ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ "ดนตรีไทย

Download Report

Transcript ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ "ดนตรีไทย

ดนตรีสมัยอยุธยา
เรือ
่ งดนตรีเกีย
่ วข ้องกับการสร ้างกรุงศรีอยุธยา จาก
เอกสาร“คาให ้การชาวกรุงเก่า” ความว่า
​“… ตามทีซ
่ งึ่ ได ้พบหนองโสนให ้พระองค์ทรงทราบทุก
ประการพระเจ ้าอูท
่ องได ้ทรงฟั งดังนัน
้ ก็ดพ
ี ระทัยยิง่ นัก จึง
ยกพลนิกายรีบเสด็จมาถึงตาบลหนองโสน ประทับพักพล
อยูใ่ นทีใ่ กล ้ฝั่ งแม่น้ านัน
้ ในขณะนัน
้ นทีเทพยดาซงึ่ พิทักษ์
รักษาอยูใ่ นแม่น้ านัน
้ ให ้กระโดดขึน
้ มาบนฝั่ ง ร ้องด ้วย
ี งอันดังตามเพศของปลา และในทันใดนัน
ั ใบ
เสย
้ ฆ ้องชย
หนึง่ ซงึ่ มีมาในกองทัพหลวง ไม่มผ
ี ู ้ใดเคาะตีเลย เผอิญ
ี งลัน
ี งฆ ้องกับเสย
ี ง
ฆ ้องนัน
้ บันดาลให ้มีเสย
่ ดังขึน
้ เอง เสย
ี งเดียวกัน ดุจสาเนียงคน
ปลานัน
้ ดังประสานขึน
้ เป็ นเสย
ผู ้ใดบอกว่า ตาบลนีเ้ ป็ นทีส
่ มควรสร ้างพระนคร สาเนียงนี้
ได ้ยินทราบถนัดในพระโสตพระเจ ้าอูท
่ อง หมูเ่ สนา
อามาตย์ข ้าราชการและไพร่พลทัง้ ปวงก็ได ้ยินประจักษ์
ั ทนิมต
ทั่วไป พระเจ ้าอูท
่ องได ้ทรงสดับศพ
ิ อันเป็ น
อัศจรรย์ดงั นัน
้ ก็ดพ
ี ระทัย จึงทรงพระราชดาริวา่ เทพยดา
จะให ้เราสร ้างพระนครลงในทีน
่ ี้ จึงแสร ้งบันดาลให ้ปลา
ั ให ้ลัน
ผุดขึน
้ มาร ้อง และบันดาลฆ ้องชย
่ ดังขึน
้ เองเป็ น
ี งประสานกัน เหมือนเทพยดาจะบอกให ้รู ้แก่โสตเรา
เสย
ั นิมต
และให ้ไพร่พลทัง้ ปวงได ้ยินทั่วกันดังนี้ เป็ นโชคชย
ิ
เรือ
่ งดนตรีไทยทีป
่ รากฏอยู่ ใน กฎมณเฑียรบาล ซงึ่
มีรายละเอียดดังนี้
ตอนที่ ๑๕
แต่ประตูแสดงรามถึงสระแก ้ว ไอยการหมืน
่ โทวาริก
ผีว้ ชายหญิงเจรจาด ้วย
่ สอ้
กันก็ด ี นั่งในทีส
่ งัดก็ด ี อนึง่ ทอดแหแลตกเบดสุม
้
นซอนชนาง
แล
ร ้องเพลงเรือ เป่ าขลุ่ ย เป่ าปี่ ที่ด ีต ีทั บ ขั บ ร าโห่ ร ้อง
ที่ นั น ไ อ ย ก า ร ห มื่ น โ ท ว า ริ ก ถ า้ จั บ ไ ด โ้ ท ษ ๓
ประการ ประการหนึง่ ให ้สง่ มหาดไท ประการหนึง่ ให ้
ั ลงหญ ้าชาง
้
สง่ องครักษ์ประการหนึง่ ให ้สง่ สก
ตอนที่ ๒๐
“ อนึง่ ในท่อน้ าในสระแก ้ว ผู ้ใดขีเ่ รือคฤเรือปทุนเรือ
