การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

Download Report

Transcript การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

การบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน
ผศ.ดร.วิจติ รา เจริญพงษ์
มหาวิทยาลัยกรุ งเทพธนบุรี
[email protected]
081-839-0889
การบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน
ประเด็นที่สาคัญ ได้ แก่







1. ความเป็ นมาและความหมาย
2. หลักการพืน้ ฐาน
3. รูปแบบการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเรียนเป็ นฐาน
4. การบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐานในประเทศไทย
5. ปั จจัยที่เอือ้ ต่ อความสาเร็จในการบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ น
ฐาน
6. ปั ญหาและอุปสรรคในการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
7. แนวคิดผู้บริหารโรงเรียนที่บริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
ประสบผลสาเร็จ
1. ความเป็ นมาและความหมาย
คาว่ า School-Based Management หรือ SBM นัน้ เป็ น
รูปแบบการบริหารและการจัดการศึกษารูปแบบหนึ่ง มี
การเริ่มใช้ ในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็ นครัง้ แรกในช่ วง
ทศวรรษที่ 1980 (Cheng, 1996) ในภาษาไทยนิยมใช้ ทบั
ศัพท์ ว่า School-Based Management หรือเรียกย่ อๆว่ า
SBM มีผ้ ูเรี ยกชื่อแตกต่ างกันไปเช่ น ยุวดี ศันสนีย์รัตน์
(ม.ป.ป.)เรียกว่ าการบริหารจัดการที่สถานศึกษา แต่
 เสริ มศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (2541) ใช้ คาว่ าการบริ หารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน

1. ความเป็ นมาและความหมาย
 Sackney
and Dibski (1995) ให้
ความหมายว่ าเป็ นแบบการกระจายอานาจ
และปรับรือ้ ระบบราชการ บางครัง้ จะ
หมายถึงการเปิ ดให้ มีการร่ วมกันในการ
บริหารงานและเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูปกครองมี
ส่ วนร่ วมในการตัดสินใจด้ วย
1. ความเป็ นมาและความหมาย
 ส่ วน
Levacic (1995)นิยามว่ าเป็ นรู ปแบบในการ
บริหารสถานศึกษาทัง้ ของรั ฐและเอกชน โดยมีการ
กระจายอานาจไปสู่สถานศึกษาโดยตรง เพื่อให้
สามารถตัดสินใจในการจัดสรรทรั พยากรที่มีอยู่ทงั ้
ด้ านองค์ ความรู้ เทคโนโลยี อานาจ วัสดุอุปกรณ์ คน
เวลา และเงิน แต่ โรงเรี ยนยังอยู่ในความรั บผิดชอบ
ของหน่ วยเหนือในแง่ ของการจัดสรรทรั พยากรและ
การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน
สรุ ป
 การบริ หารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐาน
หมายถึง การพัฒนาโรงเรียนแบบรวมพลัง
จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องทุกภาคส่ วน ร่ วมกัน
คิด วางแผน ดาเนินการ และประเมินผล
ในการบริหารโรงเรียน เพื่อพัฒนานักเรียน
ให้ เป็ นบุคคลที่มีคุณภาพ
2. หลักการพืน้ ฐาน
อุทยั บุญประเสริฐ (2545) ได้ สรุ ปหลักการสาคัญของการ
บริหารโรงเรียนโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐานไว้ 5 ประการคือ
 1. หลักการกระจายอานาจ (Decentralization)
 2. หลักการมีส่วนร่ วม (Participation or Collaboration or
Involvement)
 3. หลักการคืนอานาจจัดการศึกษาให้ ประชาชน (Return
Power to People)
 4. หลักการบริ หารตนเอง (Self-Management)
 5. หลักการตรวจสอบและถ่ วงดุล (Check and Balance)

2. หลักการพืน้ ฐาน
แต่ ถวิล มาตรเลี่ยม(2545) กลับสรุ ปว่ าการบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐานยืดหลัก 4 ประการคือ
 1. หลักดุลยภาพ (Principle of Equifinality)
 2. หลักการกระจายอานาจ (Principle of Decentralization)
 3. หลักการบริ หารจัดการตนเอง (Principle of SelfManagement System)
 4. หลักการริ เริ่ ม (Principle of Human Initiative)

