ห้องสมุดในอนาคต

Download Report

Transcript ห้องสมุดในอนาคต

ระบบห้ องสมุดในอนาคต
1
เทคโนโลยี Web 2.0
 เว็บทีส
่ ร้ างให้ ผ้ ูใช้ มสี ่ วนร่ วมในเนือ้ หา
 Goggle Ad Sense
 Flicker
 Goggle Suggest
 Goggle Maps
 A9
 Yahoo! News
2
เทคโนโลยี Web 2.0
3
Library 2.0
 ห้องสมุด 2.0 คือโปรแกรมของเทคโนโลยีเว็บที่เป็ นการ
สื่อสารสองทาง เป็ นมัลติมีเดียและเป็ นความร่วมมือกัน
ระหว่างผูใ้ ช้งานกับบริการและทรัพยากรห้องสมุดผ่าน
เทคโนโลยีเว็บ เป็ นชุมชนใหม่ของผูใ้ ช้ห้องสมุด
 องค์ประกอบ
– User-Generated Content
– Bookmarking and Recommendation System
4
Library 2.0
Blog
ตัวอย่ าง Library 2.0
1. North Carolina State University
2. TCDC
5
Library 2.0
6
Library 2.0
7
Library 2.0
8
9
Web 2.0/Library 2.0 and ILS
มีการพัฒนาระบบให้เชื่อมโยงกับ web 2.0
สามารถทางานได้หลากหลายมากยิ่งขึน
้
– OPAC 2.0
– RSS service
– การยืมหนังสือ
10
11
12
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)



ห้องสมุดที่มีการจัดหาหรือสร้างข้อมูล Information
contents ให้เป็ น Digital objects
ห้องสมุดที่มีการจัดการข้อมูลในรูปแบบดิจิตอลที่
เรียกว่าเป็ น Digital objects เริ่มจากมีการจัดการ การ
เผยแพร่ข้อมูล และการใช้ข้อมูลที่จดั เก็บไว้ในเครื่อง
คอมพิวเตอร์หลักหรือหลาย ๆ แหล่งจัดเก็บข้อมูล
(Repositories) ผ่านระบบเครือข่าย
ผูใ้ ช้เรียกใช้ข้อมูลได้โดยตรง เป็ นเนื้ อหาเต็มรูป โดย
ผูใ้ ช้ไม่ต้องมาที่อาคารห้องสมุดและไม่ใช้ข้อมูลผ่าน
ผูใ้ ช้บริการหรือบรรณารักษ์
13
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)
ห้องสมุดดิจิตอล มีการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เช่น
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการสื่อสาร การ
จัดการสารสนเทศ และการติดต่อกับผูใ้ ช้
 ห้องสมุดดิจิตอลมีการจัดหมวดหมู่ให้เป็ นระบบใน
ลักษณะ Metadata เพื่อความสะดวก ในการค้นหาและ
เพื่อให้การจัดการข้อมูลดิจิตอลมีมาตรฐานในการใช้
ข้อมูลดิจิตอลร่วมกัน รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูล

14
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

ความจาเป็ นในการพัฒนาระบบห้องสมุดดิจิตอล
 ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 การอนุรก
ั ษ์ทรัพย์สินทางปัญญาของชาติ เป็ นมรดก
ทางวัฒนธรรมเพื่อการเผยแพร่
 การขยายการเข้าถึงสารสนเทศโดยไม่มีข้อจากัด
ด้านเวลาและสถานที่
15
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

ความจาเป็ นในการพัฒนาระบบห้องสมุดดิจิตอล
 การรักษาสภาพของทรัพยากรสารสนเทศที่มีคณ
ุ ค่า
ให้มีอายุการใช้งานนานไปถึงรุน่ หลัง
 เพื่อเป็ นแหล่งข้อมูลเพื่อการศึกษา ค้นคว้าวิจยั ของ
มวลมนุษย์
 เพื่อเผยแพร่วฒ
ั นธรรม พัฒนาการของมนุษย์ให้
แพร่หลาย
 เพื่อความสะดวกและสะดวกรวดเร็วในการเข้าถึง
ข้อมูลดิจิตอลของผูใ้ ช้ทวไป
ั่
16
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