กูบแลเรือมีสาตราวุธ
แลใส่ห มวดคลุม หัว นอนมาชายหญิง นั่ ง มาด ้วยกัน
หนึง่ ชเลาะตีดา่ กัน ร ้อง
ี อดีดจเข ้กระจับปี่ ตีโทนทับ
เพลงเรือเป่ าปี่ ขลุ่ย สซ
โห่ร ้องนี่นัน… อนึง่ พิรย
ิ หมู่แขกขอมลาวพม่าเมงม
อญมสุมแสงจีนจามชวานานา ประเทษทังปวง แล
เข ้ามาเดิรในท ้ายสนมก็ด ี ทัง้ นีไ
้ อยการขุนสนมห ้าม
ถ ้ามิได ้ห ้ามปรามเกาะกุมเอามาถึงศาลาให ้แก่เจ ้าน้ า
เจ ้าท่า แ ล ให ้นานาประเทษไปมาในท ้ายสนมได ้
โทษเจ ้าพนักงานถึงตาย
มหาชาติคาหลวง
ผู ้แต่ง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดฯ ให ้นักปราชญ์ราช
บัณฑิตชว่ ยกันแต่ง เมือ
่ จุลศักราช ๘๔๔ พุทธศักราช ๒๐๒๕
ื มหาชาติฉบับภาษาไทย
ประวัต ิ มหาชาติคาหลวงเป็ นหนังสอ
และเป็ นประเภทคาหลวงเรือ
่ งแรก เรือ
่ งเกีย
่ วกับผู ้แต่งและปี ท ี่
แต่งมหาชาติคาหลวง ปรากฏหลักฐานในเรือ
่ งพงศาวดารฉบับ
คาหลวงกล่าวยืนยันปี ทแ
ี่ ต่งไว ้ตรงกับมหาชาติคาหลวงเดิม
หายไป ๖ กัณฑ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล ้านภาลัย
รัชกาลที่ ๒ ทรงมีพระบรมราชโองการให ้พระราชาคณะและ
่ มให ้ครบ ๑๓ กัณฑ์ เมือ
นักปราชญ์ราชบัณฑิตแต่งซอ
่ จุลศักราช
๑๑๗๖ พุทธศักราช ๒๓๔๗ ได ้แก่ กัณฑ์หม
ิ พานต์ ทานกัณฑ์
ั กบรรพ และ
จุลพน มัทรี สก
ฉกษั ตริย ์ ทานองแต่ง แต่งด ้วยคาประพันธ์หลายอย่าง คือ
โคลง ร่าง กาพย์ และฉั นท์ มีภาษาบาลี แทรกตลอดเรือ
่ ง
ื ประเภทคาหลวง
มหาชาติคาหลวงเรือ
่ งนีเ้ ป็ นหนังสอ
ั ดรชาดกร่ายยาว ฉบับทีใ่ ชเป็
้ นแบบเรียนคัดเลือก มี
มหาเวสสน
ิ ชโิ นรส ๕ กัณฑ์ กัณฑ์ทศพร หิม
สานวนของกรมพระปรมานุชต
พานต์ มหาราช ฉกษั ตริย ์ และนครกัณฑ์ พระราชนิพนธ์ในพระ
ั กบรรพ
จอมเกล ้าเจ ้าอยูห
่ ัว ๓ กัณฑ์ กัณฑ์วนปเวส จุลพน สก
สานวนเจ ้าพระยาพระคลัง(หน) ๒ กัณฑ์ กุมาร และมัทรี
พระเทพโมลี คือ มหาพน สานักวัดถนน คือ ทานกัณฑ์ สานัก
วัดสงั กระจาย ชูชก
กัณฑ์มหาราช ชูชกเดินทางเข ้าแคว ้นสวี รี าษฎร์
ั ทรงไถ่สองกุมาร ชูชกได ้รับ
พระเจ ้าสญชย
พระราชทานเลีย
้ งและถึงแก่กรรมด ้วยการ
บริโภคอาหารมากเกินควร
​“ …ขับราภิรมย์ดาดาอวจ แกล ้งปรกวจกลถวาย
แก่ทา่ นเทอญ ปาณิสฺสรา กุมฺภถูณโิ ย ตบมือตี
แฉ่ง วายกลองเทศ พิเลศด ้วยดุรย
