ้ มหน้ าชื่อข้ อมูล
จากนั้นกดปุ่ ม OK
หากต้ องการเลือกข้ อมูลหลายๆ อย่ างในครั้งเดียว ให้ กดปุ่ ม Shift ค้ างไว้ แล้ วจึงเลือกชื่อและ
ประเภทข้ อมูลทีต่ ้ องการ จนครบแล้ วกดปุ่ ม OK
1. Click mouse
4. เลือกชื่อข้ อมูลที่ต้องการ
5.1 เลือกประเภทของข้ อมูลที่
ต้ องการ
2. เลือก Drive
3. เลือก
Directory
5.2 Click mouse
การปรับแต่ งรายละเอียดข้ อมูลภาพ ใน Views
Legend Editor
เป็ นการแก้ ไขสั ญลักษณ์ ของภาพ เช่ นการเปลีย่ นสั ญลักษณ์ ของ
เส้ นแบ่ งเขตการปกครอง หรือสั ญลักษณ์ ของสถานทีต่ ้ังหน่ วยงานต่ างๆ
หรือสี ของพืน้ ที่ต่างๆ ในแผนที่ เป็ นต้ น
วิธีการทาดังนี้
1. Click mouse เลือก Theme ทีต่ ้ องการแก้ ไขให้ Active (เป็ นกรอบนูน)
2. Click mouse ทีป่ ุ่ ม Edit Legend บน Tool bar หรือ Double Click mouse ที่ Theme
3. เลือกประเภทของ Legend ทีต่ ้ องการใน Legend type
4. เลือกชื่อ Field ข้ อมูล (Values field) ทีต่ ้ องการ
5. เลือก Symbol ทีต่ ้ องการแก้ ไขให้ เป็ นแถบสี ดา
6. Click mouse ที่ Windows บน menu bar แล้ วเลือกที่ Show symbol windows หรือ Double
Click mouse ทีต่ ัว Symbol ทีเ่ ลือกก็ได้
7. เลือกประเภทรูปแบบของการแก้ ไขทีต่ ้ องการ เช่ น ประเภทเส้ น สี ตัวอักษร สั ญลักษณ์ หรือ
ลวดลายทีต่ ้ องการ
8. เลือกลักษณะสั ญลักษณ์ ทตี่ ้ องการ และเริ่มทาซ้าข้ อ 5 ใหม่ เพือ่ กาหนดลักษณะของ Symbol
อืน่ ๆ จนครบตามความต้ องการ
2. Click mouse
1. เลือก Theme
ที่ต้องการแก้ไข
3. เลือกประเภท
Legend
4.เลือกฟิ ลด์ ข้อมูล
6. เมนู Windowds > Show Symbol Windows
7. Click mouse
5. เลือก Symbol
8.เลือกลักษณะ
สัญลักษณ์ ที่
ต้ องการ
Zoom Editor
เป็ นการย่ อขยายภาพทีแ่ สดงในพืน้ ทีแ่ สดงภาพ โดยสามารถเลือกใช้
ได้ หลายวิธี โดยใช้ ปุ่มเครื่องมือใน Tool bar โดยมีรายละเอียดดังนี้
Zoom full to extent การแสดงภาพกลับไปเป็ นแบบเต็ม เท่ ากับขนาดของ Theme
ทีม่ ขี นาดใหญ่ ทสี่ ุ ดบน Legend ใช้ ในการดูภาพรวมของข้ อมูล
ทีม่ อี ยู่ท้งั หมดใน View นั้น
Zoom to active theme(s) เป็ นการแสดงกลับไปเป็ นแบบเต็มรายละเอียด เท่ ากับขนาด
ของ Theme ที่ Active ใช้ ในการดูภาพรวมของข้ อมูลทีม่ อี ยู่ภายใน
ขอบเขตของ Theme ที่ Active
Zoom to selected เป็ นการแสดงผลภาพเฉพาะข้ อมูลทีไ่ ด้ จากการคัดเลือก หรือค้ นหา
เพือ่ แสดงตาแหน่ งของข้ อมูลดังกล่ าว
Zoom in
เป็ นการขยายภาพขึน้ ในอัตราทีเ่ ท่ าๆ กัน
Zoom out
เป็ นการย่ อภาพในอัตราทีเ่ ท่ าๆ กัน
