ที่มา - เป็นกระทรวงผู้นำในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าของประเทศ และผลัก

Download Report

Transcript ที่มา - เป็นกระทรวงผู้นำในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจการค้าของประเทศ และผลัก

มุมมอง / ความกังวลของภาคเอกชนต่อสิ่งแวดล้อมกับการเปิดเสรี
และความคาดหวังต่อกระทรวงฯ ในการเตรียมความพร้อม
ด้านสิ่งแวดล้อมต่อการเปิดเสรี
เชวง จาว
รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
วันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน 2556 เวลา 14.00 -16.00 น.
ณ ห้องประชุมออดิทอเรียม อาคารศูนย์ประชุมวายุภกั ษ์
โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรม
ภายใต้ AEC 2558
“มุ่งสู่อตุ สาหกรรมสร้างสรรค์ที่สมดุลและยังยื
่ น”
กาหนดเป้ าหมายเป็ น 3 ระยะ ในช่วงเวลา 20 ปี
5 ปี
พัฒนาคลัสเตอร์
และอุตสาหกรรม
ใหม่ พร้อมการ
เชื่อมโยงฐานการ
ผลิต และบริการ
ในกลุ่มอาเซียน
10 ปี
บริหารจัดการ
ระบบการผลิต
ตลาดและบริการ
และสร้าง
ภาพลักษณ์ใน
ตลาดอาเซียน
และภูมภิ าค
20 ปี
บริหารจัดการ
ภาพลักษณ์
สินค้าไทยใน
ตลาดโลก
ที่มา: แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย กระทรวงอุตสาหกรรม (2554)
เป้ าหมายใน 3 ช่วงระยะ
5 ปี
10 ปี
20 ปี
• มีฐานการผลิตและบริการในภูมภิ าค
อาเซียน (ASEAN SUPPLY CHAIN)
โดยมีระบบการผลิตกับฐานการผลิต
ต่างๆในภูมภิ าค
• เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ที่
มีนวัตกรรมใหม่ของโลก
(GLOBLE PRODUCTION HUB)
• คลัสเตอร์มผี ปู้ ระกอบการ SMEs ทีม่ ี
มาตรฐานการผลิตทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ
เฉพาะด้าน
• มีหน่วยงานหลักทีบ่ ริหารจัดการบูรณา
การในแต่ละอุตสาหกรรมทีเ่ ป็น
เอกภาพโดยมีเอกชนเป็นผูน้ า
• มีระบบการผลิตบุคคากรเพียงพอใน
การรองรับการเติบโตของ
ภาคอุตสาหกรรม
• มีกฎระเบียบทีผ่ ่อนคลายรองรับ
กับอุตสาหกรรม
• มีโครงการสนับสนุนพืน้ ฐานในการวิจยั
พัฒนาอุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง
• เป็นศูนย์กลางการผลิตและจัดการ
เครือข่ายการผลิตและบริการในกลุ่ม
อาเซียน
• มีฐานการผลิตและบริการในภูมภิ าค
(REGIONAL SUPPLE CHAIN)
• มีตราสินค้าทีม่ เี ครือข่ายการจัด
จาหน่ายในภูมภิ าค
• ผูป้ ระกอบการขนาดกลางมีการ
เชื่อมโยงการผลิตร่วมบริษทั ขนาด
ใหญ่
• ผูป้ ระกอบการ SMEs มีการสร้าง
ทรัพย์สนิ ทางปญั ญาและนวัตกรรม
ไทย
• มีฐานการวิจยั และพัฒนาสินค้าใน
อาเซียน
มีการสร้าง
และกาหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ น
ทีย่ อมรับของสากล
• เป็นผูบ้ ริหารจัดการตราสินค้าและมี
การสร้างเครือข่ายการผลิตและบริการ
ภูมภิ าคต่างๆของโลก
• มีผปู้ ระกอบการไทยเริม่ ก้าวเข้าสู่การ
เป็นบริษทั ชัน้ นาของโลก
• มีตราสินค้าเป็นทีร่ จู้ กั และมีเครือข่าย
การจัดจาหน่ายในประเทศต่างๆ
• เป็นแหล่งการค้าการลงทุนด้านการ
ผลิตและบริการ เป็นทีย่ อมรับใน
ภูมภิ าค
• ส่งออกด้านการบริการในภูมภิ าคต่างๆ
ของโลก
• มีแรงงานระดับมันสมอง ส่งออกไป
ภูมภิ าคต่างๆ
3 ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาอุตสาหกรรม
• ยกระดับอุตสาหกรรมและขยายเครือข่ายการผลิตสู่ต่างประเทศ
(Internationalized Industrial structure and clusters to capture global opportunities)
• ยกระดับศักยภาพผูป้ ระกอบการให้เกิดความเข้มแข็งและยังยื
่ น
(Upgrade and create sustainable entrepreneur)