ิ างค์ มุทฺทก
ิ า
โสกชฺฌายิกา ขับราสาสรวลวางวายโศก โดย
เสด็จโลกเจ ้าจอมกษั ตริยน
์ ้นน อาหญฺญนฺ ตุ
สพพฺพวีณา ติงพิลลาลานักสวรรค์ดนตรีสสยง
สงั คีตคายันต เภริโย ทินฺทม
ิ านิ ธเมนฺ ตุ แตร
สงั ข์สานายนันทเภรีศ สยงก ้องเปรีดเิ ปรมใจ
นทนฺ ตเุ อกโปกฺขรา ปี่ จน
ี โสดสรในใดต่าง ทงง
กรลุมพางพอฟั ง มุทงิ ฺค ปณวา สงฺขา มหรทึก
สรโพลสงั ข์สยงมี่ ปยวปี่ แก ้วแคนผสาร โคธา
ปริวเทนฺ ตก
ิ า แจรงทรอทรในสารสยงยิง่ จเข ้ดิง่
สารสวรรค์ ทินฺทม
ิ านิ จ หญฺญนฺ ตุ โทลมรรธนิ
ี า ท่าวเทอญ กุฎม
ทันทีเทศ รนนกองเกษตรสม
ุ ฺ
พาทินฺทน
ิ ามิ จาติ ดิง่ ดุรย
ิ างค์ตเี ป่ า ขับล ้วน
จากจดหมายเหตุลาลูแบร์ เรือ
่ งดนตรีไทยทีป
่ รากฏสามารถแยกเป็ น หัว
เรือ
่ งย่อย ๆ ได ้ดังนี้
๑. เครือ
่ งดนตรี พบว่า มีเครือ
่ งดนตรี ดังนี้
๑.๑ เครือ
่ งส ี คือ ซอ (Tro) ชาวสยามมีเครือ
่ งดนตรีฝีมอ
ื หยาบ ๆ เหมือน
ไวโอลินสามสาย เรียกว่า ซอ
ี งแหลม เรียกว่า ปี่ เล่นควบไป
๑.๒ เครือ
่ งเป่ า คือ ปี่ (Pi) เครือ
่ งเป่ าเสย
ี งแหลม คงจะ
กับฆ ้อง และแตร (Tre) ทาด ้วยไม ้มีขนาดเล็กและเสย
หมายถึงขลุย
่
ี ง ได ้แก่
๑.๓ เครือ
่ งตี แบ่งตามวัสดุทผ
ี่ ลิตเสย
๑.๓.๑ เครือ
่ งดนตรีประเภทไม ้
้
กรับ (crab) ใชประกอบการขั
บร ้องเพลง ผู ้ทีร่ ้องเพลงนัน
้ เรียกว่า ชา่ ง
้ นในวันสุก-ดิบก่อนวันแต่งงาน ๑ วัน พร ้อมกับ
ขับ (chang-cab) ใชเล่
ิ้
เครือ
่ งดนตรีอก
ี หลายชน
๑.๓.๒ เครือ
่ งดนตรีประเภทโลหะ
้ ้สน
ั ้ ๆ ตีไปตามจังหวะ
- ฆ ้อง (cong) ทาด ้วยทองแดง ใชไม
ี งทุ ้ม
เพลง แต่ละใบแขวนอยูบ
่ นขาตัง้ แสดงว่าอาจมีหลายขนาด มีเสย
- โฉ่งฉ่าง (schoung-schang) รูปทรงคล ้ายฆ ้อง แต่บางและ
กว ้างกว่า คงหมายถึงฉาบ
ี งคูก
- พาทย์ฆ ้อง (pat cong) หรือฆ ้องวง น่าจะมี ๕ ระดับเสย
่ น
ั
แสดงว่าอาจมี ๑๐ ลูกฆ ้องขึน
้ ไป ตีด ้วยไม ้สองอัน
๑.๓.๓ เครือ
่ งดนตรีประเภทหนัง
- ตะลุงปุงปั ง (Tlounpounpan) ทาด ้วยหนัง ขึงสองหน ้า
ื กติดอยูแ
ี บ
คล ้ายกลองรามะนา สองขามีลก
ู ตุ ้มตะกัว่ ผูกเชอ
่ ละคันไม ้เสย
เป็ นคันถือ เวลาเล่นหมุนคันไม ้กลับไปกลับมา ลูกตุ ้มจะแกว่งไปกระทบ
หน ้ากลอง คงหมายถึงบัณเฑาะว์นั่นเอง
้ ้หมักเหล ้า มี