Zoom to previous extent เป็ นการย้ อนขนาดภาพกลับไปยังขนาดภาพเดิม ก่ อนทีจ่ ะมี
การเปลีย่ นแปลงภาพ
Zoom in
เป็ นการขยายขนาดภาพ
Zoom out
เป็ นการย่ อขนาดภาพ
Pan
เป็ นการเลือ่ นตาแหน่ งภาพ
Scale
ใช้ กาหนดมาตราส่ วนของแผนที่ทปี่ รากฏบนจอภาพ เพือ่ ประโยชน์ ในการ
คานวณพืน้ ที่ และการวัดระยะทาง การกาหนดคุณสมบัติของ View มี
ขั้นตอนดังนี้
1. Click mouse ทีค่ าว่ า View บน Menu bar แล้ วเลือก Properties…
2. เลือกหน่ วยของแผนที่ (Map Units)
3. เลือกหน่ วยของระยะทาง (Distance Units) ซึ่งจะต้ องเป็ นค่ าทีม่ รี ะดับ
เท่ ากันหรือใหญ่ กว่ า Map Units เพราะจะให้ การแสดงผลทีไ่ ด้ ตรงกับ
ความเป็ นจริง ซึ่งสามรถทดสอบได้ ด้วยวิธีง่ายๆ ดังนี้
1. เมนู View > Properties
3. เลือกหน่ วยของระยะทาง
(Distance Units)
2. เลือกหน่ วยของแผนที่
(Map Units)
1. Click mouse ที่ Icon Measure บน Button bar
2. ใช้ Mouse กาหนดจุดเริ่มต้ นและจุดสิ้นสุ ดในพืน้ ทีแ่ สดงภาพ บนหน้ าจอ
3. อ่ านค่ าทีไ่ ด้ จากการวัดระยะทางทีป่ รากฏใน Status Bar ทางด้ านล่ างของจอภาพ
1. Click mouse
3. อ่านค่าที่ได้ จาก
การวัดระยะทางที่ปรากฏ
2.ใช้ Mouse กาหนดจุดเริ่มต้ นและจุดสิ้นสุ ด
การสอบถามข้ อมูลเชิงพืน้ ทีบ่ น Views
Identify features
เป็ นการสอบถามข้ อมูลแผนทีด่ ้ วยการใช้ Mouse click ทีต่ ัว
ข้ อมูลทีต่ ้ องการสอบถาม เป็ นการสอบถามข้ อมูลอย่ างง่ าย
จากหน้ าจอภาพ ในกรณีทตี่ ้ องการดูข้อมูลคุณลักษณะเป็ น
บางจุดหรือบางพืน้ ที่ โดยไม่ จาเพาะเจาะจง ซึ่งมีข้นั ตอนดังนี้
1. เลือกชั้นข้ อมูลทีต่ ้ องการสอบถาม (Theme) โดย Click mouse บน Theme ที่
ต้ องการให้ Active(เป็ นกรอบนูน)
2. Click mouse ที่ Icon Identify บน Button bar
3. Click mouse ลงบนตาแหน่ งทีต่ ้งั หรือพืน้ ทีท่ ตี่ ้ องการสอบถามข้ อมูลบนจอภาพ
4. Arc View จะแสดงผลออกมาในรูปของตารางข้ อมูล (Identify Results) ตาม
ตัวอย่ างข้ างต้ น
2. Click mouse
4. ผลลัทธ์ การสอบถาม
1. เลือกชั้นข้ อมูล
3. Click mouse ลงพืน้ ที่ที่ต้องการสอบถาม
ข้ อมูลบนจอภาพ
Selected Features
เป็ นการสอบถามข้ อมูลแผนทีด่ ้ วยการใช้ Mouse ตีกรอบล้ อม
บริเวณข้ อมูลทีต่ ้ องการสอบถาม ใช้ ในการค้ นหาข้ อมูล
อย่ างง่ ายคล้ ายกับตัวอย่ างแรก แต่ สามารถสอบถามได้ ในจานวน
มากๆ ในครั้งเดียวกัน โดยจะปรากฏผลของการสอบถาม ใน
ตารางข้ อมูล มีข้นั ตอนดังนี้
1. เลือกชั้นข้ อมูลทีต่ ้ องการสอบถาม (Theme) โดย Click mouse บน Theme ที่
ต้ องการให้ Active(เป็ นกรอบนูน)
2. Click mouse ที่ Icon Select Feature บน Button bar
