Transcript AEC

AEC
อาเซียน
และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC : ASEAN Economic Community
1
หัวข้อการนาเสนอ
1. แนะนาอาเซียน
2. อาเซียน -- จากอดีตสู่ปัจจุบนั
3. การจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
4. ประโยชน์ จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
2
แนะนาอาเซียน
AEC
3
อาเซียน ASEAN
• ก่อตัง้ เมื่อปี 2510(1967) ครบรอบ 45 ปี (2555)
• จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมันคง
่ เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์
สมาชิก และปี ทีเ่ ข้าเป็ นสมาชิก
ปี 2540
อาเซียน 6
สมาชิกใหม่ CLMV
ปี 2540
ปี 2510
ปี 2510
ปี 2538
ปี 2510
ปี 2542
ปี 2527
ปี 2510
ปี 2510
4
ทาไม ไทยต้องเข้าร่วมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน?

ใกล้ชิดไทยทีส่ ดุ ทัง้ ทางภูมิศาสตร์ การเมือง และเศรษฐกิจ

กระแสโลกาภิวตั น์ ทีฝ่ ื นไม่ได้
ไทยพึง่ พาการค้าโลกในระดับสูง
ต้องปรับตัวตามกระแสโลกาภิวตั น์ จึงจะอยู่รอด
ถ้าไทยอยู่นิ่ง = ถอยหลัง

การเจรจารอบโดฮาไม่คืบหน้ า
มีแนวโน้ มมุ่งการทาFTA – ทวิภาคี หรือ ภูมิภาค
5
ความสาคัญของอาเซียนต่อไทย
การส่งออกไปอาเซียน และ การนาเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด
มูลค่า
ี น
การค้าของไทยก ับอาเซย
(ล้านเหรี ยญสรอ.)
40,000
33,429 US$
35,000
30,000
25,000
20,000
15,000
10,000
27,155 US$
5,000
ปี
19
91
19
92
19
93
19
94
19
95
19
96
19
97
19
98
19
99
20
00
20
01
20
02
20
03
20
04
20
05
20
06
20
07
0
ี น
การสง่ ออกไทยไปอาเซย
ี น
การนาเข ้าไทยจากอาเซย
6
ความสาคัญของอาเซียนต่อไทย
นอกจากนัน้ อาเซียนได้กลายเป็ นตลาดส่งออกสาคัญที่สดุ ของไทย
สัดส่วนตลาดอาเซียนได้ขยายตัวจาก 12.4% เป็ น 21.3%
ปี พ.ศ. 2534(ค.ศ.1991) ก่อนการตัง้ AFTA
มาเลเซีย
2.4%
อืน
่ ๆ
สหภาพยุโรป
26.5%
อินโดนีเซีย
0.8%
เวียดนาม
ปี พ.ศ. 2550/ ค.ศ.2007
อืน
่ ๆ
40.2%
มาเลเซีย
5.1%
อินโดนีเซีย
3.1%
เวียดนาม
2.5%
0.1%
21.7%
กัมพูชา
0.9%
ฟิลป
ิ ปิ นส์
ASEAN
12.4%
0.4%
กัมพูชา
ASEAN
21.3 %
ลาว
0.9%
0.0%
ลาว
ญีป
่ น
ุ่
สหรัฐอเมริกา
21.3%
18.1%
0.3%
พม่า
สิงคโปร์
8.2%
บรูไน
0.2%
ฟิ ลป
ิ ปิ นส์
1.9%
สหภาพยุโรป
14.0%
สหรัฐอเมริกา
12.6%
พม่า
0.6%
ญีป
่ น
ุ่
11.9%
สิงคโปร์
6.3%
บรูไน
0.1%
0.1%
7