- ตะโพน (Tapon) รูปร่างเหมือนถังไม ้ทีใ่ ชไม
๑.๔ การร ้องขับประกอบดนตรี
้ ้สองชน
ิ้ สน
ั ้ ๆ เรียกว่า กรับ ขยับให ้กระทบกันไปพร ้อม ๆ กับขับร ้อง
บางทีก็ใชไม
เพลง ผู ้ร ้องเพลงเรียกว่า ชา่ งขับ พวกราษฎรพอใจขับร ้องเล่นในตอนเย็น ตามลานบ ้าน
้ แล ้วใชก้ าปั ้นขวาทุบหน ้า
พร ้อมด ้วยกลองชนิดหนึง่ เรียกว่า โทน เขาถือโทนไว ้ในมือซาย
กลองเป็ นระยะ ๆ โทนนัน
้ ทาด ้วยดิน (เผา) รูปร่างเหมือนขวด แต่ไม่มก
ี ้น แต่หุ ้มหนังแทน
ื กผูกรัดกระชย
ั ไว ้กับคอ (ขวด) นัน
มีเชอ
้
๑.๕ เครือ
่ งประโคม
ชาวสยามมีเครือ
่ งประโคมเทียมเข ้าในขบวนแห่ ในวันทีค
่ ณะฑูต (ฝรั่งเศส)
ั ้ ใน เห็นคนตัง้ ร ้อยหมอบ
เข ้าเฝ้ าพระเจ ้ากรุงสยาม เป็ นครัง้ แรก ในลานพระราชมณเฑียรชน
่ ฝี มอ
อยูเ่ ป็ นแถว บางคนถือแตรเล็ก
ื หยาบ ๆ ไว ้เพือ
่ อวดโดยไม่ได ้เป่ าเลย บางคนมีกลอง
ใบย่อม ๆ วางไว ้ตรงหน ้า แต่ไม่เห็นได ้ตี
้
เครือ
่ งประโคมโดยเสด็จ ฯ เพลงเดินทีใ่ ชประโคมเมื
อ
่ คณะฑูต (ฝรั่งเศส) เข ้า
ี งของเครือ
ไปในพระราชวังนัน
้ เป็ นเสย
่ งดนตรีดังกล่าว บรรเลงขึน
้ พร ้อมกัน แม ้แปลกหูแต่
ี งทีก
น่าฟั ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ เสย
่ ้องไปในแม่น้ า
นอกจากนี้ ยังกล่าวถึงการแสดงโขน(Cone)ว่า “เป็ นการร่ายรา เข ้าๆออกๆหลายคารบ ตาม
จังหวะ ซอและเครือ
่ งดนตรีอย่างอืน
่ ” (คารบ หมายถึง ครัง้ ) ท่านได ้สงั เกตและอธิบาย
ลักษณะเครือ
่ งดนตรีเท่าทีท
่ า่ นได ้เห็นได ้ฟั งไว ้
ื จินดามณี
• โคลงในหนังสอ
บรรยายถึงวงมโหรีไว ้ว่า
ี ง
นางขับขานเสย
แจ ้ว พึงใจ
ตามเพลงกลอนกล
ใน
ภาพพร ้อง
มโหรีบรรเลง
ไฉน
ซอ
พาทย์
ทับ กระจับปี่ ก ้อง
เร่ง
เร ้ารัญจวน ฯ
บทพากย์หนังใหญ่
ลงการากษสสาแดง อยุธยากล ้าแข็ง
จะเล่นให ้ท่านทัง้ หลายดู
ั ศรีโขลนทวารเบิกบานประตู​ฆ ้องกลองตะโพนครู
ชย
ดูเล่นให ้สุขสาราญ
ี รโบกควัน
จึงจุดธูปเทียนฉั บพลัน​จบเศย
ั
แล ้วเจิมซงึ่ ปลายศรชย
พลโห่ขานโห่หวัน
่ ไหว​ปี่แแจ ้วจับใจ
ตะโพนและกลองฆ ้องขาน
เร่งเร็วเอาเทียนติดปลายศรี​อา่ นเวทย์ขอพร
ศรีสวัสดิส
์ มพอง
พลโห่ขานโห่ทัง้ ผอง​พณ
ิ พาทย์ตะโพนกลอง
ดูเล่นให ้สาราญ​
ปุณโณวาทคาฉันท์
พระมหานาค วัดท่าทราย