วัตถุประสงค์หลักของการจัดทาห้องสมุดดิจิตอล
 เพื่อนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อการ
พัฒนาห้องสมุดในรูปแบบใหม่
 เพื่ออนุรก
ั ษ์ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด ให้มี
อายุการใช้งานยาวนาน
 เพื่อเผยแพร่ทรัพยากรสารสนเทศให้เป็ นผลงานของ
ผูผ้ ลิต หรือเจ้าของผลงาน
17
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

วัตถุประสงค์หลักของการจัดทาห้องสมุดดิจิตอล
 เพื่อขยายโอกาสการเข้าถึงสารสนเทศได้ไม่มี
ขีดจากัดในเรือ่ งของเวลา และสถานที่
 เพื่อสนับสนุนการเรียนรูต
้ ลอดชีวิต เป็ นการศึกษา
เพื่อนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ได้หลายรูปแบบในการ
ดาเนินชีวิต
 เพื่อสนับการเรียนการสอนทางไกล เป็ นการเรียน
การสอนโดยไม่ต้องมีห้องเรียนจริง
18
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

องค์ประกอบทางกายภาพในการพัฒนาระบบห้องสมุด
ดิจิตอล
 Hardware (เครือ
่ งคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์)
 Software (โปรแกรมคอมพิวเตอร์)
 ทรัพยากรที่จด
ั เก็บในรูปดิจิตอล (Collection)
 บุคลากร (People ware)
19
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

องค์ประกอบที่สาคัญของระบบห้องสมุดดิจิตอล
 การทางานระบบห้องสมุดดิจิตอล
 ทรัพยากรสารสนเทศรูปดิจิตอล
 การจัดการระบบสารสนเทศดิจิตอลของห้องสมุด
 การเชื่อมต่อของผูใ้ ช้บริการ
20
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

ลักษณะการจัดการระบบสารสนเทศในห้องสมุด
ดิจิตอล
 มีทรัพยากรที่เป็ นข้อมูลอยู่ในรูปดิจิตอลเรียกว่า
digital object หรือเรียกว่า Collection of
information objects
 มีการบริหารจัดการในลักษณะขององค์กร
เช่นเดียวกับการจัดการห้องสมุด
 การใช้เทคโนโลยีในการสร้างข้อมูล การจัดเก็บ การ
ค้นหา การเผยแพร่ผา่ นระบบเครือข่าย
21
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

ลักษณะการจัดการระบบสารสนเทศในห้องสมุด
ดิจิตอล
 มีการบริการข้อมูลในลักษณะการใช้ข้อมูลร่วมกัน
(fair use)
 มีการแนะนาการใช้ข้อมูลแกผูใ้ ช้และการอ้างถึง
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
 มีวฎ
ั จักรของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ การ
สร้างข้อมูลดิจิตอล (Creation) การเผยแพร่ข้อมูล
(Dissemination) การใช้ข้อมูล (Use) และการ
อนุรกั ษ์ข้อมูล (Preservation)
22
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

กระบวนการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล
 วัตถุประสงค์และความจาเป็ นของการพัฒนา
 เนื้ อหาที่ต้องการจัดเก็บ
 ขนาดของโครงการที่จะพัฒนา เนื่ องจากเกี่ยวข้อง
กับงบประมาณ
 อุปกรณ์ กรที่ต้องการใช้ในโครงการและการ
สนับสนุนของหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง
 กาหนดผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละด้าน เพื่อพัฒนางานตาม
โครงการ
23
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)
ขัน้ ตอนการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล
 1.การคัดเลือกและจัดหาทรัพยากรและการสร้าง
 2.การทาดรรชนี ข้อมูลที่จด
ั เก็บและการจัดเก็บ
ข้อมูลไว้
 3.การเผยแพร่ข้อมูลและการนามาใช้