คู่ค้า-คู่แข่งของไทย ล้วนดาเนินนโยบายการค้าเชิงรุก
ต่างเร่งทา FTA
สินค้าไทยเสียเปรียบในตลาดทีป่ ระเทศคู่แข่งมี FTA อยู่
อาเซียนเองก็ต้องแข่งกับ อินเดีย จีน เพือ่ ดึงการลงทุน
Regional Bloc ทีส่ าคัญ นอกเหนื อจากอาเซียน
Asia
- CER (ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์)
Europe
- EU ( 27 ประเทศ)
South America - MERCOSUR (Mercado Comun del Sur 4 ประเทศ)
- LAIA (Latin America Integration 12 ประเทศ)
North America - NAFTA (North America Free Trade Agreement)
Africa
- SACU (South Africa Customs Union)

8
อาเซียน -- จากอดีตถึงปั จจุบนั --
AEC
9
ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซี ยนที่สาคัญเท่าที่ผ่านมา
1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)
• ลงนาม (โดย นรม.อานันท์ ปันยารชุน) ปี 2535 เริ่มใช้ 2536
2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (AFAS)
• ลงนาม (โดย นรม.อานวย วีรวรรณ) ปี 2538 เริ่มใช้ 2539
3. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO)
• เริ่มใช้ ปี 2539
4. เขตการลงทุนอาเซียน (AIA)
• ลงนาม (โดย รม.ศุภชัย พานิชย์ภกั ด์ ิ ) เริ่มใช้ ปี 2541
10
มุ่งสู่การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
2546 ผูน้ าอาเซียน ลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II)
แสดงเจตนารมณ์การนาอาเซียนไปสู่ “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community)
ในปี 2020 (2563)
ปี

ต่อมา ปี 2550 ผูน้ าอาเซียนลงนามในปฏิญญาเซบู เร่งรัดการเป็ น “ประชาคม
อาเซียน”ให้เร็วขึน้ เป็ นปี 2015 (2558)
2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามรับรอง AEC Blueprint แผนงานการจัดตัง้
“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community : AEC)
 ปี
 เมื่อ พฤศจิกายน 2550 ผูน
้ าอาเซียนลงนามใน “ปฎิญญาว่าด้วยแผนงานการจัดตัง้
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ ร่วมกันดาเนินการให้สาเร็จ
ตามกาหนดในปี 2558
11
อาเซียนในมิติใหม่
-- การจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน --
AEC
12
ประชาคมอาเซียน
ปี 2558 (2015)
ประชาคม
เศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC)
ประชาคม
ความมันคง
่
อาเซียน (ASC)
ประชาคม
สังคม-วัฒนธรรม
อาเซียน
(ASCC)
AEC
•พิมพ์เขียว AEC
•AEC Blueprint
ตารางดาเนินการ
Strategic
Schedule
13
AEC Blueprint
วัตถุประสงค์ 4 ด้าน
Single Market and
production base
High competitive
economic region
แผนงานส่งเสริมการ
เคลื่อนย้ายสินค้า
บริการ การลงทุน
แรงงาน และ
เงินทุนทีเ่ สรี โดยลด
อุปสรรคในด้านต่างๆ
แผนงานส่งเสริมขีด
ความสามารถในด้าน
ต่างๆ เช่น นโยบาย
การแข่งขัน
ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
e-commerce ฯลฯ
Equitable
economic
development
- แผนงานส่งเสริมการ
รวมกลุ่มของประเทศ
สมาชิก
- ลดช่องว่าง/ความ
แตกต่างของระดับ
การพัฒนาระหว่าง
สมาชิกเก่าและใหม่
Fully Integrated
into
global economy
- แผนงานส่งเสริมการ
รวมกลุ่มเข้ากับ
ประชาคมโลก
-ปรับประสานนโยบาย
ในระดับภูมภิ าค
- สร้างเครือข่ายการ
ผลิต/จาหน่าย
14
14
แผนงานสาคัญภายใต้ AEC Blueprint
เป้ าหมาย AEC
1. เป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม
มุ่งดาเนินการให้เกิด…….
AEC
เคลือ่ นย้ายสินค้าเสรี
เคลือ่ นย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
เคลือ่ นย้ายบริการอย่างเสรี
เคลือ่ นย้ายการลงทุนอย่างเสรี
เคลือ่ นย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้ น
15
เป้ าหมาย AEC
2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน
ความร่วมมือในด้านต่างๆ
e-ASEAN
AEC
นโยบายการแข่งขัน
พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน
นโยบายภาษี
สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา
การคุ้มครองผูบ้ ริโภค
16
เป้ าหมาย AEC
AEC
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่าและใหม่
สนับสนุนการพัฒนา SMEs
17
เป้ าหมาย AEC
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
AEC
จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
ASEAN - China
สร้างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
ASEAN - Korea
ASEAN- Japan
ASEAN- India
ASEAN- AUS/NZ
ASEAN- EU
ASEAN- US (TIFA)
18
ประโยชน์จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC
19
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
ผลประโยชน์จากการเปิ ดเสรีการค้าสินค้า บริการและการลงทุน
ตลาดขนาดใหญ่