มหรสพของหลวง มีมาแต่โบราณสมัยอยุธยา เป็ นการเล่นใน
งานสมโภชของหลวง ซงึ่ มีอยู่
หลายอย่าง แต่ทม
ี่ ก
ี ารฟ้ อน การเต ้น การรา ด ้วยนัน
้ มีอยูไ่ ม่ก ี่
่ ระเบง โมงครุม
อย่าง เชน
่ กุลาตี
ไม ้ แทงวิไสย ราโคม มหรสพในงานสมโภชของหลวงนี้ มี
ื ต่อมาจนปรากฏ
ตานานเรือ
่ งราวสบ
อยูใ่ นกฎมณเทียรบาลบ ้าง พงศาวดารและวรรณคดีตา่ งๆ บ ้าง
แม ้ในการเขียนภาพจิตรกร
ประดับผนังโบสถ์บางแห่ง ก็ยงั ได ้เขียนภาพ การแสดงการเล่น
ต่างๆ ไว ้ การเล่นอืน
่ ๆ
นอกเหนือจากข ้างต ้น ก็ยงั มี หกคะเมน ไต่ลวด ลอดบ่วง นอน
ดาบ โยนมีด พุง่ หอก ยิงธนู รา
แพน เป็ นต ้น
กาพย์เห่เรือ พระนิ พนธ ์ เจ ้าฟ้ าธรรมธิเบศร์
ลักษณะคำประพันธ ์
้
๑. ร ้อยกรอง ประเภทกาพย์เห่เรือ จบด ้วย กาพย์หอ
่ โคลง ( บางตาราใชกาพย์
หอ
่
โคลงเห่เรือ )
ี่ ภ
๒. กาพย์เห่เรือ ๑ บท ประกอบด ้วย โคลงสส
ุ าพนา ๑ บท แล ้วกาพย์ยานี ๑๑ ไม่
ี่ ภ
จากัด จานวนบท โดยให ้กาพย์ยานี ๑๑ บทแรก มีเนือ
้ ความเดียวกันกับโคลงสส
ุ าพที่
นากาพย์
่
ควำมรู ้เพิมเติ
ม
๑. ตานานการเห่เรือ สมเด็จพระเจ ้าบรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดารงราชานุภาพทรง
ั นิษฐานว่า
สน
้ น
การเห่เรือของไทยน่าจะได ้แบบอย่างมาจากประเทศอินเดีย แต่ประเทศอินเดียใชเป็
้ บอกจังหวะฝี พายพร ้อม
มนต์ในตาราไสยศาสตร์บช
ู าพระราม สว่ นของประเทศไทยใชเห่
ึ เพลิดเพลิน
กัน เพือ
่ เป็ นการผ่อนแรงในการพายและทาให ้รู ้สก
๒. ประเภทของการเห่เรือ แบ่งได ้เป็ น ๒ ประเภท คือ
๑) เห่เรือหลวง เป็ นการเห่เนือ
่ งในงานพระราชพิธใี นการเสด็จพระราชดาเนิน
โดยขบวน
่ ขบวนพยุหยาตราทางชลมารคในคราวสมโภชน์กรุง
พยุหยาตราทางชลมารค เชน
ิ ทร์ครบ ๒๐๐ ปี
รัตนโกสน
๒) เห่เรือเล่น เป็ นการเห่เวลาเล่นเรือเทีย
่ วเตร่เพือ
่ ความสนุกสนานรืน
่ เริง และให ้
จังหวะฝี พายพายพร ้อมกัน การเห่เรือในปั จจุบน
ั นาเอาบทเห่เรือเล่นทีเ่ จ ้าฟ้ าธรรมธิเบศร
้ เรือมาตัง้ แต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยูห
ทรงพระนิพนธ์ไว ้ ซงึ่ ใชเห่
่ วั
๓. การเห่เรือ การเห่โคลงนากาพย์เรียกว่า "เกริน
่ โคลง" สว่ นการเห่เรือ มี ๓
ละครนอก มีมาตัง้ แต่ครัง้ กรุงศรีอยุธยา เป็ นละครทีแ