2. หลักการพืน้ ฐาน
 หลักการพืน
้ ฐานที่สาคัญของการบริหารโดยใช้
โรงเรี ยนเป็ นฐานคือ หลักการกระจายอานาจการจัด
การศึกษาและหลักการบริหารแบบมีส่วนร่ วม โดยผู้
มีส่วนได้ เสียทุกภาคส่ วนมีความคิดริเริ่ม และรวม
พลังในการบริหารและพัฒนาการศึกษาในโรงเรี ยน
จะทาให้ การบริหารโรงเรี ยนเกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
3. รูปแบบการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
Leithwood,Kenneth and Meuzies,Teresa (1998) มี
รูปแบบที่สาคัญ 4 รูปแบบคือ
 1.รู ปแบบที่มีผ้ ูบริ หารโรงเรี ยนเป็ นหลัก (Administrative
Control)
 2.รู ปแบบที่มีครู เป็ นหลัก (Professional Control)
 3.รู ปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (Community Control)
 4.รู ปแบบที่ครู และชุมชนมีบทบาทหลัก(Professional
Community Control)

3. รูปแบบการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
 มีวิธีการที่แตกต่ างกัน
แต่ มีเป้าหมายเดียวกัน
คือ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการจัด
การศึกษา และเมื่อวิเคราะห์ แล้ วพบว่ า รูปแบบ
ที่ 3 คือรูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก เป็ น
รูปแบบที่นิยมใช้ ในประเทศไทย เพราะมี
สัดส่ วนคณะกรรมการที่มาจากชุมชนมากที่สุด
4. การบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานในประเทศไทย
 ในอดีตประเทศไทยเคยมีโรงเรี ยนที่
ประชาชนจัดตัง้ เรียกว่ าโรงเรียนประชาบาล
ในปี พ.ศ.2543-2544 ได้ ศึกษารูปแบบการ
บริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน 4 รูปแบบ
คือ
4. การบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานในประเทศไทย
 รู ปแบบที่
1 รู ปแบบผู้นาสามประสาน (The
Triarchic Leading Model)
 รู ปแบบที่ 2 รู ปแบบผู้บริ หาร-ครู เป็ นผู้นา (PrincipalTeachers Leading Model)
 รู ปแบบที่ 3 รู ปแบบผู้บริ หารเป็ นผู้นา (The Principal
Leading Model)
 รู ปแบบที่ 4 รู ปแบบครู -ชุมชนเป็ นผู้นา (The
Teachers-community Leading Model)
4. การบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานในประเทศไทย
ผลการวิจัยพบว่ า ขนาดที่ตงั ้ และสังกัดของโรงเรียนมิได้
เป็ นตัวแปร ในการจาแนกรูปแบบการดาเนินงานของ
โรงเรียน แต่ เกิดจากความศรัทธาในตัวผู้บริหารสาคัญ
อันดับแรก
 นอกนัน
้ คือการประชาสัมพันธ์ ให้ ทุกฝ่ ายเข้ าใจตลอดจน
ต้ องสอดคล้ องกับวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่นด้ วย
โรงเรียนขนาดเล็กมีความคล่ องตัวกว่ าในการดาเนินงาน
และใช้ วธิ ีการอย่ างไม่ เป็ นทางการมากกว่ าโรงเรียนขนาด
ใหญ่

4. การบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานในประเทศไทย
 ในปี
พ.ศ. 2544 สานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา (2549) ได้ สนับสนุนให้ มีการวิจัย
และพัฒนารูปแบบการบริหารฐานโรงเรียน
(School-Based Management) 15 รูปแบบ
4. การบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานในประเทศไทย
 การออกแบบรู ปแบบการบริ หารสถานศึกษายึด
แนวคิดพืน้ ฐานในการบริหาร 7 ประการ คือ
 1.การกระจายอานาจและการบริ หารฐานโรงเรี ยน
 2. การมีส่วนร่ วมในการบริ หารของบุคลากรภายใน
ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้นาชุมชน และผู้เกี่ยวข้ องอื่นๆ
 3. การพึ่งตนเอง
4. การบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานในประเทศไทย
 4.
ผู้บริหารมีภาวะผู้นาแบบเกือ้ หนุน
 5. การบริ หารงานแบบประชาธิปไตย
 6. การบริ หารจัดการที่ดี
 7. การใช้ แนวคิดเชิงระบบในการบริ หาร
4. การบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานในประเทศไทย
 ยึดแนวคิดพืน
้ ฐานเชิงกลยุทธ์ และวิธีการ
6 ประการ
คือ
 1. การใช้ แผนกลยุทธ์ เป็ นกระบวนการหลักในการ
บริหาร
 2. การใช้ การระดมสรรพกาลัง
 3. การใช้ ยุทธศาสตร์ เป็ นกลไกหลักในการบริ หาร
 4. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร
4. การบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานในประเทศไทย
 5.
การใช้ การวิจัยและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็ นเครื่องมือในการบริหาร
 6. การใช้ แนวคิดเชิงกระบวนการเป็ นเครื่ องมือ
ในการบริหาร ทัง้ กระบวนการบริหารทัง้ ระบบ
เช่ นวงจรคุณภาพ หรือกระบวนการดาเนินงาน
เฉพาะเรื่อง เช่ นการบริหารหลักสูตร
องค์ ประกอบ
องค์ ประกอบของรู ปแบบของ
การศึกษาแบบแผนการออกแบบ
ระบบและกาหนดองค์ ประกอบของ
รู ปแบบมี 3 องค์ ประกอบ คือ
องค์ ประกอบ
 1.
องค์ ประกอบด้ านผลลัพธ์ ของรูปแบบ
หมายถึง ผลผลิตสุดท้ ายที่รูปแบบการบริหาร
นัน้ ๆต้ องการให้ บรรลุ เป็ นองค์ ประกอบสาคัญ
ของทุกรูปแบบ
 2. องค์ ประกอบที่เป็ นกลไกในการดาเนินงาน
 3. องค์ ประกอบที่เป็ นกลไกในการติดตามและ
ประเมินผลตลอดจนนาผลไปใช้
องค์ ประกอบ
 ในปี
พ.ศ.2550 กระทรวงศึกษาธิการได้ ออก
กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการกระจาย
อานาจการบริหาร และการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550
โดยกาหนดให้ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรื อ
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
พิจารณาดาเนินการกระจายอานาจการบริหารและ
การจัดการศึกษาในด้ านวิชาการ ด้ านงบประมาณ
ด้ านบุคลากร และด้ านการบริหารทั่วไป ไปยัง
คณะกรรมการเขตพืน้ ที่การศึกษา สานักงานเขต
พืน้ ที่การศึกษา หรื อสถานศึกษา
5. ปั จจัยที่เอือ้ ต่ อความสาเร็จในการบริหาร
โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
Odden and Wohlstetter (1995) ได้ ทาการศึกษาผลการนา
รูปแบบการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐานไปปฏิบตั พ
ิ บว่ า
เงื่อนไขสาคัญที่ทาให้ การบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
ประสบความสาเร็จมี 2 ประการ คือ
 1. ผู้ปฏิบต
ั งิ านในโรงเรี ยนต้ องมีอานาจอย่ างแท้ จริงใน
การบริหารงบประมาณ บุคลากร และหลักสูตร
 2. อานาจหน้ าที่ต้องถูกใช้ เพื่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง
และมีผลโดยตรงต่ อการจัดการเรียนการสอน

5. ปั จจัยที่เอือ้ ต่ อความสาเร็จในการบริหาร
โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
 กลยุทธ์ สาคัญที่ทาให้ การบริ หารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐานประสบผลสาเร็จ
Wohlstetter and Morhman
(1993),Wohlstetter(1995),Odden and
Wohlstetter (1995) มี 6 ประการได้ แก่
5. ปั จจัยที่เอือ้ ต่ อความสาเร็จในการบริหาร
โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
1.การกระจายอานาจ (Disperse Power)
 2. การเน้ นที่การพัฒนาวิชาชีพครู (Stress Professional
Development)
 3. การเผยแพร่ สารสนเทศ (Disseminate Information)
 4. การเลือกผู้บริ หารโรงเรี ยนที่เหมาะสม (Select the
Right Principal)
 5.การมีวส
ิ ัยทัศน์ (Have a Vision)
 6.การให้ รางวัล (Reward Accomplishment)