ประชากรกว่า 560 ล้านคน

Economy of Scale

ดึงดูดการค้าการลงทุนจากภายนอกอาเซียน
AEC
20
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
ผลประโยชน์จากการเปิ ดเสรีการค้าสินค้าและลงทุน
ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ
AEC

ได้ประโยชน์ จากทรัพยากรในภูมิภาคอาเซียน

วัตถุดิบถูกลง ต้นทุนผลิตสินค้าตา่ ลง ขีดความสามารถแข่งขันสูงขึ้ น

เลือกหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี และสถานทีผ่ ลิตทีไ่ ด้เปรียบทีส่ ุด
กลุ่มที่มีวตั ถุดิบและ
แรงงาน
เวียดนาม กัมพูชา
พม่า ลาว
กลุ่มที่มีความถนัด
ด้านเทคโนโลยี
กลุ่มที่เป็ นฐานการผลิต
สิงคโปร์
มาเลเซีย ไทย
ไทย มาเลเซีย
อินโดนีเซีย เวียดนาม
21
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
ผลประโยชน์จากการรวมกลุ่มของอาเซียน
เพิม่ กาลังการต่อรอง
 10 เสียง ดังกว่าเสียงเดียว
 แนวร่วมในการเจรจาต่อรอง ในเวที การค้าโลก เช่น WTO
22
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
AEC
ผลประโยชน์จากการรวมกลุ่มของอาเซียน
FTA
อาเซียน-คู่เจรจา
 ให้ประโยชน์ ที่มากขึน
้ กว่า FTA ทวิภาคีของไทยกับประเทศคู่ค้า
โดยการใช้แหล่งกาเนิดสินค้าสะสมในอาเซียน
อาเซียน – ญีป่ นุ่ AJFTA
อาเซียน – เกาหลี AKFTA อาเซียน – อินเดีย AIFTA
อาเซียน – CER(ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์
อาเซียน – EU
 เป็ นที่ น่าสนใจสาหรับประเทศอื่นๆ ที่ จะทา FTA กับอาเซี ยน
23
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
AEC
เราจะ ได้ – เสีย อะไร
จาก.. AEC
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
AEC
AEC
โอกาส
อ ุปสรรค
1. ตลาด 10 ประเทศ
รวมเป็นหนึ่งเดียว
- มีตลาดที่ใหญ่ข้ ึน
(เกิด economy of scale)
- ต้นท ุน “คแู่ ข่ง” ลดต่าด้วย
2. ภาษีนาเข้าเป็น “ศูนย์ ”
- ขยายการส่งออกได้เพิ่มขึ้น
- มีทางเลือกเพิ่มขึ้นในการนาเข้า
วัตถ ุดิบทัง้ ราคาและค ุณภาพสินค้า
- สินค้าประเภทเดียวกันจาก
อาเซียนเข้ามาแข่งขันเพิ่มขึ้น
3. ทาธ ุรกิจด้านบริการ
ในอาเซียนได้อย่างเสรี
- ไปตัง้ ธ ุรกิจและขยายธ ุรกิจบริการได้
- ธ ุรกิจด้านบริการในอาเซียนเข้า
4. แรงงานฝีมือเคลื่อนย้าย
ได้อย่างเสรี
- แก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานฝีมือ - ไทยอาจถ ูกแย่งแรงงานฝีมือ
อย่างเสรี
มาแข่งขันมากขึ้น
ถ้ามีสิ่งที่ถ ูกใจกว่า
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
AEC
AEC
5. AEC เป็นฐานการผลิต
ร่วม การลงท ุนอาเซียน
