การจัด

Download Report

Transcript การจัด


โลจิสติกส์ หรือ ลอจิสติกส์ (อังกฤษ: logistics) เป็ นระบบการจัดการการส่งสินค้า ข้อมูลและ
ทรัพยากรอย่างอื่นจากจุดต้นทางไปยังจุดบริโภคตามความต้องการของลูกค้า โลจิสติกส์เกี่ ยวข้องกับการ
ผสมผสานของ ข้อมูล การขนส่ง การบริหารวัสดุคงคัง การจัดการวัตถุดบิ การบรรจุหบี ห่อ โลจิสติกส์
เป็ นช่องทางหนึ่งของห่วงโซ่อปุ ทานทีเ่ พิม่ มูลค่าของการใช้ประโยชน์ของเวลาและสถานที่

กลยุทธ์การขนส่งสินค้า ทัง้ เที่ยวไปและกลับ การเพิม่ ประสิทธิภาพการขนส่งด้วยการลดการวิง่ เทีย่ วเปล่า
หรือ Backhauling management เป็ นการจัดการการขนส่งทีม่ เี ป้ าหมายให้
เกิดการใช้ประโยชน์จากยวดยาน (Load utilization) เพราะการขนส่งโดยทัว่ ไปเมือ่ ส่ง
สินค้า เสร็จ จะตีรถวิ่งเที่ยวเปล่ากลับมา ซึ่งทาให้เกิดต้น ทุนของการประกอบการเพิ่ มสู งขึ้นโดยเปล่า
ประโยชน์ ซึง่ ต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นมานี้นบั เป็ นต้นทุนทีไ่ ม่ก่อให้เกิดมูลค่า (Non-value added
cost) และผูป้ ระกอบการต้องแบกรับภาระต้นทุนเหล่านี้ ซึ่งเป็ นส่วนสาคัญในการทาให้ตน้ ทุนการ
ประกอบการสูงขึ้นแต่อย่างไรก็ตาม การบริหารการขนส่งเทีย่ วกลับ ในปัจจุบนั ยังไม่สามารถดาเนินการได้
อย่างมีประสิทธิภาพมากนักเนื่องจากไม่ทราบปริมาณความต้องการในการขนส่งสินค้า รวมถึ งจุดหมาย
ปลายทางของสินค้า ที่สาคัญปริมาณความต้องการการขนส่งสินค้า ระหว่างต้นทางและปลายทางมักจะมี
ปริมาณไม่เท่ากัน

การขนส่ง มีบทบาทสาคัญต่อการสนับสนุ นการกระจายสินค้าสู่ตลาดเพราะ การขนส่งทาหน้าที่ในการ
เคลือ่ นย้ายปัจจัยการผลิตจากแหล่งผลิตต่าง ๆ มาสู่โรงงาน เพือ่ ใช้ในการผลิตสินค้า เมือ่ ผลิตเป็ นสินค้า
สาเร็จรูปแล้ว ก็นามาเก็บไว้คลังสินค้า เพือ่ จัดส่งผ่านไปยังพ่อค้าคนกลาง จนกระทัง่ ถึงผูบ้ ริโภค ในเวลาที่
ผูบ้ ริโภคต้องการ และในสถานที่ทผ่ี ูบ้ ริโภคสะดวกที่จะซื้อหา นอกจากนี้ การขนส่งยังมีผลต่อต้นทุนรวม
ในการสนับสนุ นการกระจายสินค้าสู่ตลาดอีกด้วย เพราะค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า ถือเป็ นต้นทุนส่วน
หนึ่งในการนามากาหนดราคาสินค้าทีจ่ าหน่ายในตลาด

