PP-จิตวิญญาณของความเป็นครู

Download Report

Transcript PP-จิตวิญญาณของความเป็นครู

จิตวิญญาณของความเป็ นครู
เพือ่ การบ่ มเพาะลูกศิษย์
ในการยึดมัน่ ในสิ่ งทีถ่ ูกต้ องชอบธรรม
โดย
รองศาสตราจารย์ สุภาพ ณ นคร
ผู้อานวยการสานักวิชาศึกษาทัว่ ไป
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัย : แหล่งบ่มเพาะที่ยง่ิ ใหญ่
มหาวิทยาลัยของเราคือ “ขอนแก่น”
เป็ นเหมือนแม้นโรงบ่มเพาะที่ยง่ิ ใหญ่
บ่มภูมิรู ้ บ่มภูมิธรรม อันเกรียงไกร
เพียงหวังให้ศษิ ย์ไทยเป็ นคนดี
เพราะคุณครูคอื ผูส้ ง่ั สอนศิษย์
ครูคอื มิตร คือ ผูใ้ ห้ไม่หวงแหน
ให้ความรัก ให้ความรู ้ ให้แบบแปลน
สิง่ ตอบแทนคือความสุขความยินดี
 หินทัง้ แท่งยังแสร้งทาให้หวาโหว่
แกะสิงห์โตนัน้ ยากยิง่ เหลือแสน
สอนให้คนเป็ นคนดีแม้มีแปลน
ยากเหลือแสนยิง่ กว่าแหวะแกะสิงห์โต
แบบแปลนเรามิใช่เพือ่ แกะสลัก
แต่เพือ่ รักเพือ่ เมตตาเพือ่ หน้าที่
เพือ่ สร้างเสริมเติมแต่งคุณความดี
ให้ผูเ้ รียนมีไว้ในใจตน
ปรัชญาของการศึกษา
“All learning is in the
learner, not in the
teacher.”
Plato, Phaedo 360 B.C.
“อุดมศึกษาจะประสบผลก็ต่อเมื่อ
สามารถทาให้ผูท้ ่ีจบไปแล้ว
รูว้ ่าตนเองยังไม่รใู ้ นสิง่ ใด
และเกิดความใฝ่ รูต้ ลอดชีวิต
ที่จะแสวงหาความรูเ้ หล่านัน้ ”
กระบวนการเรียนรู ้
Information
ท่องจา ได้ยนิ ได้ฟัง
Knowledge
เข้าใจ
Wisdom
วิเคราะห์ เชือ่ มโยง
สร้างสรรค์
ความหมายของจิตวิญญาณ
จิตวิญญาณ นัน้ ประกอบด้วยหลายสิง่ อาทิ
เนื้อแท้ความเป็ นตัวตนของเรา
 พลังจิตใจภายใน
 อารมณ์
 พลังชีวิต
 บุคลิกภาพ อานาจ ศักดิศ์ รี ความรักสวยรักงาม ฯลฯ
การยึดมัน่ ในสิ่ งทีถ่ ูกต้ องชอบธรรม
โดย
ศาสตราจารย์ ธานินทร์ กรัยวิเชียร
องคมนตรี
ชาวอ ังกฤษถือว่าการเป็น “เด็ กดี” สาค ัญกว่า
และต้องมาก่อนการเป็น “เด็ กเก่ง” ด ังนน
ั้ เขาจึง
ฝึ กอบรมเด็กตงแต่
ั้
เข้าใจความด้วยคติธรรมง่ายๆ
7 ประการ คือ
ั
1. สจจะ
พูดความจริง (TRUTH)
ั สจ
ื่ สตย์
2. ความซอ
ุ ริต (HONESTY)
3. ความระลึกในหน้าที่ (SENSE OF DUTY)
4. ความอดกลน
ั้ (PATIENCE)
5. ความเป็นธรรม (FAIR PLAY)
6. ความเอาใจเขามาใสใ่ จเรา
(CONSIDERATION FOR OTHERS)
7. เมตตาธรรม (KINDNESS)
http://home.kku.ac.th/genedu e-mail : [email protected].