5. ปั จจัยที่เอือ้ ต่ อความสาเร็จในการบริหาร
โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
 อุทย
ั
บุญประเสริฐ (2545) กลยุทธ์ สาคัญสาหรั บนา
รู ปแบบการบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานไปใช้ ให้
ประสบผลสาเร็จไว้ 8 ประการ คือ
 1. การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ กับผู้เกี่ยวข้ องอย่ าง
ทั่วถึง
 2. การกาหนดบทบาทหน้ าที่ของคณะกรรมการ
สถานศึกษาให้ ชัดเจน
5. ปั จจัยที่เอือ้ ต่ อความสาเร็จในการบริหาร
โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
 3.
การสรรหาและคัดเลือกคณะกรรมการ
สถานศึกษา ควรได้ คนที่มีความรู้ ความสามารถ
เสียสละ และเป็ นตัวแทนของกลุ่มต่ างๆอย่ าง
แท้ จริง
 4. จัดการฝึ กอบรม สัมมนาให้ คณะกรรมการ
สถานศึกษามีความรู้ ความเข้ าใจเรื่ องการบริหารจัด
การศึกษา และการดาเนินงานการบริหารโดยใช้
โรงเรี ยนเป็ นฐาน
5. ปั จจัยที่เอือ้ ต่ อความสาเร็จในการบริหาร
โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน

5. สนับสนุนให้ ครูได้ ปฏิบตั หิ น้ าที่
ร่ วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาอย่ าง
ใกล้ ชิด
 6. จัดให้ มีเครื อข่ ายคณะกรรมการ
สถานศึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
ประสบการณ์ และความร่ วมมือ
5. ปั จจัยที่เอือ้ ต่ อความสาเร็จในการบริหาร
โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
 7. จัดให้ มีการกาหนดมาตรฐานงานของ
คณะกรรมการสถานศึกษา
 8. การพิจารณาให้ สวัสดิการและการ
บริการพิเศษแก่ คณะกรรมการสถานศึกษา
ตามที่สมควร เหมาะสมและชอบธรรม
5. ปั จจัยที่เอือ้ ต่ อความสาเร็จในการบริหาร
โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2549) ได้ ให้ ข้อสังเกต
เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่
ส่ งเสริมการปฏิรูปการเรี ยนรู้ว่า
 “คุณลักษณะสาคัญของผู้บริ หารโรงเรี ยนต้ นแบบที่ส่งผล
ต่ อการบริหารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐานคือ ความเป็ นตัว
ของตัวเอง กล้ าตัดสินใจ กล้ าทาในสิ่งที่ถูกต้ องโดยไม่ ต้อง
รอต้ นสังกัดสั่งการ เป็ นผู้นาในการทาเป็ นแบบอย่ าง ทา
เพื่อคนอื่นมากกว่ าตนเอง”

6. ปั ญหาและอุปสรรคในการบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน
 David
(1992) Spilman (1996) Latham (1998) มี
ปั ญหา และอุปสรรค 6 ประการ คือ
 1. เวลา
 2. ความคาดหวัง
 3. คณะกรรมการโรงเรี ยนมีความรั บผิดชอบ
มากมายแต่ ขาดคุณสมบัตทิ ่ เี หมาะสม
6. ปั ญหาและอุปสรรคในการบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน
 4.
ความไม่ สอดคล้ องระหว่ างความต้ องการ
และการปฏิบัติ
 5. ขาดอิสระในการตัดสินใจ
 6.ไม่ ให้ ความสาคัญกับเรื่ องที่เป็ นหัวใจของ
โรงเรียนคือเรื่องการจัดการเรียนการสอนและ
ผลการเรียนของนักเรียนอย่ างแท้ จริง
6. ปั ญหาและอุปสรรคในการบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน
 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2549)
พบ
ปั ญหา คือ
 1. ความเป็ นอิสระและมีอานาจเต็มในการ
บริหารสถานศึกษา
 2. ความไม่ ชัดเจนในขอบเขต และบทบาท
หน้ าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา

6. ปั ญหาและอุปสรรคในการบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน
 3.
การจากัดจานวนคณะกรรมการสถานศึกษาใน
โรงเรี ยนขนาดเล็ก ทาให้ ขาดโอกาสของชุมชนที่
ต้ องการเข้ ามามีส่วนร่ วม