ปัญหาการจัดเส้นทางสาหรับยานพาหนะเป็ นปัญหาที่สาคัญในการจัดการด้านลอจิสติกส์ อย่างหนึ่ง ซึ่ง
หมายถึง การกาหนดให้ยานพาหนะทาการขนส่งวัตถุดิบจากผูผ้ ลิตไปยังโรงงานที่ผลิตสิน ค้า หรือการ
ขนส่งสินค้าจากโรงงานไปยังคลังเก็บสินค้าหรือลูกค้า บริษทั ต้องการหาวิธกี ารขนส่งสินค้าและการกระจาย
สินค้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ทีจ่ ะลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินการและเพิม่ ผลกาไรของบริษทั
 ราคานา้ มันในตลาดโลกที่ปรับตัวสู งขึ้นอย่างต่อเนื่องได้ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมการ
ขนส่งโดยตรง เมื่อต้นทุนในการขนส่งสินค้าหรือต้นทุนลอจิสติกส์มีค่าสู งขึ้นก็จะส่งผลให้ราคาสินค้า
ปรับตัวสูงขึ้นตามวัฎจักร และท้ายสุดก็จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ การลดต้นทุน
การขนส่งนัน้ อาจจะกระทาได้หลายวิธีเช่น การใช้พลังงานทดแทน (พลังงานแสงอาทิตย์และเชื้อเพลิงจาก
ธรรมชาติอ่นื ๆ) การพัฒนาระบบการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ การใช้เทคโนโลยีอ่นื ๆ และการใช้นโยบาย
การประหยัดพลังงาน วิธีอีกวิธีหนึ่งที่สามารถลดต้นทุนในการขนส่งได้คือ การใช้ระบบการจัดการการ
ขนส่งที่มปี ระสิทธิภาพมากขึ้น การมีประสิทธิภาพมากขึ้นนัน้ อาจหมายถึง การใช้จานวนยานพาหนะที่
น้อยลง การใช้ระยะทางในการขนส่งที่นอ้ ยลง (ยานพาหนะใช้เชื้อเพลิงลดลง) และการลดจานวนรถวิ่ง
เที่ยวเปล่าซึ่งสามารถกระทาได้ในทัง้ รูปแบบ Line haul และ Backhaul รัฐบาลได้
เล็งเห็นถึงความสาคัญของการจัดระบบการขนส่งและลอจิสติกส์ท่มี ปี ระสิทธิภาพจนประกาศเป็ นวาระ
แห่งชาติ และตัง้ เป้ าหมายว่า ภายในอนาคตอันใกล้ประเทศไทยจะสามารถลดต้นทุนลอจิสติกส์ลง

ความหมายของการขนส่ง(Definition of Transportation)
หมายถึง การจัดให้มกี ารเคลือ่ นย้ายบุคคล สัตว์หรือสิง่ ของต่างๆด้วยเครื่องมื อและอุปกรณ์ทใ่ี ช้ใน
การขนส่ง ทาการเคลือ่ นย้ายจากแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง ตามวัตถุประสงค์และการเกิ ดอรรถประโยชน์
ตามต้องการ

1.เพือ
่ สังคม
การคบหาสมาคมและติดต่อสัมพันธ์กบั บุคคลอื่นๆในสังคมนัน้ มีอยู่ตลอดเวลา มี
การพบปะพดคุยกันแลกเปลีย่ นความรูค้ วามคิดเห็นซึ่งกันและกัน ไม่ว่าจะเป็ นบุคคลที่ อยู่กลุ่มเดียวกัน
หรือต่างกลุ่มกัน จะต้องมีการติดต่อและไปมาหาสู่กนั ไม่มากก็นอ้ ยและเมื่อมีความจาเป็ นที่ตอ้ งติดต่อ
สัมพันธ์กนั การขนส่งจึงเป็ นสิง่ จาเป็ นทีส่ ามารถสนับสนุนและตอบสนองวัตถุประสงค์ได้อย่างเต็มที่

2.เพือ่ ทีอ่ ยู่อาศัยและการประกอบอาชีพ คนเรามีความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีทอ่ี ยู่ อาศัยเพือ่ ใช้สาหรับ
เป็ นทีพ่ กั ผ่อน และพร้อมกันนัน้ ก็จะต้องมีการประกอบอาชีพเพือ่ หารายได้มาดารงชี วติ ซึ่งโดยทัว่ ไปแล้ว
สถานที่อยู่อาศัยกับสถานที่ทางานจะอยู่กนั คนละแห่ง จึงจาเป็ นต้องอาศัยการขนส่ งเข้ามาเป็ นสื่อกลางใน
การเดินทางระหว่างทีพ่ กั อาศัยกับทีท่ างาน