3. Click mouse ค้ างแล้ วลากเป็ นกรอบรอบบริเวณตาแหน่ ง หรือพืน้ ที่ ทีต่ ้ องการสอบ
ถามข้ อมูล
4. Arc View จะแสดงผลข้ อมูลออกมาในรูปขบบการเปลีย่ นสี ตามตัวอย่ างข้ างต้ น และ
ปรากฏแถบสี บนข้ อมูลคุณลักษณะ ทีอ่ ธิบายข้ อมูลภาพเหล่ านี้ ในตารางข้ อมูล
2. Click mouse
1. เลือกชั้นข้ อมูล
4. ผลลัพธ์ ภาพจะเป็ นสีเหลือง
3. ลาก Mouse บริเวณที่ต้องการสอบถาม
Query feature
เป็ นการสอบถามข้ อมูลแผนทีแ่ บบกาหนดเงือ่ นไขให้ กบั ข้ อมูลโดย
ใช้ ตารางข้ อมูล ลักษณะเช่ นนีจ้ ะใช้ ในกรณีทตี่ ้ องการคัดแยกประเภท
ข้ อมูลแบบจาเพาะเจาะจง ลงไปอย่ างใดอย่ างหนึ่งหรือหลายอย่ าง
ภายใต้ ช้ันข้ อมูล (Theme) เดียวกัน โดยจะมีข้นั ตอนทีซ่ ับซ้ อนขึน้
ซึ่งผลทีไ่ ด้ จะเป็ นไปตามเงือ่ นไขทีไ่ ด้ กาหนดให้ เท่ านั้น
1. เลือกชั้นข้ อมูลทีต่ ้ องการสอบถามข้ อมูล (Theme) โดย Click mouse บน
Theme ที่ต้องการให้ Active (เป็ นกรอบนูน)
2. Click mouse ที่ Icon Query builder
บน Tool bar
3. เลือก Fields ทีต่ ้ องการค้ นหา(Fields ทีถ่ ูกเลือกจะปรากฏใน List boxes ด้ านล่ าง)
4. เลือกประเภทของเงือ่ นไข
5. เลือกข้ อมูลทีต่ ้ องการแล้ ว Click mouse ทีป่ ุ่ ม New Set และปิ ดหน้ าต่ างนีโ้ ดย
Click mouse ทีป่ ุ่ ม มุมบนด้ านขวาของหน้ าต่ างนี้ จะสามารถแสดงเฉพาะ
ข้ อมูลภาพทีค่ ้ นหาตามเงือ่ นไข ออกมาได้
2. Click mouse
1. เลือกชั้นข้ อมูล
3. เลือกField
ที่ต้องการค้นหา
4. เลือกประเภทเงือ่ นไข 5.1 เลือกข้ อมูลที่เราต้ องการ
แล้วกดปุ่ ม New Set
5.2 ผลลัพธ์ ที่ออกมาหน้ าจอ
Select by theme
ลักษณะคล้ ายกับตัวอย่ างที่ สาม ต่ างกันตรงทีข่ ้ อมูลทีจ่ ะนามากาหนด
เงือ่ นไขนั้นเป็ นข้ อมูลในชั้นข้ อมูลอืน่ ๆ (other theme) ซึ่งจะทาให้ ได้
ผลทีแ่ ตกต่ างออกไปตามเงือ่ นไขทีก่ าหนดให้ น้ ันๆ มีข้นั ตอนดังนี้
1. เลือกชั้นข้ อมูลทีต่ ้ องการสอบถามข้ อมูล (Theme) โดย Click mouse บน Theme
ทีต่ ้ องการให้ Active (เป็ นกรอบนูน)
2. Click mouse ที่ Theme บนเมนูบาร์ แล้ วเลือก Select by theme
3. เลือกเงือ่ นไขที่ต้องการใน List boxes ของ Select features of active theme that
4. เลือกชื่อชั้นข้ อมูล (Theme) ทีใ่ ช้ กาหนดเงือ่ นไขใน List boxes ของ The selected
features of แล้ วกดทีป่ ุ่ ม New set
2. Click mouse
3. เลือกเงือ่ นไขที่ต้องการใน List boxes
4.1 เลือกชื่อชั้นข้ อมูล
1.1 เลือกชั้นข้ อมูลที่ต้องการสอบถาม
1.2 เลือกชั้นข้ อมูลที่ต้องการ Select
4.2 Click mouse
5. ผลลัพธ์ ที่
ออกหน้ าจอ