4. ข้ อจากัดเรื่ องการบริหารงบประมาณ
การเงินและทรั พย์ สินของโรงเรี ยน
 5. การแต่ งตัง้ โยกย้ ายผู้บริ หารสถานศึกษา ทาให้
การบริหารงาน ไม่ ต่อเนื่อง
6. ปั ญหาและอุปสรรคในการบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน
 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ
(2546)
พบปั ญหา และอุปสรรค 6 ประการ คือ
 นโยบายของโรงเรี ยนต้ องเป็ นข้ อตกลงร่ วมกันของ
บุคลากรทุกฝ่ าย
 2. ผู้บริ หารสถานศึกษาต้ องมีความคิดริ เริ่ ม
สร้ างสรรค์ มีความรู้ ความสามารถ
 3. ครู ต้องพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
6. ปั ญหาและอุปสรรคในการบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน
 4.
วิธีการกระจายอานาจในลักษณะกระจาย
ให้ กับทีมงานมีแนวโน้ มที่จะประสบความสาเร็จ
มากกว่ ากระจายให้ กับบุคคลอื่นๆ
 5. การโยกย้ ายผู้บริ หาร
 6. หน่ วยงานต้ นสังกัดต้ องสนับสนุนอย่ าง
จริงจัง
7. แนวคิดผู้บริหารโรงเรียนที่บริหาร โดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐานประสบผลสาเร็จ
 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2549) ได้
คัดเลือกผู้บริหารสถานศึกษาต้ นแบบ
ประสบการณ์ บริหารฐานโรงเรียน (SBM) เพื่อ
ยกย่ องและเผยแพร่ เกียรติยศชื่อเสียง เกี่ยวกับ
การบริหารโดยใช้ ฐานโรงเรียนจานวน 33 คน
แต่ จะนาเสนอเพื่อเป็ นตัวอย่ างเพียง 2 คน
1. นายนคร ตังคะพิภพ
 นายนคร
ตังคะพิภพ ผู้อานวยการโรงเรียน
เบญจมเทพอุทศิ จังหวัดเพชรบุรี บริหาร
โรงเรียนโดยใช้ รูปแบบการบริหารยุทธศาสตร์
แบบหลอมรวม (Integrated Administration
Strategy:IAS)
โดยมีกรอบแนวคิดและ
แนวปฏิบัตอิ ย่ างสม่าเสมอ 3 ส่ วน คือ
1. นายนคร ตังคะพิภพ
 3.1
สร้ างปั จจัยเอือ้ หรือเงื่อนไขในการ
พัฒนา )
 3.2 กระบวนการหลอมรวมยุทธศาสตร์ เพื่อ
พัฒนาองค์ รวม
 3.3 บังคับทิศทางการบริ หารให้ โรงเรี ยน
เป็ นองค์ กรแห่ งการเรียนรู้
2. นายสุเมธ ปานะถึก

นายสุเมธ ปานะถึก ผู้อานวยการโรงเรียนกุดสะเทียนวิทยาคาร
จังหวัดหนองบัวลาภู บริหารโรงเรียนแบบการวางแผนกลยุทธ์
ในการบริหารโรงเรียนเพื่อส่ งเสริมการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้
ยุทธศาสตร์ 3 ประการ คือ
1. การวางแผนกลยุทธ์
2. การบริหารฐานโรงเรียน
3. การบริหารความเปลี่ยนแปลง นอกจากนีย้ ังให้ ความสาคัญ
กับการพัฒนาครูส่ ูมืออาชีพ
2. นายสุเมธ ปานะถึก
ซึ่งครูทุกคนจะต้ องเปลี่ยนแนวคิดและการกระทา 4
ประการ คือ
 1. เปลี่ยนแนวคิดและความเชื่อจากเดิมมายึดหลักว่ า
ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด
จัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ให้ ผ้ ูเรียนรู้วธิ ีการเรียนรู้
 2. ปรั บเปลี่ยนพฤติกรรมการสอน จากเน้ นการสอน การ
ถ่ ายทอด มาเป็ นการจัดกิจกรรมและสาระการเรียนรู้ท่ ี
สอดคล้ องกับความสนใจ ความถนัดและความสามารถ
ของผู้เรี ยน

2. นายสุเมธ ปานะถึก
 3.
ปรั บเปลี่ยนวัฒนธรรมการทางานให้ มีกระบวบ
การในการทางาน (PDCA) ใช้ ศาสตร์ ด้าน
กระบวนการวิจัยในการแก้ ปัญหาและพัฒนาตนเอง
ตลอดเวลา เรี ยนรู้ จากเพื่อน เกือ้ กูลซึ่งกันและกัน
ด้ วยท่ วงทานองแห่ งกัลยาณมิตร
 4. การส่ งเสริ มการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ ท่ ใี ช้
นวัตกรรมต่ าง ๆ เช่ น การบูรณาการ การประเมิน
ตามสภาพจริง
สวัสดี