3.เพื่อการเมืองและการปกครอง ในการบริหารประเทศนัน้ จาเป็ นต้องอาศัยการขนส่งเข้ามา
เกี่ยวข้องอย่างมากเพราะการปกครองทีด่ นี นั้ จะต้องมีความสามารถในการปกครองให้ทวั ่ ถึงและเกิดความ
เจริญทัดเทียมกัน พร้อมกันนัน้ ก็จะต้องมีการระวังป้ องกันประเทศด้วย คือ รัฐบาลจะต้องปกครองและ
บริหารประเทศให้ดแี ละให้ทวั ่ ถึง ในขณะเดียวกันก็จะต้องพยายามป้ องกันและรักษาความปลอดภัยของ
ประเทศด้วย เพือ่ ให้ประเทศเกิดความเจริญรุ่งเรือง ประชาชนอยู่กนั อย่างสงบสุข ฉะนัน้ จึงต้องอาศัยการ
ขนส่งมาช่วยส่งเสริม

4.เพือ่ การศึกษาหาความรู ้ สังคมปัจจุบนั มีความจาเป็ นต้องมีการแสวงหาความรูป้ ระสบการณ์ใหม่ๆอยู่
เสมอ เพือ่ พัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา ดังนัน้ จึงต้องมีการศึกษาหาความรูอ้ ยู่เสมอ จึงใช้การขนส่งเข้ามาช่วยในการ
เดินทางเพื่อศึกษาหาความรู ้ ไม่ว่าจะเป็ นการเดินทางเพือ่ การศึกษาในบริเวณใกลเ้ คียงหรือแม้ก ระทัง่ การศึกษาใน
ต่างประเทศ

5. เพือ่ การท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจ เมือ่ คนเรามีการประกอบอาชีพ มีการศึกษาหาความรูแ้ ละอื่นๆ
แลว้ ก็จะต้องมีการพักผ่อนหย่อนใจไปพร้อมกันด้วย ในการพักผ่อนหย่อนใจนัน้ เราอาจจะใช้วธิ ี ท่แี ตกต่ างกัน
ออกไป เช่น อ่านหนังสือ ดูหนัง เล่นกีฬา ปลูกต้นไม้ แต่ก็มอี กี วิธีหนึ่งที่คนเรานิยมกันมากที่สุดก็คือ การท่องเที่ยว
(Tourism) ซึ่งการท่องเที่ยวนี้มแี หล่งการท่องเที่ยวมากมาย ทัง้ ในประเทศและต่ างประเทศ ดั งนัน้ การ
ท่องเทีย่ วจึงจาเป็ นต้องอาศัยการขนส่งเข้ามาเป็ นสือ่ กลางในการเดินทางเพือ่ ไปให้ถงึ ยังแหล่งท่องเทีย่ วตามต้องการ

6.วัตถุประสงค์อ่นื ๆ การขนส่งยังมีส่วนสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับสิง่ อื่นๆอีกมากมาย โดยเฉพาะทางด้าน
การประกอบธุ รกิจและอุตสาหกรรม ซึ่งต่ างก็ตอ้ งอาศัยการขนส่งเข้ามามีบทบาทร่ วมด้วยทัง้ สิ้น เช่น ในการผลิต
สินค้าและบริการต่างๆไม่ว่าจะเป็ นสินค้าอุปโภคหรือบริโภค จาเป็ นต้องมีการขนส่งสินค้าและบริการโดยเริ่มตัง้ แต่
วัตถุดบิ จนผลิตออกมาเป็ นสินค้าจนถึงมือผูบ้ ริโภค สิง่ เหล่านี้จาเป็ นต้องอาศัยการขนส่งทัง้ สิ้น