24
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

การสร้างเนื้ อหาทรัพยากรสารสนเทศให้อยู่ในรูปดิจิตอล
 1.การสร้างจากทรัพยากรสารสนเทศในรูปสิ่งพิมพ์ที่
ห้องสมุดมีอยู่แล้วให้อยู่ในรูปสารสนเทศดิจิตอล
 2.การสร้างจากการสะสมทรัพยากรสารสนเทศในรูป
ดิจิตอลของผูผ้ ลิต
 3.การสร้างจากการนา Hypertext Technology มา
ประยุกต์ใช้ด้วยการเชื่อมต่อทางเว็บเทคโนโลยี
 4.การเป็ นห้องสมุดดิจิตอลทรัพยากรมีทงั ้ รูปแบบ
สารสนเทศดิจิตอล และทรัพยากรอยู่ในรูปแบบสารสนเทศ
สื่อประสม
25
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)





เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องและอุปกรณ์การสื่อสาร
1. เทคโนโลยีการคัดเลือกและการสร้างเนื้ อหา
2. เทคโนโลยีในการเข้าถึงหรือการสืบค้นข้อมูล
3. เทคโนโลยีที่ช่วยให้ผใ้ ู ช้เรียกใช้ข้อมูลได้ง่าย
4. การทาแบบจาลองโปรแกรม เพื่อการใช้ข้อมูล
ร่วมกัน
26
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

มาตรฐานสาหรับห้องสมุดดิจิตอล
 มาตรฐาน MARC
 Z39.50
 Markup Language
27
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
 1. เจ้าหน้ าที่จด
ั การระบบ
 2. ด้านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 3. สร้างความปลอดภัยในห้องสมุดอัตโนมัติ
เบือ้ งต้น
 4. การควบคุมส่วนต่อประสานระหว่าง
เครือข่ายท้องถิ่นกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
28
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)




ข้อดีของห้องสมุดดิจิตอล
ช่วยเพิ่มความสามารถในการค้นคืนสารสนเทศ เข้าถึงได้ง่าย
ผูค้ ้นได้สารสนเทศอยู่ในรูป Full-text
ช่วยลดอุปสรรคด้านระยะเวลาและระยะทางในการเข้าใช้
สารสนเทศ ผูใ้ ช้สารสนเทศสามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ทุก
เวลาและได้ทุกมุมโลก
เพิ่มความสามารถในการจัดส่งเอกสาร ทัง้ ในด้านรูปแบบและ
ความเร็วในการจัดส่ง ผูใ้ ช้สามารถเลือกรูปแบบในการจัดส่ง
เอกสารดิจิตอลได้หลายวิธีทงั ้ แบบออนไลน์ (On-line) และ
ออฟไลน์ (Off-line)
29
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)






ข้อดีของห้องสมุดดิจิตอล
สามารถทาสาเนาได้ตามต้องการ
สื่อที่จะใช้เก็บอยู่ได้นานไม่เสื่อมสลาย
ช่วยลดขนาดพืน้ ที่ในการจัดเก็บเอกสาร
สามารถนาไปประมวลผลกับคอมพิวเตอร์ได้ทาให้สามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ ได้ง่าย
สามารถจัดทาสารสนเทศในลักษณะสื่อผสม เสริมสร้างความ
เข้าใจและถ่ายทอดความรู้ได้ชดั เจนขึน้ ทาให้เข้าใจได้ง่าย เช่น
ภาพเคลื่อนไหว, ภาพสามมิติ
30
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)
ปัญหาและอุปสรรคของห้องสมุดดิจิตอล
 1. ลิขสิทธ์ ิ (Copyright)
 2. เงินสนับสนุนและงบประมาณ
 3. รูปแบบสารสนเทศดิจิตอล
 4. ผูใ้ ช้ที่อยู่ห่างไกลความเจริญ
 5. การบารุงรักษาให้ยงยื
ั่ น

31
ห้องสมุดดิจิตอล (Digital Library)