6. ความร่วมมือด้านการ
อานวยความสะดวกทาง
การค้า
7. FTA อาเซียนกับคคู่ า้
ต่างๆ ASEAN +3, +6
โอกาส
อ ุปสรรค
- สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังอาเซียน - คแู่ ข่งอาเซียนอาจจะเข้ามาแข่ง
อื่นที่เหมาะสม เพื่อเสริมความสามารถ
ในเขตแดนเรา เพื่อมาใช้ความ
การแข่งขัน
ได้เปรียบ ของปัจจัยการผลิต
บางอย่าง
- ระบบโลจิสติกส์ ในภ ูมิภาคมีความ
สะดวกมากขึ้นและราคาถ ูกลง
- ต้นท ุนโลจิสติกส์ของคแู่ ข่ง ใน
อาเซียนก็จะลดลงด้วย หากเขา
ดีกว่า
- ได้เปรียบด้านภาษีนาเข้าเมื่อเทียบกับ
- นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศ
สินค้าของประเทศคแู่ ข่งอื่นในตลาด
คคู่ า้ เหล่านี้
อาเซียนแล้วยังมีคแู่ ข่งเพิ่มจาก
ประเทศ +3 หรือ +6
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
AEC
เราจะใช้ประโยชน์
เพื่อ.. ปรับตัว
จากผลของ AEC อย่างไร ?
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
AEC
เตรียม..ร ุก
1. ศึกษาเสาะหาแหล่งวัตถ ุดิบใน AEC
นาเข้าวัตถ ุดิบ สินค้ากึ่งสาเร็จรปู จากแหล่งผลิต
ใน AEC ที่มีความได้เปรียบด้าน ราคา /ค ุณภาพ
2. ศึกษารสนิยม/ความต้องการใน AEC
ขายให้ตลาดใหญ่ข้ ึน และใช้ประโยชน์จาก
Economy of scale ให้เต็มที่
3. ด ูความเป็นไปได้การย้ายฐานผลิต
สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศ
ที่เหมาะสมเป็นแหล่งผลิตได้
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
AEC
เตรียม..รับ
1. เรียนรูค้ แู่ ข่ง
เกิดค่แู ข่งใหม่จากอาเซียนทัง้ 9 ประเทศ
และยังมีเพิ่มอีกคือ +3 และ +6
2. ไม่ละเลยการลดต้นท ุน
เพราะต้นท ุนของค่แู ข่งก็..ลดต่าลง
3. เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน
ค่แู ข่งจะเข้ามาแข่งถึงในเขตแดนเรา
4. ผูกมัดใจล ูกค้าท ุกรูปแบบ
บริษทั ที่อยูใ่ นอ ุตสาหกรรมรองรับ หรือ เคยผลิต
& สร้างความแตกต่างด้วย
ส่งบริษทั แม่ อาจถูกแย่งล ูกค้า โดยค่แู ข่งใน
ความคิดสร้างสรรค์ ค ุณภาพ/มาตรฐาน ประเทศอื่นที่ได้เปรียบกว่าในการเป็นฐานการ
ผลิต
5. ต้องคิด “ทาอย่างไรให้เขา อยูก่ บั เรา” อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ
อยู(่ กับเรา)”
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
AEC
AEC
AEC
ประสิทธิภาพ ↑
เน้นมาตรฐาน ↑↑↑
ผลตอบแทน ↑
(ค ุณภาพสินค้า
และการบริกaาร)
ต้นท ุน ↓
→
→
ตลาดโลก
ความยัง่ ยืน
(Global)
→→
แนวคิดเบือ้ งต้ นเกีย่ วกับ การศึกษานอกระบบ
AEC
• ดร.โกวิท วรพิพฒั น์ ให้ทศั นะว่า การศึกษานอกระบบ