• ยกระดับโครงสร้างสนับสนุนอุตสาหกรรมเพื่อการบริหารจัดการ
อุตสาหกรรมอย่างบูรณาการ
(Enhance competitive industry platform)
Supporting Strategy Roadmap :
6 ยุทธศาสตร์เชิงรุก ส.อ.ท.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างคุณค่าด้วยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม
(Value Creation by Science , Technology , Innovation : STI)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาอุตสาหกรรมให้อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างยังยื
่ น
ภายใต้อตุ สาหกรรมเชิงเศรษฐนิเวศน์ ( Eco – Industry )
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์
(Cluster Development & Supply Chain Management)
ยุทธศาสตร์ที่ 4 มาตรการเชิงรุกสาหรับการเป็ น AEC
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การสนับสนุนปัจจัยเอื้อต่อการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม
(Enabling Factor)
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ส่คู วามยังยื
่ นของอุตสาหกรรม
(Human Capacity Building for Sustainability )
ต้องสร้างมูลค่าเพิ่มให้เต็มที่
Productivity
(OEM)
ODM, OBM
Innovation
Differentiation
Branding
Standardization
Taking advantage of FTAs
การเตรียมความพร้อมและ
การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม
เตรียมรับมือกับกระแสการค้าโลก
การปรับตัวเองเพื่อ
สร้างความได้เปรียบ
อัตราการเติบโต
การได้เปรียบใน
การแข่งขัน
การเข้าใจใน
กระแสโลกาภิวฒ
ั น์
ความได้เปรียบใน
เชิงเปรียบเทียบ
ความเข้าใจในด้านการตลาด
การพัฒนาผลิตภัณฑ์
2493 2503 2513 2523 2533 2543 2553 2563
อุตสาหกรรมไทย ควรไปทางแข็งแรง....แต่ยืดหยุ่น
การปรับโครงสร้างของภาคอุตสาหกรรม
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554)
การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่ “เศรษฐกิจสีเขียว”
ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554)
การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมไทย
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
การเตรียมความพร้อมด้านสาธารณูปโภคและระบบโลจิสติกส์เพือ่ รองรับการลงทุนจากต่างประเทศ
หาตลาดส่งออก ปรับปรุงการบริหารจัดการ การจัดหาวัตถุดบิ ราคาถูกและมีคุณภาพดีในภูมภิ าค
การปรับปรุงโครงสร้างภาษีของไทยทัง้ ระบบเพือ่ ให้เอือ้ ประโยชน์แก่ผปู้ ระกอบการไทย
ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายการผลิต (Production Network)
เพือ่ ให้สามารถสร้าง Economy of Scale เพือ่ ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับโลก
ปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบทีเ่ ป็ นอุปสรรคต่อการผลิตการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม
มีกลไกทีก่ อ่ ให้เกิดความเสมอภาคในการเข้าสูต่ ลาดภายในประเทศอย่างเป็ นรูปธรรม
13
การพัฒนาอุตสาหกรรมไทยให้อยู่รว่ มกับชุมชนได้อย่างยังยื
่ น
ปรับปรุงประสิ ทธิ ภาพโรงงานและระบบ
บริ หารจัดการเพื่อลดมลภาวะและอนุรกั ษ์
ทรัพยากร
จัดทาโครงการช่วยเหลือชุมชน
(CSR & Social Enterprise)
แก้ไขปัญหาผังเมือง
รวมถึง Protection Strip และ Buffer Zone
สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและ
ภาคเอกชนในการตรวจสอบสภาวะ
สิ่ งแวดล้อม
ผลักดัน Eco-Industrial Town
Wednesday, April 08, 2015
14
การดาเนินงานของอุตสาหกรรมเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ควบคุมมลพิษให้ได้มาตรฐานตามกฎหมาย
การใช้พลังงานสะอาด (Low carbon society)
การจัดการขยะอุตสาหกรรม Zero landfill
การจัดการน้าใช้ และน้าเสีย
การจัดสร้างแนวป้ องกัน (Protection Strip)
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
- Eco Efficiency
- Process efficiency
7. การปรับปรุงระบบคมนาคมขนส่ง (Logistics)
8. การสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคม เพื่อเน้ นการใช้วตั ถุดิบหรือผลิตภัณฑ์
ของท้องถิ่น
9. การพัฒนาสู่อตุ สาหกรรมสีเขียว (Green Industry)
10. การพัฒนาสู่การเป็ นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ทธศาสตร์ส.อ.ท.
ส.อ.ท.และนโยบายของประเทศไทย
และนโยบายของประเทศ
ยุทยุธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ ส.อ.ท. ปี 55-57
- พัฒนาอุตสาหกรรมไทยในแนวทางการสร้างคุณค่า (Value Creation) ด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม
- การพัฒนาอุตสาหกรรมให้อยู่รว่ มกับสังคมอย่างยังยื
่ น
- การพัฒนาการดาเนินธุรกิจในรูปแบบคลัสเตอร์ (Cluster Development และ Supply Chain Management)
- มาตรการเชิงรุกในเวทีโลก หลังเปิด FTA
- การสนับสนุนปัจจัยเอื้อต่อการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม
- การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ส่คู วามยังยื
่ นของอุตสาหกรรม
นโยบายของคณะรัฐมนตรี (แถลงต่อรัฐสภา เมื่อ 23 ส.ค. 54)
 นโยบายเศรษฐกิจ (นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ / ภาคอุตสาหกรรม) :
เร่งพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้ เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่ อสังคม และอยู่
ร่วมกับชุมชนได้
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559
ยุท ธศาสตร์ก ารปรับ โครงสร้ า งเศรษฐกิ จ สู่ ก ารเติ บ โตอย่ า งมี คุณ ภาพและยังยื
่ น / การพัฒ นา
อุตสาหกรรม :
พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อมในพืน้ ที่อตุ สาหกรรมหลักของประเทศ
ขอบคุณครับ
The Association of Southeast Asian Nations
ASEAN
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community: AEC)
AEC Blueprint
การเป็ นตลาด
และฐานการ
ผลิ ตเดียว
การบูรณาการ
เข้ากับ
เศรษฐกิ จโลก
AEC
การพัฒนา
เศรษฐกิ จอย่าง
เสมอภาค
การสร้างขีด
ความสามารถใน
การแข่งขันทาง
เศรษฐกิ จ
อาเซียน
AEC สู่ตลาดและฐานการผลิตเดียว
เปิดเสรี
การค้า
ส่งเสริมและคุม้ ครองการลงทุน
ระหว่างประเทศอาเซียนภายใต้
หลัก National Treatment
เปิดเสรี
การลงทุน
ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ในปี
2553 (ยกเว้น CLMV ปี 2558)
เปิดเสรีการ
เคลื่อนย้าย
เงินทุน
AEC
ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ในปี
2553 (ยกเว้น CLMV ปี 2558)
เปิดเสรี
การค้า
บริการ
การ
เคลื่อนย้ าย
แรงงานฝี มือ
อย่ างเสรี
เปิดเสรีบริการเร่งรัด 4
สาขา
(e-ASEAN, สุขภาพ,
ท่องเทีย่ ว, โลจิสติกส์)
ลงนาม MRA วิชาชีพ 7 สาขา
(วิศวกร พยาบาล สถาปนิก
นักสารวจ แพทย์ ทันตแพทย์
และนักบัญชี)
โอกาสของประชาคมอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชากร 590 ล้านคน
GDP 1.5 ล้านล้าน USD
การค้าระหว่างประเทศ 1.61 ล้านล้าน USD
การลงทุนโดยตรง 5 ล้านล้าน USD
การท่องเทีย่ วระหว่างประเทศ 65 ล้านคน
>
=
=
=
=
เปรียบเทียบกับ......