ตัวอย่าง โปรแกรมระบบห้องสมุดดิจิตอล
 IBM Digital Library (IBM DL)
 Green Stone Software
 DB2 Content Manager
 intraLibrary
 The Keystone Digital Library Suite
 Dspace
 Eprint
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแห่งชาติ






โครงการ Thailis
พัฒนาฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุด
มหาวิทยาลัย/สถาบัน ( Union Catalog)
พัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์
( Digital Collection)
ดาเนินการบอกรับฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการ
สืบค้น (Reference Database)
จัดหาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ eBooks
พัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติสาหรับ
สถาบันอุดมศึกษาไทย (Automatic Library)
42
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแห่งชาติ



วัตถุประสงค์
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสารสนเทศในระบบ
อัตโนมัติ ให้สนองความต้องการของผูใ้ ช้ให้มากที่สดุ
ครบถ้วน และสะดวกต่อการเข้าถึง โดยใช้ทรัพยากร
สารสนเทศร่วมกันอย่างประหยัด
เพื่อพัฒนาห้องสมุดมหาวิทยาลัยให้เป็ นศูนย์กลางแห่ง
การเรียนรูแ้ ละสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัด
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
43
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแห่งชาติ
วัตถุประสงค์
เพื่อสนับสนุนการกระจายโอกาสทางการศึกษาและ
ความเสมอภาคทางการศึกษา โดยใช้ระบบการเรียน
การสอนทางไกล ตามโครงการเครือข่ายสารสนเทศ
เพื่อพัฒนาการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งผูใ้ ช้
สามารถสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากห้องสมุดได้อย่าง
รวดเร็วโดยผ่านระบบเครือข่ายบริการของห้องสมุด
มหาวิทยาลัย
 เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ทัง้ ด้านผู้
ให้บริการและผูใ้ ช้ห้องสมุด ให้มีความรูแ้ ละความ
ชานาญในการจัดการและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ


44
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแห่งชาติ
เป้าหมาย
 ดาเนินการพัฒนาระบบฐานข้ อมูลสหบรรณานุกรม (Union Catalog)
ของห้ องสมุดมหาวิทยาลัย
 ดาเนินการพัฒนาฐานข้ อมูลจัดเก็บเอกสารในรู ปอิเล็กทรอนิกส์ ( Digital
Collection) ซึ่งเป็ นการจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มพร้ อมภาพ (Full Text
and Image) ของเอกสารวิจัย วิทยานิพนธ์ ทมี่ ีในห้ องสมุดมหาวิทยาลัย
 ดาเนินการจัดให้ มีการบริการฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ใช้ ทรัพยากร
ร่ วมกันระหว่ างห้ องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศไทยทุกแห่ งและพัฒนา
ให้ มีการบริการจัดส่ งสารสนเทศระหว่ างห้ องสมุดด้ วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบเครือข่ าย เพือ่ สนองความต้ องการของผู้ใช้
ห้ องสมุดได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพมากขึน้
 เป็ นศู นย์ กลางการเรียนรู้ และศู นย์ รวมทรัพยากรสารสนเทศทีท
่ ันสมัย ที่
ส่ งเสริมให้ ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

