Transcript Tadao Ando

After Postmodern 2
“ เราอาจพูดได้วา่ ขณะนี้ กระบวนทัศน์ ของโลก กาลังมุ่งหน้ามาทางตะวันออก
สู่การมองความสัมพันธ์ของสิ่ งต่างๆ รอบตัว อย่ างเป็ นองค์ รวม เป็ นระบบนิเวศน์ ”
Fritjof Crapa, the web of life
Architecture
วิธีหนึ่งที่มนุษย์ใช้ในการถนอมรักษามิติของชีวติ ทั้งสี่ น้ ีกค็ ือ การปลูก+สร้าง (building) สถาปัตยกรรม
เพื่อทาให้ "โลก" ปรากฏ เมื่อโลกนั้นหมายถึงองค์รวมแห่งพื้นดิน ผืนฟ้ า มวลมนุษย์ และเทพยาดา
ตะวันออกเอื้อการเชื่อมต่อโลกมากกว่า
กรอบประตู
มะ
close
open
การก่อแบบตะวันตก
การปลูกเรื อนแบบตะวันออก
ทีว่ ่ าง
สถานที่
พระอาทิตย์
พระจันทร์
ผูกพันกับพื้นและที่วา่ งใต้หลังคา: เอื้อให้เกิดการรับรู้จากการสัมผัส
ตะวันออก
(ญี่ปุ่น, ไทย)
ตะวันตก
สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น ไม่ใช่สถาปัตยกรรมแห่ง “ทีว่ ่ าง” แต่เป็ นสถาปัตยกรรมแห่ง "สถานที"่ แบบ "มะ"
ความงาม ที่เกิดขึ้นจาก สถานที่ ในวัฒนธรรมญี่ปุ่นเกิดขึ้นในลักษณะของการมี ปฏิกริยาโต้ ตอบ ต่อ
สถานที่ และ ความเปลีย่ นแปลงของธรรมชาติแวดล้ อม
Architecture of roof and floor: ไม่เน้นการปิ ดล้อมด้วยผนัง
ทัศนคติความงาม ทางตะวันออก+ตะวันตก
วิธีการเชื่อมต่อกับมิติแห่งธรรมชาติในวิถีตะวันออก
Tadao Ando
1. ขอบเขต (boundary)
ที่เชื่อมต่อ มนุษย์ และ มิติธรรมชาติ ในงานสถาปัตยกรรมของอันโด
รู ปทรงเรขาคณิ ต + งานสถาปัตยกรรมของ Tadao Ando
"ความคิดเรื่ องศูนย์กลางเป็ นสิ่ งที่น่าสนใจและค่อนไปทางตะวันตก โรล็องด์ บาร์ตส์
เคยมาญี่ปุ่น และวิจารณ์วา่ ประเทศนี้เหมือน มีความลึกมาก แต่ ไม่ มศี ูนย์ กลาง
ผมว่าผมมีความคิดแบบนี้ติดตัวอยู่ สาหรับผม ศูนย์กลางของสถาปัตยกรรมเป็ น
"คน" ที่อยูใ่ นนั้นแล้วมีประสบการณ์ดว้ ยตัวเอง”
Tadao Ando
“ปัญหาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมสมัยใหม่อยูท่ ี่ลกั ษณะนามธรรมและความเป็ นหนึ่งเดียวของพื้นที่
พื้นที่แบบนี้ กับคนนั้นไปด้วยกันไม่ได้ แม้วา่ สถาปัตยกรรมเป็ นระเบียบของเรขาคณิ ตที่เป็ น
นามธรรมและดารงอยูไ่ ด้ดว้ ยตัวเอง แต่ระเบียบนี้เป็ นสิ่ งซึ่งแตกต่างในสาระสาคัญกับ
ระเบียบในชีวติ ประจาวัน”
Tadao Ando
(ความไม่สมบูรณ์ของมนุษย์+ธรรมชาติ แสง ลม ฝน) โดยที่เป็ นการปรากฏรู ปของวัสดุ สถาปัตยกรรมเป็ นสื่ อที่รวมเอาปัจจัยเหล่านี้
เองที่สร้างระเบียบใก้แก่รูปทรงสถาปัตยกรรมอีกทีหนึ่ง
อุดมคติแห่งความงาม อันยิง่ ใหญ่ของโลกตะวันตก
“ความสมบูรณ์ อมตะไร้กาลเวลา”
เหตุผลในการเลือกใช้ รู ปทรงเรขาคณิ ตในงานสถาปัตยกรรมของ Tadao Ando
“ลักษณะของพื้นที่จึงไม่ได้เป็ นผลมาจาก ทัศนวิสัยหนึ่งเดียวสมบูรณ์ ... ผมพยายาม