่ สดง
กันนอกราชธานี แต่เดิมคงมาจากการละเล่นพืน
้ เมือง และ
ร ้องแก ้กัน เป็ นละครทีพ
่ ัฒนามาจากละครชาตรี แต่เดิมคงมี
ตัวละครเพียง ๓-๔ ตัว อย่างละครชาตรี ต่อมามีการแสดง
ละครกันอย่างแพร่หลายทัว่ ไปในหมูร่ าษฎร มีการเล่นเรือ
่ ง
ต่างๆ มากขึน
้ ต ้องเพิม
่ ตัวละครขึน
้ ตามเนือ
้ เรือ
่ ง ผู ้แสดง
ยังคงเป็ นชายล ้วน แต่การแต่งกายได ้ประดิษฐ์เพิม
่ เติม
เปลีย
่ นแปลงให ้ประณีตงามขึน
้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา นิยม
เล่นกันหลายเรือ
่ ง ล ้วนแต่เป็ นประเภทจักรๆ วงศๆ์ นิทาน
่ การเกด คาวี
ชาวบ ้าน นิทานชาดก มีคติสอนใจ เชน
ไชยทัต พิกล
ุ ทอง พิมพ์สวรรค์ พิณสุรย
ิ วงศ ์ มโนราห์ โม่ง
ั สงั ข์ทอง
ป่ า มณีพช
ิ ย
ดนตรีและเพลงร ้อง
้ ่ พาทย์เครือ
มักนิยมใชวงปี
่ งห ้า ก่อนการแสดงละคร
นอก ปี่ พาทย์จะบรรเลงเพลงโหมโรงเย็น เป็ นการเรียกคน
ดู เพลงโหมโรงเย็นประกอบด ้วย เพลงสาธุการ ตระ รัวสาม
ั้
ลา เข ้าม่าน ปฐม และเพลงลา เพลงร ้อง มักเป็ นเพลงชน
ละครใน เป็ นละครทีเ่ กิดขึน
้ ในพระราชฐานจึงเป็ นละครทีม
่ ี
ระเบียบแบบแผน สุภาพละครในมีความมุง่ หมายสาคัญอยู่ 3
ิ ปของการราอันสวยงามรักษา
ประการ คือรักษาศล
ขนบธรรมเนียมประเพณีเคร่งครัด รักษาความสุภาพทัง้ บทร ้อง
และเจรจา เพราะฉะนัน
้ เพลงร ้อง เพลงดนตรี จึงต ้องดาเนิน
้ อ
้
จังหวะค่อนข ้างชาเพื
่ ให ้ราได ้อ่อนชอยสวยงาม
้ ่ พาทย์ จะเป็ นวงเครือ
ดนตรี ใชวงปี
่ งห ้าเครือ
่ งคูห
่ รือเครือ
่ งใหญ่
ก็ได ้โรงมีลก
ั ษณะเดียวกับโรงละครนอกแต่มก
ั เรียบร ้อยสวยงาม
กว่าละครนอก เพราะใชวั้ สดุทม
ี่ ค
ี า่ กว่าเนือ
่ งจากมักจะเป็ นละคร
ของเจ ้านาย หรือผู ้ดีมฐ
ี านะ เครือ
่ งแต่งกายแบบเดียวกับละคร
นอก แต่ถ ้าแสดงเรือ
่ งอิเหนาตัวพระบางตัวจะสวมศรี ษะด ้วย
้
ปั นจุเหร็จในบางตอน (ปั นจุเหร็จในสมัยปั จจุบน
ั มักนาไปใชใน
ี ง ลูกคู่
การแสดงเรือ
่ งอืน
่ ๆด ้วย) การแสดง มีคนบอกบท ต ้นเสย
การร่ายราสวยงามตามแบบแผน เนือ
่ งจากรักษาขนบประเพณี
เคร่งครัดการเล่นตลกจึงเกือบจะไม่มเี ลย
บททีแ
่ ต่งใชถ้ ้อยคาสุภาพคาตลาดจะมีบ ้างก็ในตอนที่
กล่าวถึงพลเมือง ผูแสดงเป็ นผู ้หญิงล ้วนตัวประกอบอาจเป็ น