สหภาพยุโรป
เกาหลีใต้
6 เท่าของไทย
60 % ของจีน
อันดับ 2 ของโลก รองจากฝรังเศส
่
ที่มา: บทวิเคราะห์จากศูนย์วจิ ยั เศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (2554)
ความสามารถในการแข่งขันของสินค้าส่งออกไทย
ในตลาดโลกและอาเซียน
สิ นค้าไทยได้เปรียบสูงทัง้
สองตลาด
• Rubber
• Motor vehicles
• Cane Sugar
• Preserved
seafood
• Animal feeds
• Rice
• Cement
• Beauty/Skin
care
• Paper
สินค้าไทยได้ เปรียบใน
ตลาดโลก
• Electronic
machines
• Electrical
equipment
• Plastic product
• Jewelry
• Textiles
• Woods
• Iron and steel
• Copper
สิ นค้ าไทยได้ เปรียบในตลาด
อาเซียน
• Beverage
สินค้าไทยเสียเปรียบทั้ง
สองตลาด
• Chemical
products
• Machinery
• Milk and diary
• Pharmaceuticals
• Oils
• Other industrial
products
ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2555)
AEC เอื้อประโยชน์ ต่ออุตสาหกรรมใดของไทย?
อุตสาหกรรมที่วตั ถุดิบ
ในประเทศขาดแคลน
อุตสาหกรรมที่เชื่อมโยง
กับฐานการผลิ ตใน
อาเซียน
อุตสาหกรรมที่มีการย้าย
ฐานการผลิ ตไป
ประเทศอื่นๆในอาเซียน
อุตสาหกรรม
ที่ต้องการบุคลากร
เฉพาะทาง
อาหารทะเล
กระป๋องและแปรรูป
ยานยนต์
สิ่ งทอ
ท่องเที่ยวและ
โรงแรม
เฟอร์นิเจอร์
(บางฤดูกาล)
เครื่องใช้ไฟฟ้ า
รองเท้าและ
เครื่องหนัง
สถานเสริ มความ
งามและสปา
พลาสติ ก
โรงพยาบาลและ
สถานศึกษา
ที่มา: ฝา่ ยธุรกิจวิจยั ธนาคารเพือ่ การส่งออกและการนาเข้าแห่งประเทศไทย (2555)
SWOT ภาคอุตสาหกรรมไทย
จุดแข็ง
o แรงงานมีทกั ษะ
o มีวตั ถุดบิ ทางการเกษตรทีม่ ี
คุณภาพ
o เป็ นศูนย์กลางในการกระจายสินค้า
o ระบบการคมนาคมขนส่ง รองรับ
และมีประสิทธิภาพ
o ระบบธุรกิจการค้าและอุตสาหกรรม
มีมาตรฐานสากล
จุดอ่อน
o การลงทุนด้าน R&D ต่า
o จานวนแรงงานลดลง
o อุตสาหกรรมหลักต้องพึง่ พิงเงิน
ลงทุน และเทคโนโลยีต่างประเทศ
o ขาดเสถียรภาพทางการเมือง
SWOT ภาคอุตสาหกรรมไทย (ต่อ)
โอกาส
o
o
o
o
o
ปัจจัยเสี่ยง
ใช้วตั ถุดบิ จากอาเซียนลดต้นทุน
o นักลงทุนต่างชาติสนใจลงทุนด้าน
ตลาดสินค้าเกษตรขยายตัว
บริการมากกว่าภาคอุตสาหกรรม
เป็ นศูนย์กลางในการกระจายสินค้า o เกิดมาตรการกีดกันการค้ารูปแบบ
อุปสรรคทางการค้าลดลง
ใหม่
เกิดบริการและสินค้าใหม่
o ผูป้ ระกอบการย้ายฐานการผลิตไป
ในกลุม่ ประเทศอาเซียน
o ขาดศักยภาพและข้อมูลใน
การลงทุนในต่างประเทศ
ศักยภาพของอาเซียน
ที่มา: สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
สถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์ด้านน้า
สถานการณ์ดา้ นนา้
 คุณภาพน้าแหล่งน้าผิวดินและน้า
บาดาลมีคณ
ุ ภาพเสื่อมโทรมมากขึน้
แหล่งน้าผิวดิน พบการปนเปื้ อนเชื้อ
แบคทีเรียกลุ่ม Fecal Coliform
แหล่งน้าใต้ดินหรือน้าบาดาล เกิด
การปนเปื้ อนสารโลหะหนักบางชนิด
สถานการณ์ด้านน้า
สถานการณ์ดา้ นนา้
 คุณภาพน้าประปาส่วนภูมิภาคมากกว่าร้อยละ 80
อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
 น้าประปาของเทศบาลและองค์การบริหารส่วน
ตาบล อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 20 - 40
 น้าจากตู้หยอดเหรียญ และน้าบรรจุขวดผ่านเกณฑ์
มาตรฐาน ร้อยละ 70
สถานการณ์ด้านมูลฝอยและของเสียอันตราย
 ปริมาณมูลฝอยที่มีแนวโน้ มเพิ่มขึน้
ตันต่อวัน
พ.ศ.
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2555
่
ิ
ิ
สถานการณ์
ด
้
า
นการจั
ด
การส
ง
ปฏ
ก
ล
ู
สถานการณ์ดา้ นการจ ัดการสงิ่ ปฏิกล
ู
การมีและใช้ระบบบาบัดสิ่งปฏิกลู ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2552
มี-ใช้ งาน
21%
ไม่ มีระบบ
58%
มี-ไม่ ใช้ งาน
21%
ที่มา: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2553
สถานการณ์ ส้วมสาธารณะที่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน HAS
พ.ศ.
ที่มา: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2555
ความมุ่งหมายของประชาคมอาเซียนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
1. การสร้างประชาคมแห่งสังคมที่เอื้ออาทร
2. การแก้ไขผลกระทบต่อสังคม อันเนื่ องมาจากการรวมตัว
ทางเศรษฐกิจ
3. ส่งเสริมความยังยื
่ นด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการดูแล
สิ่งแวดล้อมที่ถกู ต้อง
ประชากรที่อยู่ในเขตเมืองของประเทศในประชาคมอาเซียน
มีแนวโน้ มเพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่ อง
ประเด็นสิ่งแวดล้อม
เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ผลกระทบด้านสุขภาพ
• โรคติดต่ออุบตั ิ ใหม่และอุบตั ิ ซา้ โรคชายแดน
• ระบบบริการสุขภาพ
• บุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข
ผลกระทบด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
•
•
•
•
ระบบบริการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การเดินทางที่ไร้พรมแดน
รูปแบบการบริโภคนิยมของประชากร
ภาวะภัยพิบตั ิ ของภูมิภาคที่มีแนวโน้ มสูงขึน้
ดัชนี ความเสี่ยงของแต่ละประเทศในประชาคมอาเซียน