สร้างสรรค์พ้นื ที่ซบั ซ้อนโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติและความเคลื่อนไหว
ของมนุษย์บนรู ปทรง เรขาคณิตทีเ่ รียบง่ าย
สิ่ งทีด่ ูจะสมบูรณ์ ในตัวเองและหยุดนิ่ง เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยความเคลือ่ นไหวของ
ธรรมชาติหรือมนุษย์ ที่เพิ่มเติมเข้ามา เมื่อผูด้ ูแต่ละคนที่เคลื่อนตัวไปแต่ละจุดที่ถูกจัดวาง
มุมมองที่แตกต่างกัน จะได้รับรู้ภาพรวมที่ถูกจารึ กไว้ในใจ และก่อเป็ นการรับรู ้ที่ต่างกัน
ในแต่ละบุคคล
สิ่ งที่ผมสนใจนั้นแน่นอนว่าเป็ นวิถีทางที่แต่ละบุคคลจะสัมพันธ์กบั สถาปัตยกรรม
Tadao Ando
เมื่อผูด้ ูแต่ละคนที่เคลื่อนตัวไปแต่ละจุดที่ถูกจัดวางมุมมองที่แตกต่างกัน จะได้รับรู้
ภาพรวมที่ถูกจารึ กไว้ในใจ และก่อเป็ นการรับรู ้ที่ต่างกันในแต่ละบุคคล
สิ่ งที่ผมสนใจนั้นแน่นอนว่าเป็ นวิถีทางที่แต่ละบุคคลจะสัมพันธ์กบั สถาปัตยกรรม
Tadao Ando
เรขาคณิตถูกใช้ ทางานอย่ างไรในงานของ Ando
1. เพื่อ สลายอุดมคติ แบบสมัยใหม่นิยมที่ตอ้ งการสร้างความสมบูรณ์โดยสร้างความเป็ น
ศูนย์กลางแก่พ้นื ที่
2. เป็ นการเน้นว่าความหมายของรู ปทรงเรขาคณิ ตที่ก่อให้เกิดพื้นที่สถาปั ตยกรรมจะต้อง
เติมเต็มโดยผูใ้ ช้
ศูนย์กลางของ สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ นั้นอยูท่ ี่พ้นื ที่และความสมบูรณ์รูปทรงอันบริ สุทธิ์
ในขณะที่ศูนย์กลางของงานอันโด อยูท่ ี่ ผูใ้ ช้อาคาร ที่กาลังได้รับประสบการณ์จากแต่ละพื้นที่ยอ่ ยๆ
ที่ประกอบกันขึ้นเป็ นงานของอันโด
รู ปทรงเรขาคณิ ตในงานอันโดจึงไม่ใช่รูปทรงสมบูรณ์อมตะแบบงานโมเดิร์น แต่เป็ นรู ปทรง
เรขาคณิ ตที่เอื้อให้เกิด การเติมเต็มโดยผูใ้ ช้ และการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ
โดยใช้ สร้างความไม่สมบูรณ์ ให้แก่ รู ปทรงเรขาคณิ ต เพื่อเอื้อให้คนได้ขยายประสบการณ์ในพื้นที่
เช่น โดยการเฉื อนพื้นที่บางส่ วน หรื อนามาจัดซ้อนทับประกอบใหม่
บ้านโคชิโน ค.ศ.1983-1984
"แน่นอนว่าที่วา่ วงกลมนั้นแสดงแทนความเป็ นนิรันดร์ เมื่อพูดถึงโค้งของผม มันคือหนึ่งในสี่
หรื อหนึ่งในหกของวงกลมในฐานะสัญลักษณ์ของความเป็ นนิรันดร์ คุณจะเชื่อมต่อส่ วนที่
เหลือของวงกลมเพื่อสร้างจักรวาลของตัวเองอย่างไรก็ข้ ึนอยูก่ บั ใจคุณ ผมพยายามจะสร้างความ
สมบูรณ์ข้ ึนภายในใจผูช้ ม"
การไร้ ศูนย์ กลางของพืน้ ที่
พืน้ ทีเ่ คลือ่ นที่
การแบ่ งแยกพืน้ ที่ด้วย partition เบา - โชจิ (โปร่ งแสง)
ถ้า การแบ่งแยกอย่างชัดเจน คือ ลักษณะของพื้นที่ในสถาปัตยกรรมตะวันตก
เช่น ห้องนอน ห้องนัง่ เล่น
ความคลุมเคลือ เปลี่ยนแปลงไม่แน่นอน เคลื่อนไหวต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง ก็คือลักษณะเฉพาะของ