โรงเรี ยน หมายถึง ประสบการณ์ และกิจกรรมที่จดั นอก
ระบบการศึกษาในโรงเรี ยนภาคปกติ เพื่อส่ งเสริ มความ
รู ้ความ สามารถทั้งในด้านความรู ้ทวั่ ไปและวิชาชีพ ให้
ประชาชนมีความเป็ นอยูท่ ี่ดี มีสมั มาอาชีพและทาหน้าที่
พลเมืองให้ดีข้ ึน
AEC
• ศาสตราจารย์ Brembeck และคณะ
• ได้สรุ ปลักษณะ 3 ประการของการศึกษานอกระบบโรงเรี ยน
•
1. เป็ นกิจกรรมทางการศึกษา ที่จดั ให้ผมู้ ีอาชีพแล้วได้มี
โอกาสมาฝึ กฝน ทักษะและหาความรู้เพิ่มเติม
•
2. เป็ นกิจกรรมการศึกษาที่เตรี ยมบุคคลส่ วนใหญ่ที่เป็ น
เยาวชนเพื่อให้มีความรู ้ก่อนที่จะไป ประกอบอาชีพ
•
3. เป็ นกิจกรรมการศึกษาที่จดั ขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะความรู้
ความเข้าใจ เกี่ยวกับงานของโลก
การจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนและการศึกษา
อัธยาศัยที่เราท่ านควรคิดดาเนินการ
AEC
• การเปลีย่ นแปลงของสั งคมอาเซียนในอนาคต
• การพัฒนาคนไทยให้ มคี วามเข้ มแข็ง สามารถอยู่ได้ ใน
สั งคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่ างรวดเร็ว
• Empowerment ทางการศึกษาให้ กบั คนไทย
อย่ างมีคุณค่ าสามารถปรับตัวได้ ทนั กับการเปลีย่ นแปลง
AEC(โจทย์) NFE ought to….
วัตถุประสงค์ 4 ด้าน
Single Market and
production base
High competitive
economic region
แผนงานส่งเสริมการ
เคลื่อนย้ายสินค้า
บริการ การลงทุน
แรงงาน และ
เงินทุนทีเ่ สรี โดยลด
อุปสรรคในด้านต่างๆ
แผนงานส่งเสริมขีด
ความสามารถในด้าน
ต่างๆ เช่น นโยบาย
การแข่งขัน
ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา
e-commerce ฯลฯ
Equitable
economic
development
- แผนงานส่งเสริมการ
รวมกลุ่มของประเทศ
สมาชิก
- ลดช่องว่าง/ความ
แตกต่างของระดับ
การพัฒนาระหว่าง
สมาชิกเก่าและใหม่
Fully Integrated
into
global economy
- แผนงานส่งเสริมการ
รวมกลุ่มเข้ากับ
ประชาคมโลก
-ปรับประสานนโยบาย
ในระดับภูมภิ าค
- สร้างเครือข่ายการ
ผลิต/จาหน่าย
34
34
วันพฤหัสที่ 1 มกราคม 2558 เปิ ดเสรี ด้าน
1.การค้าสิ นค้า
2.การค้าบริ การ
3.การลงทุน การเคลื่อนย้ายเงินทุน
4.การเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือ สาขาเร่ งรัด
ผลิตภัณฑ์ไม้ ผลิตภัณฑ์เกษตร ยานยนต์ ยาง สิ่ งทอ ประมง
อิเล็กทรอนิกส์ สุ ขภาพ ท่องเที่ยว การบิน โลจิสติกส์
• 5.ด้านอาหาร
• 6.เกษตรและป่ าไม้
•
•
•
•
•
•
• สิ งค์โปร์และมาเลเซีย เริ่ มใช้บริ ษทั เครื อข่ายเข้ามา
ถือหุน้ ในกลุ่มต่าง ๆ ในประเทศไทย เช่น