ประโยชน์ของการขนส่ง1. ช่วยให้ตลาดสินค้าขยายขอบเขตออกไปกว้างขวางขึ้น สามารถส่งสินค้าไป
จาหน่ายไกลๆ ได้2. สามารถเพิม่ มูลค่าของสินค้าได้ เพราะถ้าส่งสินค้าไปยังทีท่ ส่ี นิ ค้าดังกล่าวปริมาณน้อย
คนต้องการมาก ย่อมทาให้สนิ ค้ามีราคาแพงขึ้น3. ทาให้เกิดการแบ่งงานกันทา4. ทาให้ไม่เกิดการกักตุน
สินค้า เพราะการขนส่งมีได้ตลอดเวลา ใช้เวลาไม่นานในการขนส่งแต่ละครัง้ 5. ทาให้ประชาชนเดินทางไป
ยังสถานทีต่ ่างๆ ได้สะดวก6. ทาให้ประชาชนมีงานทา เพราะการขนส่งต้องใช้แรงงานระดับต่างๆ จานวน
มากจึงทาให้เกิดอาชีพเกี่ยวกับขนส่งและอาชีพอืน่ ทีเ่ กี่ยวข้อง
บทบาทของการขนส่งต่อระบบการจัดจาหน่าย การขนส่งเป็ นส่วนสาคัญและจาเป็ นส่วนหนึ่งของระบบการ
จัดจาหน่ายเช่นเดียวกับทีเ่ ป็ นส่วนสาคัญและจาเป็ นต่อระบบการผลิตและการขนส่ง กล่าวคือระบบขนส่งที่
ทันสมัยช่วยในการเคลือ่ นย้ายสินค้าสาเร็จรูปทีผ่ ลิตออกมาเป็ นจานวนมากไปยังสถานทีต่ ่างๆ ในปัจจุบนั
ระบบการขนส่งได้รบั การพัฒนาขึ้นเป็ นอันมาก ทาให้ระบบการจัดจาหน่ายสามารถทาหน้าที่ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น การขนส่งมีความสาคัญต่อระบบจักจาหน่ายในการให้อรรถประโยชน์ทางด้านสถานที่
และเวลาอย่างมาก อย่างไรก็ดกี ารขนส่งมีขอ้ จากัดอยู่เหมือนกัน ค่าใช้จ่ายด้านขนส่งเป็ นค่าใช้จ่ายทีม่ ี
ความสาคัญเป็ นอันดับสามรองลงมาจากค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน ดังนัน้ ธุรกิจจึงไม่อาจหลีกเลีย่ งการ
พิจารณาเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการขนส่ง

บทบาทและความสาคัญของการขนส่ง
1. ช่วยขยายขอบเขตของตลาดให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น
2. ช่วยปรับระดับราคาสินค้าให้มคี วามแน่นอนและเกิดเสถียรภาพ (Price
Stability)
3. ช่วยให้เกิดการแข่งขันในตลาด (Market Competition)
4. ช่วยให้มกี ารแบ่งงานกันทาตามความถนัด (Division of Labour)
5. ช่วยให้เกิดการผลิตขนาดใหญ่ (Mass Production)
6. ช่วยให้มกี ารกระจายรายได้ทเ่ี ป็ นธรรมยิง่ ขึ้น (Income
Distribution)
7. ช่วยให้มกี ารจ้างงานเพิม่ ขึ้น



1. การขนส่งกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจของประเทศ การขนส่งมีผลต่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจของ
ประเทศเป็ นอย่างมาก ซึง่ จะมีผลต่อเศรษฐกิจของประเทศในเรื่องต่าง ๆ
2. การขนส่งกับการพัฒนาด้านสังคมของประเทศ การขนส่งมีผลต่อการพัฒนาการทางสังคมของ
ประเทศเช่นเดียวกับการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ
3. การขนส่งกับการพัฒนาด้านการเมืองการปกครองประเทศ
› มีหน้าทีใ่ ห้บริการแก่ผูใ้ ช้อย่างสมา่ เสมอ
› ตอบสนองการใช้ชวี ติ ประจาวันและความเป็ นอยู่ของประชาชนเป็ นส่วนใหญ่
› มีความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติจงึ เป็ นเหตุผลสาคัญยิ่งที่ร ัฐจาเป็ นต้องเข้ามา
กากับดูแลกิจกรรมการขนส่ง เพือ่ ให้ความร่วมมือ ควบคุม ช่วยเหลืออุดหนุนเรื่องต่างๆ เพือ่ ให้เกิด
กิจกรรมอย่างสะดวกต่อเนื่องตลอดเวลา เพือ่ ให้ได้มาตรฐานและมีความปลอดภัยและป้ องกันการ
สูญเสียทางเศรษฐกิจ และควบคุมอัตราการให้บริการเพื่อความยุติธรรม ป้ องกันการเอารัดเอา
เปรียบและการแข่งขันจนเกินจาเป็ น