พื้นที่ใน วัฒนธรรมญี่ปุ่น (โดย ฉากเลื่อนโชจิที่เบา+โปร่ งแสง)
Perception of Space: Immediate Receptors-Skin and Muscles
สวนประกอบอาคารพิธีชา - ไร้ศูนย์กลาง
สวนตะวันตก - มีจุดศูนย์กลาง
ก่อให้เกิดการ กระจายตัวของพื้นที่ยอ่ ยๆ แทรกซึมไปกับโลกแวดล้อม
ก่อให้เกิดการรับรู้เป็ นภาพรวม
รับรู้ได้ในชัว่ พริ บตา จากการมองอย่างเดียว แยกตัว
ออกจากโลกส่วนอื่นอย่างชัดเจน
*การรับรู้เป็ นภาพรวม เกิดขึ้นจากค่อยๆ รับรู้ประสบการณ์ผา่ น
ประสาทสัมผัสทางร่ างกาย ผ่านการเคลื่อนที่ของร่ างกาย...
การเดิน เป็ น การสร้างสมาธิ เพื่อเตรี ยมจิตใจให้พร้อมเข้าอาคารชา
ในขณะที่คนอเมริ กนั มีความหมกมุ่นในการข้ามพื้นที่ให้ได้เร็วที่สุด
คนญี่ปุ่น มีวฒั นธรรมการ ดึงให้คนอยูก่ บั พื้นที่ ยาวนานขึ้น
Gunter Nitschke
การเดินผ่านธรรมชาติ เป็ นวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่ถูกสร้างขึ้นมา เพื่อให้คนอยูก่ บั พื้นที่ยาวนานขึ้น ซึ่งก็คือ
การเพิม่ เวลาให้กบั พื้นที่ โดยเชื่อว่าพื้นที่ที่ผา่ นการออกแบบมาอย่ างดี จะเอื้อให้คนมีประสบการณ์ร่วมได้มาก
ขึ้น และทาให้คนเพิ่มความเข้าใจตัวตนของตัวเองมากขึ้นไปพร้อมๆ กัน
พื้นที่ที่เกิด (ทางเดินสวน) มีความต่อเนื่องในเชิงแผนผัง แต่ขาดกันในเชิงทัศนวิสยั - สถาปัตยกรรมต้องทา
หน้าที่กระตุ้นการรับรู้ และความทรงจาขึน้ ความสวยงามในการมองเห็นจะต้อง ถูกลดเป็ นเรื่ องรอง ลงไป
และหันมา เน้นประสบการณ์ที่คนจะมีต่อพื้นที่ เพื่อสร้างสติ + สมาธิ ขึ้นมาแทน
(ex 13 วิธีต่อเนื่องกันจากประตูหน้าไปจนตัวอาคารพิธีชา)
วิหารแห่งน้ า ที่ใช้แนวคิดเรื่ องพื้นที่ไร้ศูนย์
และกระจายพื้นที่ยอ่ ยออกไปในรู ปแบบ
ทางเดิน ทาให้คนอยูก่ บั พื้นที่นานขึ้น และได้
สร้างประสบการณ์ผา่ นการเคลื่อนไหว เป็ น
การกระตุน้ ให้คนตระหนัก ถึงย่างก้าวของ
ตนเอง มากกว่าการใช้ สายตา
Clip
หน่วงเวลาโดยใช้ผนังลอย
และตัวผนังลอยก็เป็ นเครื่ องมือสร้างการรับรู ้ที่หลากหลาย
ผนังลอยยังเป็ นการกระจายจุดศูนย์กลาง
Clip การใช้ใจมอง
การทาให้ “โลกปรากฏ” ในงานสถาปัตยกรรมของอันโด
“การทางานของขอบเขต” (boundary)
ที่เชื่อมต่อ มนุษย์ และ มิติธรรมชาติ ในงานสถาปัตยกรรมของอันโด
“เมื่อเรามองดูอาคารที่ต้งั อยูอ่ ย่าง สงบเรี ยบง่ายในตัวเอง (เชื่อมกับธรรมชาติ) ประสาทสัมผัสของเราก็เหมือน
จะผ่อนคลาย ลดความตื่นตัวลง สิ่ งเหล่านั้นไม่ได้พยายามจะ "บอก" อะไรเรา มันก็แค่อยูต่ รงนั้น ประสาท
สัมผัสของเราเข้าสู่ความสงัด ไม่ฟุ้งซ่าน
ณ ที่น้ ี ในความว่างเปล่าของการรับรู้ ภาพความทรงจาอาจกลับปรากฏ
ภาพความจาที่คล้ายจะ ผุดขึ้นจาก เบื้องลึกแห่งกาลเวลา...”