สานักวิชาศึกษาทัว่ ไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชาวอ งั กฤษได้ร บ
ั การปลู ก ฝั ง คติ
ธรรมท งั้ 7 ประการนี้ม าต งั้ แต่ เ ด็ ก
ั
จนกระทง่ ั เป็นอุปนิสยประจ
าชาติ และ
เมือ
่ บุคคลใดมีคติธรรมทงั้ 7 ประการ
ค ร บ ถ้ ว น ก็ ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ผู ้ ที่ มี
“INTERGRITY”
อ ันเป็นคุณธรรม
่ ซงึ่ ถือเป็นห ัวใจของคุณธรรม
ทีส
่ ูง ส ง
และจริยธรรมทงปวง
ั้
http://home.kku.ac.th/genedu e-mail : [email protected].
สานักวิชาศึกษาทัว่ ไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ั
ี ร
ในสงคมไทย
ศาสตราจารย์ธานินทร์ กร ัยวิเชย
(ผูเ้ ขียน) ได้เพิม
่ คติธรรมอีก 5 ประการ เพือ
่ ให้
เหมาะสมก บ
ั วฒ
ั นธรรมอ น
ั ดี และสภาพของ
ั
สงคมไทย
คือ
8. ความกต ัญญูกตเวที (GRATITUDE)
9. ความสุภาพนุม
่ นวล (POLITENESS)
10.ความคารวะต่อผูม
้ อ
ี าวุโส
(RESPECT FOR ELDERS)
11. ร ักษาคาพูด (PROMISS)
ี สละเพือ
่ นรวม
12. จิตสานึกสาธารณะ เสย
่ สว
(PUBLIC CONSCIENCE)
ศ าส ต ราจ ารย์ ส ตี เ ฟน แอ ล ค าร์เ ต อ ร์ แห่ ง
มหาวิท ยาล ย
ั เยล สหร ฐ
ั อเมริก า ได้ใ ห้ข อ
้ เสนอว่ า
ื่ ว่าเป็นผูม
บุคคลใดจะได้ชอ
้ ี “INTEGRITY” บุคคลนน
ั้
จะต้องปฏิบ ัติครบถ้วน 3 ขนตอน
ั้
คือ
1. พินจ
ิ พิเคราะห์แยกแยะว่าสงิ่ ใดเป็นสงิ่ ทีถ
่ ก
ู ต้องหรือ
ั
สงิ่ ใดเป็นสงิ่ ทีผ
่ ด
ิ ให้กระจ่างชด
ื่ ว่าถูกต้องอย่างเคร่งคร ัด แม้
2. ปฏิบ ัติตามสงิ่ ทีต
่ นเชอ
ี ผลประโยชน์ก็ตาม
จะทาให้ตนลาบากหรือเสย
3. ประกาศให้ผอ
ู้ น
ื่ ได้ทราบโดยทว่ ั ก ันว่าตนได้ปฏิบ ัติ
่ นนโดยได้
ไปเชน
ั้
พน
ิ จ
ิ พิเคราะห์แยกแยะว่าเป็นสงิ่ ที่
ถูกต้องแล้ว
จิ ตปรั
วิ ญชญญาของการศึ
า ณ ข อ ง ค ว า ม เก
ป็ ษา
น ค รู :
บทบาทในการหล่
ู ก ศิ ษ ย์
“All
learningอหลอมให้
is in ลthe
เป็
นคนดี
ผู
้
เ
ขี
ย
นได้
เ
สนอแนะมาตรการ
learner,
not
in
the
ต่ า งๆที่ จ ะน ามาเสริ ม มาตรการทาง
teacher.”