45
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแห่งชาติ






เป้ าหมาย
พัฒนาบุคลากรและผู้ใช้ บริการให้ มคี วามพร้ อม และสามารถรองรับพัฒนาการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และความต้ องการใช้ สารสนเทศทางวิชาการได้ อย่ าง
เหมาะสม
พัฒนาระบบเครือข่ ายห้ องสมุดมหาวิทยาลัยไทย ( ThaiLIS) ให้ ครอบคลุม
สถาบันอุดมศึกษา ในสั งกัดสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สนับสนุนศูนย์ การเรียนรู้ ระดับอุดมศึกษาในทุกสถาบัน และให้ กระจายไปสู่ ระดับ
การศึกษาพืน้ ฐาน
พัฒนาระบบการเรียนรู้ ด้วยตนเอง ระบบการสื บค้ น ระบบฐานข้ อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ สาหรับการเรียนการสอน และระบบการบริหารจัดการ โดยผู้เรียน
สามารถสื บค้ นข้ อมูลผ่ านระบบอินเทอร์ เน็ต และบนเครือข่ ายสารสนเทศได้
สนับสนุนการพัฒนาระบบห้ องสมุดอัตโนมัติ (Automated Library System) ที่
พัฒนาโดยนักวิชาการของไทย
46
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติแห่งชาติ
โครงการพัฒนาระบบห้ องสมุดอัตโนมัติ
 1. ระบบห้ องสมุดอัตโนมัติซึ่งพัฒนาโดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 2. ระบบห้ องสมุดอัตโนมัติซึ่งพัฒนาโดย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
 3. ระบบห้ องสมุดอัตโนมัติซึ่งพัฒนาโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ
จอมเกล้าธนบุรี
 4. ระบบห้ องสมุดอัตโนมัติเปิ ดเผยรหัส ศึกษา พัฒนาเพิม
่ เติมโดย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

47
ALIST : Automated Library System
for Thai Higher Education Institutes
 ระบบจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition Module)
 ระบบจัดทารายการสื บค้ น (Cataloging Module)
 ระบบวารสารและสิ่ งพิมพ์ ต่อเนื่อง (Serial Module)
 ระบบการให้ บริการยืม - คืน (Circulation Module)
 ระบบสื บค้ นสารสนเทศ (Online Public Access Catalog-
OPAC)
 ระบบจัดการและบริหารระบบ (System Administration
Module)
48
ALIST : Automated Library System
for Thai Higher Education Institutes
 ระบบจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ (Acquisition Module)
–
–
–
–
–
–
–
1. การตรวจสอบและพิจารณาข้ อมูลสั่ งซื้อ
2. การบันทึกรายการสั่ งซื้อ
3. การดาเนินการสั่ งซื้อ
4. การตรวจรับทรัพยากรฯ
5. การยกเลิกการสั่ งซื้อ
6. งานผู้ดูแลระบบ
7. การจัดทารายงานสถิติต่าง ๆ
49
ALIST : Automated Library System
for Thai Higher Education Institutes
 ระบบจัดทารายการสื บค้ น (Cataloging Module)
–
–
–
–
–
–
–
1. การตรวจสอบฐานข้ อมูล
2. คัดลอกข้ อมูลบรรณานุกรม
3. จัดทารายการสื บค้ น
4. การปรับปรุงข้ อมูลบรรณานุกรม
5. การปรับปรุงรายการตัวเล่ม
6. สร้ างแฟ้มข้ อมูล Barcode และพิมพ์
7. การจัดทารายงานสถิติต่าง ๆ
50
51
52
ALIST : Automated Library System
for Thai Higher Education Institutes
 3. ระบบงานวารสารและสิ่ งพิมพ์ ต่อเนื่อง (Serial Module)
–
–
–
–
–
–
–
1. การทบทวนการบอกรับ/ยกเลิก/เพิม่ ชื่อวารสาร
2. การสร้ างข้ อมูล Publication Pattern
3. การสร้ างข้ อมูล CheckIn Card และ Serial
4.การลงทะเบียนวารสาร
5. การทวงวารสาร
6. การเย็บเล่มวารสาร
7. การจัดทารายงานสถิติต่าง ๆ
53
ALIST : Automated Library System
for Thai Higher Education Institutes








4.ระบบให้ บริการยืม-คืน
(Circulation Module)
การให้ บริการยืม
การให้ บริการยืมระหว่ างห้ องสมุด
วิทยาเขต
การปรับปรุ งวันกาหนดคืน (ใช้ ใน
กรณี Book Drop, วันหยุดของ
ห้ องสมุด)
การให้ บริการยืมต่ อ
การจัดการหนังสื อหาย (Lost)
การคืนหนังสื อ
การจัดการข้ อมูลสมาชิก