Peter Zumthor
การเปิ ด ขอบเขต ของรู ปทรงสถาปัตยกรรม เรขาคณิตทีเ่ รียบง่ าย เพื่อ เชื่อมโยงกับโลก (มิติชีวติ ทั้ง 4)
.
.
.
.
.
สิ่ งทีด่ ูจะสมบูรณ์ ในตัวเองและหยุดนิ่ง เกิดการเปลีย่ นแปลง
เมื่อ ความเคลือ่ นไหวของธรรมชาติ หรื อ มนุษย์ ที่เพิ่มเติมเข้ามา
การเชื่อมต่อกับผืนฟ้ า ผ่าน ระเบียง และ หลังคา ในบ้านญี่ปุ่น
“ในทัศนะคนญี่ปุ่น การชมพระจันทร์ เหมาะสมที่สุดเมื่อ นัง่ อยูบ่ นระเบียง”
เพราะ...
ระเบียง และ กรอบหลังคา ของบ้านญี่ปุ่นทาให้เกิดกรอบทางสถาปั ตยกรรมที่กาหนดมุมมองเฉพาะ
ต่อธรรมชาติภายนอก (สวนญี่ปุ่น + พระจันทร์)
*พื้นที่ เชื่อมต่อ นี้กลายเป็ นจุดเชื่อม ระหว่าง คน และ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ในบ้านญี่ปุ่น
พิพิธภัณฑ์ศิลปะจิจู - อันโดจงใจฝังตัวอาคารส่ วนใหญ่ลงในภูเขาส่ งผลให้พ้นื ที่ภายในไม่มีบริ เวณ
ภายนอก
คอร์ตกลางรู ปสามเหลี่ยมจึงทาหน้าที่เป็ น กรอบทางสถาปัตกรรม (เช่นเดียวกับ ระเบียง และกรอบ
หลังคา) ที่เป็ นจุดเชื่อมต่อ คนภายใน กับท้องฟ้ าและแสงแดด
เปิ ดตัวออกให้โลกปรากฏ
การปรากฏตัวของแสง + ความมืดในสถาปัตยกรรมของอันโด
...ความงามของห้องแบบญี่ปุ่นขึ้นอยูก่ บั เงาสลัว ในลักษณะต่างๆ เช่น ห้องงามขึ้นได้เมื่อ
เงาทึบ กระทบ ซ้อนบนเงาที่จางกว่า โดยมิตอ้ งอาศัยสิ่ งอื่นใดอีก... แสงอ่อนๆ จากสวนสามารถ
เล็ดลอดผ่านประตูบุกระดาษเข้ามาในห้องได้แต่เพียงเล็กน้อยและแสงเรื องๆ นี่เองที่สร้างมนต์
เสน่ห์แก่หอ้ งในความรู้สึกของเรา เราใช้สีอ่อนสาหรับส่ วนที่เป็ นผนัง เพื่อให้ลาแสงอันบอบบาง
เศร้าสร้อยระทวยทอดลงอย่างสงบนิ่งสมบูรณ์..."