โรงพยาบาล ธนาคารพานิชย์ หรื อ การลงทุนทาง
ธุรกิจด้านการพัฒนาไร่ ขนาดเล็ก / ขนาดใหญ่ โดย
เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และแรงงาน ในกลุม่
ทรัพยากร พลังงานก่อสร้าง อุตสาหกรรม
โทรคมนาคม การท่องเที่ยวและการบริ การต้อนรับ
(2012 เริ่ มแล้ว)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
AEC
ไทยเตรียมความ
พร้อมอย่าไงไร
How to Learn / How to Teach
•
•
•
•
•
•
•
•
ภาษา
วัฒนธรรม ชีวติ เงินตรา อาหาร โภชนาการ เสื้อผ้ า
กระบวนการผลิต
สิ นค้ าและการบริการ
การเคลือ่ นย้ ายแรงงาน
กฎหมายหลักของแต่ ละประเทศ
สภาพทางภูมิศาสตร์
ประวัติศาสตร์ เพือ่ นบ้ านของเรา ฯลฯ
AEC
ในฐานะ กศน. เราควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้อะไรบ้ าง
• 1. ส่ วนของคนไทยด้ วยกันที่จะต้ องรีบเร่ งดาเนินการเพือ่ การ
AEC
เตรียมพร้ อมการแข่ งขัน ใน 900 วัน นับแต่ นี้
• การเพิม่ การเรียนรู้ เกีย่ วกับเพือ่ นบ้ านของเราในทุก ๆ มิติ เช่ น อาหาร
ทักษะชีวติ ของเพือ่ นบ้ าน การศึกษาของเพือ่ นบ้ าน แบบเรียนของเพือ่ น
บ้ าน
• การเพิม่ สมรรถนะ ขีดความสามารถของคนไทย เช่ น ทักษะฝี มือช่ าง
การเป็ นผู้ประกอบการข้ ามชาติ การเป็ นพนักงานในต่ างประเทศ
นักบริหารข้ ามชาติ
• 2. ในฐานะต้ องให้ องค์ ความรู้ แก่ คนทีจ่ ะเข้ ามาใช้ ชีวติ ในประเทศเรา
• (Cross Culture) หลักสู ตร กิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ ให้
แรงงานข้ ามชาติ ผู้ประกอบการ สามารถทางานร่ วมกับคนไทยได้
อย่ างมีประสิ ทธิภาพ เช่ น
AEC
• กฎหมายไทย
• ชีวติ คนไทย
• ภาษาไทย
• วัฒนธรรมคนไทย
• นิสัยคนไทย
2012 – 2015
NFE It a must..
• เราควรจัดกิจกรรมอะไร?
• เราควรพัฒนาหลักสู ตรใด?
• กลุ่มเป้ าหมายเป็ นใคร?
AEC
• ประชาคมอาเซียน
• ปี 2558 (2015)
ประชาคม
ความมันคง
่
อาเซียน (ASC)
ประชาคม
สังคม-วัฒนธรรม
อาเซียน
(ASCC)
การจัดการศึกษานอกระบบ
ประชาคม
เศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC)
•
•
•
•
•
•
•
•
•
หลักสูตรและกิจกรรมที่ควรดาเนินการเร่ งด่วน
1. หลักสูตรภาษาต่างๆในอาเซียน (Literacy)
2. หลักสูตรทางวัฒนธรรมในอาเซียน( way of life)
3. หลักสูตรกฎหมายในอาเซียน(International Law)
4. หลักสูตรการเคลื่อนย้ายแรงงานในอาเซียน
5. หลักสูตรการลงทุนระหว่างประเทศ
6. หลักสูตรการบริ การและการท่องเที่ยว
7. หลักสูตรอาหารและเครื่ องดื่ม
8. หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะในกลุ่มงานต่าง ๆ