ประสิทธิภาพในการขนส่ง
ประสิท ธิภ าพในการขนส่ ง นับ เป็ น จุด เริ่ม ต้น ของความส าเร็ จ ในการด าเนิ น ธุ รกิ จ
PTTPL
ให้บริการขนส่งที่รวดเร็วทัง้ ใน และต่ างประเทศโดยการใช้งานระบบบริหารการขนส่งที่ มี
ประสิทธิภาพจะทาให้สามารถบริหารการขนส่งให้ได้ผลทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดไม่วา่ จะในเรื่องของการออกแบบโครงข่าย
การขนส่ง และการเลือกเส้นทาง นอกจากนัน้ PTTPL
ยังเสนอการบริการขนส่ง แบบ Multi
Modal ไม่วา่ จะเป็ นทางรถไฟ ขนส่งหลายรูปแบบ(รถ-รถไฟ) รวมถึงการขนส่งทางเรือด้วย ซึ่งจะสามารถ
ช่วยให้ประหยัด และสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กบั ลูกค้าของเราด้วย



ในการประกอบธุ รกิจทางด้านการขนส่งนัน้ จะมีองค์ประกอบที่มคี วามสาคัญเป็ นอย่ างมาก คือ
เส้นทาง(Way
or
Route)
รถยนต์(Vehicle)
อุปกรณ์
(Equipment) สถานี(Terminal) และยังมีองค์ประกอบอืน่ ๆทีจ่ ะต้องพิจารณา
อีก เช่น ผูป้ ระกอบการ(Operator or Carrier) กฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ
(Regulations)
1.เส้นทางในการขนส่ง (Way,Route) หมายถึง ถนน แม่นา้ ทะเล ทางรถไฟ
และอากาศ ซึง่ จะเป็ นเส้นทางที่ใช้เดินทางเพือ่ การขนส่ง ซึง่ อาจจะเป็ นเส้นทางบนอากาศหรือใน
ทะเลมหาสมุทร นอกจากนี้เส้นทางในการขนส่งอาจจะเป็ นเส้นทางทีม่ กี ารใช้อยู่เป็ นประจาหรือเป็ น
ครัง้ คราวหรืออาจจะเป็ นเส้นทางทีถ่ กู กาหนดขึ้นตามความต้องการก็ได้
2.รถยนต์ในการขนส่ง(Vehicle) รถยนต์ในการขนส่งในทีน่ ้ ี หมายถึง รถยนต์
รถไฟ เรือ เครื่องบิน ในการขนส่งนี้ก็อาจจะแบ่งออกเป็ นอุปกรณ์ในการเคลือ่ นย้ายและอานวย
ความสะดวกให้กบั ผูโ้ ดยสารและอุปกรณ์เพือ่ การส่งสินค้าและบริการหรืออาจจะเป็ นอุปกรณ์เพือ่
การขนส่งสิง่ ใดสิง่ หนึ่งเฉพาะก็ได้



3.อุปกรณ์ในการขนส่ง(Equipment) อุปกรณ์ทใ่ี ช้อานวยความสะดวกในการขนส่ง
ในทีน่ ้ ี หมายถึง รถยก อุปกรณ์ข้นึ สินค้า อาจจะแบ่งออกเป็ นอุปกรณ์ในการเคลือ่ นย้ายและยกขนสินค้า
4.สถานนีในการขนส่ง(Terminal) เป็ นสถานทีซ่ ่งึ ใช้เป็ นจุดสาหรับหยุดรับส่ งผูโ้ ดยสาร
หรือสินค้าและบริการสาหรับการขนส่งแต่ละประเภท ซึง่ อาจจะเป็ นสถานีตน้ ทางหรือหรือระหว่่างเส้นทางก็
ได้ การเรียกชื่อสถานีในการขนส่งนี้ก็มกี ารเรียกที่แตกต่างกันออกไป เช่น ท่าอากาศยาน ใช้สาหรับการ
ขนส่งทางอากาศ ท่าเรือ ใช้สาหรับการขนส่งทางนา้ สถานีขนส่งผูโ้ ดยสารและสถานีขนส่งสิ นค้าใช้สาหรับ
การขนส่งทางบก
ปัจ จัย หรื อ องค์ป ระกอบทัง้ 4 ประการ ถือ ได้ว่ า เป็ น ปัจ จัย ที่ส าคัญ ส าหรับ การขนส่ ง ซึ่ง
จาเป็ นต้องมีและจะขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไม่ได้เลย เช่น ถ้ามีเส้นทางและมีสถานีในการขนส่ง แต่ขาดอุปกรณ์
ในการขนส่งก็ไม่สามารถทีจ่ ะดาเนินกิจกรรมต่างๆได้หรือมีสถานีในการขนส่งและอุปกรณ์ ทุกอย่างพร้อม
แต่ขาดเส้นทางสาหรับการขนส่ง ก็ไม่สามารถดาเนินการให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ได้เช่ นกัน ดังนัน้ ปัจจัย
ทัง้ 4 อย่างนี้ คือ เส้นทาง รถยนต์ อุปกรณ์และสถานีในการขนส่ง จึงเป็ นสิ่งที่ถือ ได้ว่าจาเป็ นและเป็ น
ปัจจัยทีส่ าคัญสาหรับการขนส่งซึง่ จะขาดไม่ได้