จุนิจิโร ทานิซากิ, เยิรเงาสลัว
"... เมื่อพูดเกี่ยวกับประสบการณ์แห่งสถาปัตยกรรมญี่ปุ่นเช่นอาคารชา ซึ่งที่วา่ งถูกแบ่งแยกด้วย
เพียงกระดาษที่ถูกขึงตึงบนโครงไม้เบาบาง เมื่อแสงผ่านแผงกั้นเหล่านี้ มันจะกระจายตัวอย่างเงียบ
สงบ ผสมกลมกลืนไปกับความมืด สร้างที่วา่ งซึ่งรับรู้ได้โดยระดับของเอกรงค์
ความเปลี่ยนแปลงอันลึกล้ าที่เกิดขึ้นบนระดับของความไม่แน่นอนของพลังงาน ทาให้ที่วา่ งซึ่ ง
เกือบจะไม่อยูใ่ นการรับรู้เกิดมีตวั ตนขึ้นมา..."
Tadao Ando
“แสงเพียงอย่ างเดียวสร้ างแสงไม่ ได้ ”
ความมืด จึงทาให้แสงกลายเป็ นแสงที่เปี่ ยมไปด้วยพลังและ
ศักดิ์ศรี ความมืดซึ่ งจุดประกายความสุ กสว่างและปลดปล่อย
พลังของแสง เป็ นส่ วนหนึ่งของแสงมาแต่กาเนิด แต่ความลึก
ของความมืดได้หายไปจากจิตสานึกของเราทุกวันนี้เพราะที่วา่ ง
ถูกหล่อขึ้นโดยแสงที่เป็ นหนึ่งเดียว
Tadao Ando
“แสงเพียงอย่ างเดียวสร้ างแสงไม่ ได้ ”
ความมืด จึงทาให้แสงกลายเป็ นแสงที่เปี่ ยมไปด้วยพลังและ
ศักดิ์ศรี ความมืดซึ่ งจุดประกายความสุ กสว่างและปลดปล่อย
พลังของแสง เป็ นส่ วนหนึ่งของแสงมาแต่กาเนิด แต่ความลึก
ของความมืดได้หายไปจากจิตสานึกของเราทุกวันนี้เพราะที่วา่ ง
ถูกหล่อขึ้นโดยแสงที่เป็ นหนึ่งเดียว
Tadao Ando
แสงประดิษฐ์จากโมเดิร์นได้ทาร้ายความหมายที่แสงสว่างเคย จับคู่ กับความมืดมาก่อนไปเสี ยสิ้ น ลักษณะที่เป็ นอันหนึ่งอัน
เดียวกันของแสงในสถาปัตยกรรมสมัยใหม่กค็ ือ การที่มนั กระจายตัวไปทัว่ และหยุดนิ่งไม่เปลี่ยนแปลงสัมพันธ์กบั สภาพแสง
ธรรมชาติที่ความเคลื่อนไหวภายนอก กลายเป็ นโลกที่โปร่ งใสจนเกินไป โลกแห่งแสงที่เป็ นหนึ่งเดียวส่ องสว่างจนไม่มี
อะไรเหลือ และความมืดก็ได้สูญสลายไปด้วย
"... ในสถาปัตยกรรมทั้งญี่ปุ่นและตะวันตกตั้งแต่สมัยกลางจนยุคก่อนสมัยใหม่ แสงต้องการการ
ดูแลอย่างระมัดระวังเพื่อทาให้เกิดประสิ ทธิภาพกับการใช้งานที่สุด ผลของมันก็คือคน ที่อยู่
ภายในสถาปัตยกรรมสามารถสาเหนียกถึงความสัมพันธ์ที่เชื่อมระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาติ..."