ที่จะเผชิญภัยพิบตั ิ ( ร้อยละ )
ประเทศ
ด ัชนี
ความ
ี่ ง
เสย
ี่ ง
ความเสย
ภ ัยพิบ ัติ
ความ
เปราะบาง
ความ
ี่ งด้าน
เสย
เศรษฐกิจ
ั
และสงคม
ขาด
ความสามารถ
ร ับมือ
ขาด
ความสามารถ
ปร ับต ัว
3
ฟิ ลิปปิ นส ์
24.32
45.09
53.93
34.99
82.78
44.01
9
ก ัมพูชา
16.58
26.66
62.18
48.28
86.43
51.81
28
ี
อินโดนีเซย
11.69
20.49
57.06
37.66
83.31
50.20
34
เวียดนาม
11.21
22.02
50.89
30.82
78.88
42.97
57
เมียนมาร์
8.54
14.47
59.02
41.67
79.75
55.62
85
ไทย
6.86
14.84
46.25
22.44
76.23
40.10
91
ี
มาเลเซย
6.69
15.59
42.88
20.12
69.45
39.66
5.8
9.70
59.78
47.38
84.77
47.20
2.85
9.21
30.97
14.60
47.37
30.94
อ ันด ับ
104
ลาว
153
สงิ คโปร์
ที่มา: World Risk Index 2011
การส่งเสริมการท่องเที่ยวในอาเซียน
อาจส่งผลต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในพืน้ ที่
การจ ัดอ ันด ับ
ในประเด็นสุขภาพและ
สุขล ักษณะ
คะแนนเฉลีย
่
สงิ คโปร์
55
5.2
บรูไน
70
4.7
ี
มาเลเซย
75
4.5
ไทย
80
4.4
เวียดนาม
89
4.1
ฟิ ลิปปิ นส ์
97
3.8
ี
อินโดนีเซย
115
2.6
ก ัมพูชา
133
1.5
ประเทศ
(Health & Hygiene)
ที่มา: ดัชนีการแข่งขันสาหรับการเดินทางและท่องเทีย่ ว (TTCI), World Economic Forum, 2554
ด้านการผลิต
 เกิดการนาเข้าสินค้าหรือวัตถุดิบที่อาจไม่มีคณ
ุ ภาพหรือมาตรฐานที่ดี
จากการพัฒนาเพื่อเป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม
• สินค้าราคาถูก อายุการใช้งานสัน้ จะกลายเป็ นขยะอันตรายเมื่อหมดอายุการใช้งาน
เช่น ถ่านไฟฉาย เครื่องใช้ไฟฟ้ า
• ปั จจุบนั มีขยะอันตรายกว่า 700,000 แสนตัน/ปี ถูกทิ้งปะปนกับขยะมูลฝอย
ทัวไป
่ หรือขายให้กบั ผูร้ บั ซื้อของเก่าที่คดั แยกไม่ถกู ต้อง สถานที่กาจัดมีน้อย
จึงมีโอกาสการปนเปื้ อนของสารอันตรายสู่สิ่งแวดล้อมสูง
 เกิดการยกระดับและบูรณาการมาตรฐานสินค้า เพื่อการแข่งขันกับ
ต่างประเทศ นาไปสู่การมีมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลดีต่อ
คุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยรวมของประเทศ
การลักลอบทิ้งของเสียอันตราย
 ของเสียอันตรายที่มกั มีการลักลอบทิ้งจะเป็ นของเสียจากภาคอุตสาหกรรม
 การลักลอบนาขยะ/ของเสียอันตรายมาทิ้งในประเทศอื่น ผูป้ ระกอบการใน
ประเทศที่มีความเข้มงวดของกฎหมายมากกว่า ก็อาจจะเคลื่อนย้าย /
ลักลอบนาของเสียอันตรายมาทิ้ง/กาจัดในประเทศที่มีกฎหมายสิ่งแวดล้อม
เข้มงวดน้ อยกว่า
