emotion - UTCC e
Download
Report
Transcript emotion - UTCC e
อารมณ์ (Emotion)
จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1 นั กศ ก
ึ ษาสามารถอธิบ ายความหมาย และพัฒ นาการ
1
ของอารมณ์ได ้
2
ึ ษาสามารถจาแนกแนวคิดพืน
นักศก
้ ฐานเกีย
่ วกับทฤษฎี
อารมณ์ในแต่ละทฤษฎีได ้
3
ึ ษาสามารถแสดงความคิดเห็นเกีย
นั กศก
่ วกับเรือ
่ งการ
้
ควบคุมอารมณ์ไปประยุกต์ใชในช
วี ต
ิ ประจาวันได ้
4
ึ ษาสามารถแสดงความคิดเห็ นเรือ
นั กศก
่ งความฉลาด
ึ ษาได ้
ทางด ้านอารมณ์ทม
ี่ อ
ี ท
ิ ธิตอ
่ พฤติกรรมของนักศก
ความหมาย “อารมณ์”
เป็ นการเปลี่ย นแปลงของสภาวะทางร่ า งกาย
และจิต ใจที่ผ ิด แปลกไปจากเดิม อั น เนื่อ งมาจากการ
ั พันธ์ระหว่างสงิ่ เร ้าและอินทรีย ์
ปฏิสม
พัฒนาการทางอารมณ์
ระยะแรกเกิด อารมณ์ทเี่ ด็กทารกแสดงโต ้ตอบ
กั บ ส งิ่ เร า้ ต่ า ง ๆ ไม่ ว่ า จะเป็ นเส ีย งดั ง การขาดคนอุ ม
้
ความไม่ ส บายทางกาย ความเปี ยกช ื้น หรือ ความหิว
กระหายก็ตาม พฤติกรรมทีท
่ ารกแสดงออกนั น
้ เปิ ดเผย
ั เจนและมีเพียงอารมณ์เดียวคือ อารมณ์
จะสังเกตได ้ชด
ตืน
่ เต้น (Excitement)
ทฤษฎีเกีย
่ วกับอารมณ์
์ แลงค์
ทฤษฎีทางอารมณ์ของ เจมส–
(James – Lange)
ทฤษฎี Cannon –Bard
The Jukebox Theory
ทฤษฎีทางอารมณ์ของ เจมส–์ แลงค์
(James – Lange)
“อารมณ์เป็ นผลต่อเนือ
่ ง
ของการเปลีย
่ นแปลงทางร่างกาย
แต่ อารมณ์ไม่ได ้เป็ นสาเหตุของการ
เปลีย
่ นแปลง”
(Emotion is a
consequence, not the cause
of the bodily expression)
ทฤษฎี Cannon–Bard
ิ หน ้าอยูก
ขณะทีบ
่ ค
ุ คลกาลังเผชญ
่ บ
ั สงิ่ เร ้า
ทีก
่ ระตุ ้นอารมณ์อยูน
่ ัน
้ แรงกระตุ ้นจาก
ื่
ประสาทจะสง่ ผ่านไปยังสว่ นของสมองทีช
่ อ
ทาลาม ัส ซงึ่ จะจัดการแยกแรงกระตุ ้น
ออกเป็ น 2 สว่ น โดยแรงกระตุ ้นสว่ นหนึง่ จะ
่ ว่ นทีเ่ รียกว่าเปลือกสมอง และ
วิง่ ผ่านไปสูส
แรงกระตุ ้นสว่ นทีส
่ องจะวิง่ ผ่านไปยังสมอง
สว่ นไฮโปทาลามัสซงึ่ เป็ นศูนย์การควบคุม
การเปลีย
่ นแปลงทางด ้านต่าง ๆ ของร่างกาย
และหลังจากนัน
้ อารมณ์ก็จะเกิดตามมา
The Jukebox Theory
ทฤษฎีนเี้ ปรียบมนุษย์เหมือนกับเป็ น
ตู ้เพลง การหยอดเหรียญลงไปก็เท่ากับเป็ น
สงิ่ เร ้าจากสงิ่ แวดล ้อมภายนอกซงึ่ จะเข ้าไป
ปลุ ก ระบบที่ ก่ อ ให เ้ กิด อารมณ์ การเลื อ ก
เพ ล ง เป รี ย บ ได ก
้ ั บ กา ร เกิ ด อา ร ม ณ์ ซ ึ่ง
จะเป็ นประเภทใด หรือชนิด ใดจะต ้องขึน
้ อยู่
กั บ สภาพแวดล อ
้ ม หรื อ สถานการณ์ ข อง
บุคคลนั น
้ ๆ หรืออาจกล่าวได ้อีกนั ยหนึ่งว่า
การทีเ่ ราจะมีอารมณ์แ บบใดเกิด ขึน
้ จะต ้อง
ขึน
้ อยูก
่ บ
ั สภาพแวดล ้อมเป็ นหลักสาคัญ
ปั จจัยทีม
่ อ
ี ท
ิ ธิพลต่ออารมณ์
1.พันธุกรรม
2.ประสบการณ์เดิม
3.สงั คม
4.ยาหลอนประสาท
ประเภทของอารมณ์
อารมณ์แบ่งได ้เป็ น 2 ประเภท
ประเภทแรก
จัดเป็ นอารมณ์ด ี