การให้ บริการจองรายการทรัพยากร
การจัดการ Block หนังสื อ, สมาชิก
การชาระค่ าปรับ
การยกเว้ นค่ าปรับ
การเพิม่ ข้ อความถึงสมาชิก
การทาหนังสื อสารอง
การยกเลิกการทาหนังสื อสารอง
การทา Inventory
การจัดการ Missing Inventory
การจัดการ Process อัตโนมัติ
54
55
56
ALIST : Automated Library System
for Thai Higher Education Institutes
5. ระบบสื บค้ นสารสนเทศ (Online Public Access Catalog OPAC)

–
–
–
–
–
การแสดงข้ อมูลข่ าวสารทัว่ ไป
การสื บค้ นรายการทรัพยากรสารสนเทศ
การแสดงข้ อมูลรายละเอียดสมาชิกห้ องสมุด
การใช้ บริการยืมต่ อ (Renew), จอง (Hold) รายการสารสนเทศ
การ Export ข้ อมูล
57
58
59
ALIST : Automated Library System
for Thai Higher Education Institutes










6. ระบบจัดการและบริหารระบบ (System Administration Module)
จัดทา/ปรับปรุ งตารางข้ อมูล
กาหนดสิ ทธิหน้ าทีแ่ ละการเข้ าใช้ งานของผู้ใช้ งานแต่ ละคน
ดูแล/สารอง/ลบข้ อมูล Transaction Table (เช่ นข้ อมูลการยืม-คืน, Log Record)
Import/Export ข้ อมูลบรรณานุกรม
Backup Data, Backup System
จัดทา Barcode Label
การสร้ าง/จัดการ Review file
การรักษาความปลอดภัยของระบบ
และมีระบบให้ ความช่ วยเหลือผู้ใช้ (Help System)
60
WALAI AutoLIB
1.
2.
3.
4.
5.
6.
Policy management module
Cataloging module
Circulation module
OPAC module
Serials module
Acquisition module
61
62
63
64
65
66
67
68
69
ULIBM (Union Library Management)
 ระบบการทางานหลักประกอบด้วย
– จัดการข้อมูลห้องสมุด
– การให้บริการ
– การจัดการวัสดุสารสนเทศ บัตรสมาชิก
– การจัดการสมาชิก
– ระบบเสริม
ระบบสถิติ
ดาวน์ โหลดไฟล์อรรถประโยชน์ ฯลฯ
70
Open source software
 มีการพัฒนามากขึน
้ เพือ่ รองรับจานวนห้ องสมุด
 รับการเปลีย่ นแปลงด้ านงบประมาณ
 ประหยัดงบประมาณ
 สามารถปรับเปลีย่ นได้
 ใช้ ง่าย ยืดหยุ่น
71
Open source software
มีอส
ิ ระในการใช้ โปรแกรม
มีอส
ิ ระในการศึกษาและปรับเปลีย่ นโปรแกรม
มีอส
ิ ระในการคัดลอกโปรแกรม
มีอส
ิ ระในการปรับปรุงโปรแกรม
72
Open source software
 ลักษณะทีค
่ วรมีของระบบห้ องสมุดอัตโนมัตแิ บบเปิ ด
– มี GPL (General public license)
– ใช้ กบั ระบบปฏิบัตกิ ารได้ หลากหลาย
– เป็ น web interface
– รองรับมาตรฐาน MARC
– รองรับมาตรฐาน Z39.50
73
Open source software
 ลักษณะทีค
่ วรมีของระบบห้ องสมุดอัตโนมัตแิ บบเปิ ด
– สามารถสร้ างบาร์ โค้ ดได้
– สามารถปรับเปลีย่ นได้
– สามารถปรับปรุงแก้ ไขได้ ตลอดเวลา
– ใช้ ได้ กบั หลายภาษา
74
KOHA
 circulation
 cataloging
 acquisitions
 serials
 reserves