 การส่งผ่านสินค้าข้ามแดน (สินค้าด้อยคุณภาพ)
 การไม่มีพิกดั ศุลกากรสาหรับสินค้าของเสียอันตรายเป็ นการเฉพาะ ทาให้
อาจจะปะปนมากับสินค้าอื่น
 ระบบอานวยความสะดวกทางการค้าที่อาจจะทาให้มีการสุ่มตรวจสินค้า
น้ อยลงและขนส่งสินค้าได้เร็วขึน้ สะดวกขึน้ ทาให้การขนส่งของเสีย
อันตรายอาจจะไม่ถกู สุ่มตรวจ
การเพิ่มตลาดท่องเที่ยวและนักท่องเที่ยว
 จ านวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วและการประกอบกิ จการที่ เ กี่ ย วเนื่ องกับ การ
ท่ อ งเที่ ย วที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เช่ น รถยนต์ ใ ห้ เ ช่ า โรงแรม ร้ า นอาหาร แหล่ ง
นันทนาการ จะทาให้เกิดปริมาณน้าเสีย และขยะเพิ่มขึน้
 ปี 2555 ประเทศไทยมีจานวนนั กท่ องเที่ ยวประมาณ 20 ล้านคน และ
คาดการณ์ ว่าปี 2556 จะเพิ่มขึ้นเป็ น 22.5 ล้านคน หากเข้าสู่ AC จานวน
ก็อาจจะยิ่งมากขึน้
 สถานที่ กาจัดขยะมูลฝอยและระบบบาบัดน้ าเสียรวมที่ อปท. มีอยู่ยงั มี
จากัด รองรับการจัดการได้เพียงร้อยละ 36 และร้อยละ 20 ตามลาดับ
การเคลื่อนย้ายแรงงาน
 การเพิ่ ม ขึ้ น ของการค้ า -การผลิ ต จะเกิ ดการเคลื่ อ นย้ า ยแรงงานที่ ไ ม่ มี
ทักษะหรือไม่มีคณ
ุ ภาพเข้ามาในประเทศ อาจทาให้เกิดสภาพชุมชนแออัด
สภาพแวดล้อมการอยู่อาศัยเสื่อมโทรม หรือปัญหาสังคม
 การเคลื่ อนย้ ายแรงงานที่ มี ทกั ษะ จะส่ ง ผลดี ต่ อการจัด การสิ่ ง แวดล้ อ ม
โดยเฉพาะผู้ใ ห้ บ ริก ารในสาขาสิ่ ง แวดล้ อม เช่ น ที่ ป รึ ก ษาหรื อาบริ ษัทที่
ปรึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ผู้รบั จ้างให้บริการและผู้ควบคุมระบบบาบัด/กาจัด
ของเสีย ซึ่งกาลังจะออกกฎกระทรวงมาตรา 73
การเดินทางและคมนาคมขนส่งที่เพิ่มขึน้
การอานวยความสะดวกทางการค้ า การเดินทาง การขนส่ งและการพัฒนา
โครงข่ายการขนส่งที่เชื่อมโยงในอาเซียน(Connectivity) จะส่งผล อาทิเช่น
 มีจานวนรถวิ่งเข้า – ออก เพิ่มขึน้ ส่งผลต่อการจราจร การระบาย
มลพิษทางอากาศเพิ่มขึน้ (ปัจจุบนั ประเทศไทยมีรถยนต์ประมาณ 32
ล้านคัน)
 มีการใช้พลังงานหรือเชื้อเพลิงเพิ่มขึน้
 การใช้รถยนต์หรือคุณภาพของน้ามันเชื้อเพลิงที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อ
คุณภาพอากาศ
 การเกิดอุบตั ิ ภยั จากการขนส่งโดยเฉพาะการขนส่งสารเคมี
ความร่วมมือในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม
ของโลกหรือมลพิษข้ามแดน
เช่น มลพิษจากหมอกควันข้ามแดน มลพิษจากของเสีย
ที่มีพิษข้ามแดน ความช่วยเหลือเมื่อมีภยั พิบตั ิ