ประเภทของการขนส่ง การขนส่งสินค้า สามารถขนส่งได้หลายประเภท ซึง่ Louis W.
stern, Adel I. El-Ansary and Anne T. Coughlan (1996
: 155) ได้แบ่งประเภทของการขนส่งออกเป็ น 5 ประเภท คือ
1. การขนส่งทางรถไฟ (rail)
2. การขนส่งรถยนต์หรือรถบรรทุก (truck)
3. การขนส่งทางนา้ (water)
4. การขนส่งทางอากาศ (air)
5. การขนส่งทางท่อ (pipeline)

โดยทัว่ ไปการขนส่งสินค้าทางรถไฟสามารถขนส่งสินค้าได้ครัง้ ละจานวนมาก ค่าใช้จ่ายในการขนส่งต่อ
หน่วยประหยัด รวมทัง้ ก่อให้เกิดมลภาวะน้อยกว่าทางถนน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายรัฐในการประหยัด
พลังงานและช่วยลดปัญหาการจราจร สินค้าทีข่ นส่งส่วนมากเป็ นสินค้ามูลค่าตา่ และนา้ หนักมาก เช่น ถ่าน
หิน ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปูนซีเมนต์ ข้าว นา้ ตาล เป็ นต้น โดยรู ปแบบของรถสินค้าที่ ใช้กนั มีหลาย
ประเภท เช่ น รถไฟตู บ้ รรทุกสินค้า ทัว่ ไป (Box
car
for
general
commodities) รถไฟบรรทุกนา้ มันและก๊าซ (Tanker for liquid and
gas) เป็ นต้น นอกจากนี้ การขนส่งทางรถไฟสามารถใช้ขนส่งตูค้ อนเทนเนอร์ได้ จึงเหมาะกั บการ
ขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ โดยการขนส่งสินค้าในระยะทางไกลจะใช้รถไฟ และการขนส่งทางรถบรรทุก
ระหว่างจุดต้นทางสินค้ากับสถานีตน้ ทาง และระหว่างสถานีปลายทางกับจุดปลายทางสินค้าในระยะทางสัน้
จะใช้การขนส่งทางถนน อย่างไรก็ตามการขนส่งทางรถไฟมักไม่มคี วามต่อเนื่องและไม่ตรงเวลาเนื่ องจาก
ต้องมีการเปลีย่ นรถ ณ สถานีรถไฟหรือชุมทางรถไฟต่าง ๆ และขบวนรถไฟมีจากัด ไม่เพียงพอต่อความ
ต้องการขนส่งสินค้า

ถือได้ว่าเป็ นหัวใจหลักของการขนส่งทางบก ประกอบกับรัฐบาลได้มนี โยบายการสร้างถนน การขยาย
เส้นทาง และการผลักดันให้เกิดกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ อาทิเช่น ความร่วมมือระหว่างประเทศ
ในกลุม่ อนุภูมภิ าคลุม่ แม่นา้ โขง (GMS) ทาให้เกิดถนนสายเศรษฐกิจ (R3A -R3B ,R9)
ซึ่งจะส่งผลให้การค้าขายระหว่างประเทศมีความสะดวก และคล่องตัวมากขึ้น ซึ่งการขนส่งทางรถยนต์
หรือทางรถบรรทุกนัน้ สามารถแก้ปญ
ั หาในด้านการจาหน่ ายสินค้าของผู ผ้ ลิตได้เ ป็ นอย่ างมาก ผู ค้ า้
สามารถมันใจได้
่ วา่ สินค้าทีส่ งจะส่
ั ่ งถึงมือในเวลาอันรวดเร็ว