กฎหมาย ดังนี้
1. มาตรการแก้ไ ขจิต ใจด้ว ย “หิร โิ อตต ัปปะ”
และ “กฎแห่งกรรม”
ปั ญ ห า ค ว า ม เ ส ื่ อ ม โ ท ร ม ท า ง จิ ต ใ จ เ ป็ น
“กิเ ลส” ของต วั บุ ค คล เราจึง ควรมุ่ง แก้ไ ขที่
เรือ
่ งของจิตใจเป็นสาค ัญว่า ทาอย่างไรจึงจะ
ทาให้คนมีหริ โิ อตต ัปปะหรือมีความละอายต่อ
ึ่ จะท า
การกระท าช ว่ ั และเกรงกล ัวต่อ บาป ซ ง
ิ่ ทีไ
ให้เ ขาไม่ก ล้า ทีจ
่ ะท าในส ง
่ ม่ถู ก ต้อ งชอบ
ธรรม
1.2. การปลูกฝังและปลุกจิตสานึกสาธารณะ
(PUBLIC CONSCIENCE) นอกจากทาให ้
ประชาชนมีหริ โิ อตตัปปะอันจะทาให ้เขาไม่ก ล ้าที่
จะทาความชวั่ แล ้ว เรายังจาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ
่ ะต ้อง
สร ้างให ้ประชาชนในชาติมจ
ี ต
ิ สานึกสาธารณะที่
ี สละเพื่อ ประโยชน์ข องส่ว นรวม โดยการ
จะเส ย
“ปลูกฝังจิตสานึกสาธารณะ” ในเยาวชนและ
“ปลุ ก จิต ส านึก สาธารณะ” ในตั ว ผู ใ้ หญ่ ไ ป
พร ้อมกับกระตุ ้นและรบเร ้าให ้ประชาชนเห็นความ
ี งในสว่ นได ้สว่ น
จาเป็ นทีจ
่ ะต ้องเข ้ามามีสว่ นมีเสย
ี ของบ ้านเมือง
เสย
3. กระบวนการร่อนทอง
(A CLEANSING PROCESS)
ึ นึกคิดและพฤติกรรมอ ัน
“ร่อน” ความรูส
้ ก
ไ ม่ พึ ง ป ร า ร ถ น า ใ ห้ ห ลุ ด ร่ ว ง ล ง ไ ป
แ ล ะ ส ร้ า ง ค ว า ม ดี ง า ม ขึ้ น เ ป็ น ล า ด ับ
เปรียบเสมือนการร่อนทองทีต
่ อ
้ งค่อยๆค ัด
กรองเอาเศษหิน เศษดิน ออก ค่อ ยๆร่อ น
จนกระทง่ ั ได้ทองคาทีม
่ ค
ี วามบริสท
ุ ธิจ
์ ริงๆ
ี
4. การผนึกกาล ังก ันในหมูป
่ ระกอบวิชาชพ
เดียวก ัน
(PROFESSIONAL SOLIDARITY)
การผนึก ก าล ง
ั กน
ั นี้น บ
ั เป็ นมาตรการที่
ส าค ัญทีส
่ ุด ประการหนึง
่ ทีจ
่ ะพิท ก
ั ษ์ร ักษาไว้
ั
ึ่ คุณธรรมและจริยธรรมในส งคมให้
ซง
ยง่ ั ยืน
ื ไป
สบ
ถึ ง เ ว ล า แ ล้ ว ที่ พ ว ก เ ร า ช า ว
มหาวิท ยาล ย
ั ขอนแก่น ต้อ งผนึก ก าล งั ก น
ั ใน
ิ ย์ และพร้อมที่
การเป็นแบบอย่างทีด
่ แ
ี ก่ลูกศษ
ิ่ ทีเ่ ราทราบว่ า เป็ น
จะบากบ น
่ ั และกระท าส ง
ความดี เป็นความถูกต้อง และเป็นธรรม ถ้าเรา
ร่วมก ันทาเช่นนีใ้ ห้ได้จริงๆ ให้ผลของความดี
่ ยคา้ จุนสว
่ นรวมไว้มใิ ห้
้ ก็ จะชว
บ ังเกิดมากๆขึน
ื่ มลงไป และจะชว
่ ยให้ฟื้นคืนดีได้เป็นลาด ับ
เสอ