มีความสุข
มี 2 แบบ
ได ้แก่ ความรัก
ความร่าเริงสนุกสนาน
ประเภททีส
่ อง
จัดเป็ นอารมณ์ไม่ด ี
มีความทุกข์
มี 4 แบบ
ได ้แก่ ความกลัว ความ
วิตกกังวล ความโกรธ
ความเศร ้า
Prolong Intense Emotion
คื อ อ า ร ม ณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ต่ อ เ นื่ อ ง คั่ ง ค า้ ง เ ป็ น
เวลานาน ท าให เ้ กิด ผลเส ี ย ต่ อ ร่ า งกาย จิ ต ใจและ
บุ ค ลิก ภาพ และเป็ นที่ม าของโรคทางกายหลายชนิด
่ กระเพาะอาหาร ลาไส ้ ปวดศรี ษะ ปวดท ้อง ฯลฯ
เชน
การควบคุมอารมณ์
และการปลดปล่อยอารมณ์
การควบคุมอารมณ์ คือการดูแลรักษาอารมณ์
ี ต่อตนเอง
ของตนเองเอาไว ้ ไม่แสดงออกจนเป็ นผลเสย
และผู ้อืน
่
สว่ น การปลดปล่อยอารมณ์ คือ การระบาย
อารมณ์ออกไปจากตัวเรา การปลดปล่อยอารมณ์ไม่ด ี
ี จะเกิดประโยชน์ตอ
ออกไปเสย
่ ตนเอง เพราะอารมณ์ไม่
ี ต่อ
ดี ถ ้ามีในตัวเรามาก ๆ นานๆ จะเกิดผลเสย
สุขภาพกาย และสุขภาพจิต
วุฒภ
ิ าวะทางอารมณ์
วุฒภ
ิ าวะทางอารมณ์ คือ การมีอารมณ์สมว ัย
EQ (Emotional Quotient)
ื่ ย่อของ Emotional Quotient
EQ เป็ นชอ
ื่ เรียกของ EQ ในภาษาไทยนัน
ชอ
้ เนื่องจากยังไม่ม ก
ี าร
บั ญ ญั ต ิศั พ ท์ อ ย่ า งเป็ นทางการ จึ ง ยั ง มี ช ื่อ เรี ย กกั น
หลากหลาย บ ้างเรียกว่า เชาวน์อารมณ์ ความเฉลียวฉลาดทางอารมณ์ ปั ญญาแห่ ง อารมณ์ วุ ฒ ิภ าวะทาง
อารมณ์ สติอารมณ์ฯลฯ
EQ (Emotional Quotient)
EQ หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการ
ึ และภาวะอารมณ์ของตนเอง
ตระหนักรู ้ความคิด ความรู ้สก
้ ้
และผู ้อืน
่ และสามารถนาข ้อมูล ความรู ้เหล่านั ้นมาใชให
ี้ าความคิด และการกระทาของ
เกิด ประโยชน์ในการช น
ตนเองได ้
EQ (Emotional Quotient)
Goleman ได ้กล่าวว่า องค์ประกอบของ EQ
มีสมรรถนะทีส
่ าคัญ 2 ด ้าน คือ สมรรถนะสว่ น
บุคคล และสมรรถนะทางสงั คม
1.สมรรถนะสว่ น
บุคคล
(personal
competence)
2. สมรรถนะทาง
ั
สงคม
(social
competence)
1.สมรรถนะสว่ นบุคคล
(personal competence)
ได ้แก่
1.1 การตระหนักรู ้จักตนเอง (self awareness)
1.2 การควบคุมตนเอง (self regulation)
1.3 การสร ้างแรงจูงใจทีด
่ ต
ี อ
่ ตนเอง (self motivation)
2. สมรรถนะทางสงั คม
(social competence)
ได ้แก่
2.1 การเอาใจเขามาใสใ่ จเรา (empathy)
2.2 ทักษะทางสงั คม (social skills)
แนวทางการพัฒนา EQ
1
การตระหนักรู ้ในตนเอง (Self-awareness)
2
3
4
5
การบริหารจัดการกับอารมณ์ของตน (Managing emotion)
การจูงใจตนเอง (Motivation oneself)
ึ ของผู ้อืน
การรู ้จักสงั เกตความรู ้สก
่ (Recognizing emotions in others)
ึ ร่วม (Empathy)
หรือความรู ้สก
ั พันธ์กบ
การดาเนินการด ้านความสม
ั ผู ้อืน
่ (Handling relationships)
แบบทดสอบ EQ
ของกรมสุขภาพจิต
ผู ้ทีต
่ ้องการทดสอบ EQ กรุณาคลิก
http://www.watpon.com/test/emotional.htm