การขนส่งทางทะเลจัดเป็ นการขนส่งทีม่ คี วามสาคัญทีส่ ุดและใช้มากทีส่ ุด เมือ่ เทียบกับรูปแบบการขนส่ง
อืน่ ๆ เนื่องจากมีตน้ ทุนการขนส่งทีต่ า่ และสามารถขนส่งสินค้าได้คราวละมากๆ โดยรูปแบบการขนส่งทาง
ทะเลในปัจจุบนั ส่วนใหญ่เป็ นการขนส่งด้วยระบบตูค้ อนเทนเนอร์ (Container Box) โดย
สินค้าทีจ่ ะขนส่งจะต้อง มีการนามาบรรจุตู ้ (Stuffing) และมีการขนย้ายตูข้ ้นึ ไว้ บนเรือ
Container Ship ซึง่ ออกแบบมาเป็ นพิเศษ สาหรับใช้ในการขนส่งสินค้าด้วย ตูค้ อนเทน
เนอร์ ซึง่ ท่าเรือทีจ่ ะมารองรับเรือประเภทนี้ จะต้องมีการออกแบบ ทีเ่ รียกว่า Terminal
Design เพือ่ ให้มคี วามเหมาะสมทัง้ ในเชิงวิศวกรรมและ สิง่ แวดล้อม โดยจะต้องประกอบด้วย ท่า
เทียบเรือ เขือ่ นกัน้ คลืน่ รวมถึงสิง่ อานวยความสะดวกต่างๆ ซึง่ ผูท้ ศ่ี ึกษาในด้าน Logistics จะต้อง
ให้ความสนใจในการทีจ่ ะศึกษาเกี่ยวกับการขนส่งด้วยระบบคอนเทนเนอร์ให้เข้า

อุตสาหกรรมการขนส่งทางอากาศ นับเป็ นสาขาที่มคี วามสาคัญต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจของโลก โดย
International Air Transport Association (IATA) ระบุว่าสัดส่วน
ประมาณร้อยละ 40 ของมูลค่าการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมของโลกพึง่ พาการขนส่งทางอากาศ ด้านการ
ขนส่งสินค้าทางอากาศของโลกในช่วงกว่าทศวรรษที่ผ่านมามีการขยายตัวในอัตราประมาณ 6.2% ต่อปี
โดยเข้าสู่ภาวะชะลอตัวลงในช่วงเกิดวิกฤตเศรษฐกิจที่มาจากเอเชียในช่วงปี พ.ศ. 2540-2541 จากนัน้ จึง
ได้เริ่มฟื้ นตัวขึ้นอย่างชัดเจนนับตัง้ แต่ครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2542 เป็ นต้นมา ทัง้ นี้ บริษทั โบอิ้ง จากัด ได้
คาดหมายว่าแนวโน้มการขยายตัวของการขนส่งสินค้าทางอากาศในระยะยาวจะอยู่ในอัตราเฉลีย่ ประมาณ
6.4% ต่ อ ปี และตลาดที่เ ชื่อ มโยงกับ เอเชีย จะยัง คงเป็ น ผู น้ า โดยขยายตัว ในอัต ราสู ง กว่ า ค่ า เฉลี่ย
โดยเฉพาะการขนส่งสินค้าทางอากาศระหว่างชาติเอเชียด้วยกันจะมีอตั ราการเติบโตที่รวดเร็ว ที่สุดเมื่อ
เทียบกับทุกตลาดด้วยอัตราประมาณ 8.6 % ต่อปี และเมือ่ ถึงปี พ.ศ. 2562 ตลาดเอเชียจะมีส่วนแบ่งใน
การขนส่งสินค้าทางอากาศกว่า 50% ของตลาดโลก

เป็ นระบบขนส่งทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ เนื่องจากสินค้าทีข่ นส่งต้องอยู่ในรูปของเหลว โดยบริเวณทีท่ ่อผ่าน
จะต้องมีความชันไม่มากเกินไป เพือ่ ให้ของเหลวทีไ่ หลผ่านท่อไม่ไหลย้อนกลับและไม่มกี ารขนส่งเทีย่ ว
กลับ สินค้าทีน่ ิยมขนส่งทางท่อ ได้แก่ นา้ มันดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และก๊าซธรรมชาติ เป็ นต้น