 patron management
 branch relationships
75
76
OpenBiblio
 ประกอบด้วยระบบงานหลักคือ
–
–
–
–
–
–
งานบริการยืม-คืน
งานจัดการสมาชิก
งานจัดการบัตรรายการ
การออกรายงานต่างๆ
งานบริหารระบบสาหรับผูด้ แู ลระบบ
งานสืบค้นรายการทรัพยากรสารนิเทศออนไลน์ (OPAC:
Online Public Access Catalogue
77
78
โปรแกรมอืน่ ๆ ที่น่าสนใจ
PMB
PhpMylibrary
Emilda
GNUTECA
Evergreen
79
โปรแกรมอืน่ ๆ ที่น่าสนใจ
Learning Access ILS
WEBLIS
Avanti
MicroLCS
BiblioteQ
NewGenLib
80
สหบรรณานุกรม (Union Catalog)
 วัตถุประสงค์
– เพือ่ พัฒนาฐานข้ อมูลบรรณานุกรมกลาง (Union Catalog)
ของห้ องสมุดมหาวิทยาลัยในประเทศ
– เพือ่ สร้ างแหล่ งทรัพยากรความรู้ ทใี่ หญ่ ทสี่ ุ ดของชาติ สาหรับ
บุคลากรของประเทศ
– เพือ่ เป็ นต้ นแบบของศูนย์ รวมบรรณานุกรมแห่ งชาติ
(National Bibliographic Center)
81
สหบรรณานุกรม (Union Catalog)
 เป้าหมาย
 มีฐานข้ อมูลสหบรรณานุกรม (Union Catalog) ที่รวมทรัพยากร
สารสนเทศของห้ องสมุดมหาวิทยาลัย/สถาบัน ห้ องสมุดสถาบัน
ราชภัฏ ห้ องสมุดสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และห้ องสมุด
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
 เพิม
่ ความสมบูรณ์ ของฐานข้ อมูลสหบรรณานุกรม (Union
Catalog) ด้ วยการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศทีอ่ ยู่ในสื่ อ
ประเภทต่ าง ๆ
82
สหบรรณานุกรม (Union Catalog)
 เป้าหมาย
 ส่ งเสริมการใช้ ทรัพยากรสารสนเทศร่ วมกันโดยผ่ านระบบการ
ยืมระหว่ างห้ องสมุด
 เป็ นต้ นแบบของศู นย์ รวมบรรณานุกรมแห่ งชาติ (National
Bibliographic Center)
 เป็ นแหล่ งทรัพยากรความรู้ ทใี่ หญ่ ทส
ี่ ุ ดของชาติ สาหรับบุคลากร
ของประเทศ ทีจ่ ะเป็ นศูนย์ กลางการเรียนรู้ ด้วยตนเองอย่าง
สมบูรณ์
83
สหบรรณานุกรม (Union Catalog)
 ระบบ Union Catalog ประกอบด้ วย
– โปรแกรม VTLS (Virtua)
– Z39.50 Protocol
– Data Storage System 25 Licenses
– โปรแกรม Virtua Client 75 Licenses
– โปรแกรม ILL Manager ของ RLG
84
สหบรรณานุกรม (Union Catalog)
 ฐานข้ อมูลสหบรรณานุกรม
 1.1
ฐานข้ อมูลหลัก (หนังสื อ วารสาร ฯลฯ)
 1.2. ฐานข้ อมูลรายการบรรณานุกรมของบทความวารสาร
85
สหบรรณานุกรม (Union Catalog)
 การเข้ าใช้ ประโยชน์ จากฐานข้ อมูลสหบรรณานุกรม
 1. กลุ่มผู้ใช้ ทวั่ ไป
– 1.1 server 202.28.18.229
– 1.2 port 1111
– 1.3 database name : default
 2.กลุ่มนักศึกษา อาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ ของห้ องสมุดสมาชิก
 3.กลุ่มบุคลากรทีท
่ างานในห้ องสมุดต่ าง ๆ
86
สวัสดี
อย่ าลืมทบทวนนะจะได้ เข้ าใจยิง่ ขึน้
87