ความมืดดารงความสาคัญร่ วมกับความสว่าง ขาดเสี ยซึ่ง ความมืด แสงไหนเลยจะมี
ความสาคัญถึงเพียงนี้ และถ้าความสาคัญของสองสิ่ งนี้มีเท่ากัน ต้องเพ่งพิจารณาไปที่
ขอบเขต (boundary) ที่แยกแยะสองสิ่ งนี้ออกจากกัน หรื อในอีกทางหนึ่งขอบเขตที่ท้งั
สองสิ่ งนี้มามีส่วนสัมพันธ์ สอดประสานกลมกลืน มีปฏิสมั พันธ์ซ่ ึ งกันและกัน
วิหารแห่ งแสง
ที่นี่ผมเตรี ยมกล่ องผนังคอนกรีตหนาล้อมรอบเพื่อ
"สร้ างความมืด" แล้วก็ตดั ช่องลงไปในผนัง
อนุญาตให้แสงสอดลอดเข้าไปภายใต้สถานการณ์
ที่ควบคุมอย่างเข้มงวด ณ ชัว่ ขณะนั้น
แสงสร้างรอยแยกในความมืดอย่างเฉี ยบคม กาแพง พื้น
เพดาน รับเอาแสงเข้าไปปลดปล่อยการดารงอยูข่ องแต่ละ
องค์ประกอบออกมา เมื่อเวลาเปลี่ยน ทิศทางและความเข้ม
ของแสงก็เปลี่ยน
พูดอีกอย่างก็คือ ที่วา่ งไม่เคยเริ่ มที่จะบรรลุภาวะสมบูรณ์มนั
จะถูกสร้างใหม่อย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นในสถานที่ซ่ ึง เกิดใหม่ไม่มีวนั จบสิ้ น นี้เองที่คนจะ
สามารถกระตุน้ ความนัยแห่งชีวติ ที่กอ้ งสะท้อนออกมา
Tadao Ando
บ้านโคชิโน
เงาของแนวคานที่ เคลื่อนที่พาดผ่านบนผนัง เป็ นตัวบ่งบอกความเปลี่ยนแปลงของเวลา ผนัง รองรับการเปลี่ยนแปลงของเวลา
ได้ เป็ นการบ่งชี้ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติหรื อจักรวาลในความหมายกว้างที่สุด
บ้านโคชิโน ในห้องรับแขก ผนังและเพดาน เคลื่อนออกจากกัน (มีแนวคานโผล่มา) เปิ ดทางให้แสงเข้ามาได้
วัสดุทางสถาปัตยกรรมทีเ่ อือ้ ให้ เกิดแนวคิดวะบิ – ซะบิ
(ไม่ สมบูรณ์ ไม่ เสร็จ ดังนั้นตัวมันจึงยอมให้
เกิดการเปลีย่ นแปลงตามธรรมชาติได้ – คราบ/ เก่า)
วัสดุเอือ้ ให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงตามธรรมชาติ
ดังนั้นปรากฏการณ์ แสงทีเ่ กิดจาก
ธรรมชาติเช่ นกัน จึงมีความหมาย
สู งขึน้ กว่ าเดิม
ดังนั้นแสงจึงควรมีความหมายมากกว่าเพียงแค่ส่องสว่างให้เราเห็นสิ่ งของและดาเนินชีวติ ไปได้ แต่มนั ควรจะเป็ นตัวเชื่อมต่อ
สร้างความหมายสัมพันธ์กบั เวลาทั้งปี และในแต่ละวัน และนี่เองที่ทาให้แสงเป็ นปรากฏการณ์ที่สัมพันธ์กบั ที่วา่ งที่มนุษย์สร้าง
ขึ้นและทาให้มนุษย์รับรู ้ถึงการดารงอยูข่ องตัวเองที่เชื่อมโยงมีปฏิสัมพันธ์กบั สภาพแวดล้อม
สถานทีแ่ ห่ ง วะบิ-ซะบิ
พวกมันค้อมศีรษะเชื้อเชิญให้เข้าใกล้ สัมผัส และสัมพันธ์ พวกมันบันดาลให้เกิดการ
ลดทอนระยะห่างทางจิตระหว่างสิ่ งหนึ่งกับอีกสิ่ งหนึ่ง: ระหว่างผูค้ นและวัตถุสิ่งของ
ทั้งหลาย สถานที่วะบิ-ซะบิ คือบรรดาสภาพแวดล้อมที่มีขนาดเล็ก หลีกเร้น และเป็ น
ส่ วนตัว ซึ่ งเสริ มกาลังให้กบั ศักยภาพของแต่ละบุคคลสาหรับการใคร่ ครวญในเชิง
อภิปรัชญา...
ห้องเหล่านี้มีหน้าต่างบานเล็ก ทางเข้าขนาดกระจิดริ ด และมีแสงสลัวริ บหรี่ พวกมัน
ปราศจากสิ่ งรบกวนและทาให้จิตใจสงบ กล่าวคือมีลกั ษณะของการห่อหุม้ ละม้ายกับครรภ์
ของมารดา... ภายในสถานที่น้ ี ปั จเจกวัตถุทุกชิ้นจะขยายขอบข่ายความสาคัญออกไปใน
สัดส่ วนที่ผกผันกับขนาดที่เป็ นจริ งของมัน