การผลิต

Download Report

Transcript การผลิต

291320
Business Information
System
บทที่ 3
ระบบสารสนเทศด้านการ
ผลิต
อ.ธาราร ัตน์ พวงสุวรรณ
[email protected]
ความหมายของระบบ
สารสนเทศทางธุรกิจ
• ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (business information
่ กพัฒนาขึนเพื
้ อ
่
systems) เป็ นระบบสารสนเทศทีถู
สนับสนุ นให ้การดาเนิ นงานของธุรกิจสามารถ
ดาเนิ นการอย่างเป็ นระบบ
่
• โดยถูกออกแบบและพัฒนาให ้ปฏิบต
ั งิ านตามหน้าทีทาง
ธุรกิจ
้
• ตลอดจนช่วยส่งเสริมให ้ทังองค
์การ สามารถประสานงาน
้
และใช ้ข ้อมูลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพทังในระดั
บ
ปฏิบต
ั งิ านและระดับบริหาร
การจาแนกระบบสารสนเทศตาม
่
หน้าทีทางธุ
รกิจ
1. ระบบสารสนเทศด ้านการผลิตและ
ดาเนิ นงาน (Production and operation
information system)
2. ระบบสารสนเทศด ้านการตลาด
(Marketing information system)
3. ระบบสารสนเทศด ้านการเงิน (Financial
information system)
4. ระบบสารสนเทศด ้านการบัญชี
(Accounting information system)
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ด้านการผลิต
ด้านการตลาด
ระบบ
ด้านการจัดการ
ทร ัพยากรมนุ ษย ์
สารสนเ
ทศ
ธุรกิจ
ด้านการบัญชี
ด้านการเงิน
ระบบสารสนเทศด้านการผลิต
• ระบบสารสนเทศทางการผลิต หมายถึง
้ บสนุนหน ้าที่
ระบบทีพ
่ ัฒนาขึน
้ เพือ
่ ใชสนั
งานด ้านการผลิตและการดาเนินงาน
• ตลอดจนกิจกรรมทีม
่ ค
ี วามเกีย
่ วข ้องกับ
การวางแผน การควบคุมกระบวนการผลิต
และการจัดระบบการผลิตของธุรกิจ
• โดยจาเป็ นจะต ้องมีการประมวลผลธุรกรรม
ด ้านการผลิตและการดาเนินงาน
การผลิต
• การผลิต (production) เป็ นกระบวนการแปรรูป
ทรัพยากรการผลิตหรือปั จจัยการผลิต
• ได ้แก่ วัตถุดบ
ิ แรงงาน เงิน และ การจัดการไปสู่
ิ ค ้าและบริการ
สน
• การผลิตและการดาเนินงาน คือ กิจกรรมหลัก
่ ป
กิจกรรมหนึง่ ซงึ่ อยูภ
่ ายใต ้ห่วงโซอ
ุ ทาน
• ผู ้ผลิตต ้องพยากรณ์ปริมาณของผลิตภัณฑ์ท ี่
เหมาะสมกับความต ้องการของลูกค ้า โดยไม่ให ้
มีจานวนมากหรือน ้อยจนเกินไป
• ตลอดจนควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็ นที่
ต ้องการของลูกค ้า โดยมีต ้นทุนการผลิตที่
ห่วงโซ่อป
ุ ทาน (Supply Chain)
่
่
ห่วงโซ่อป
ุ ทาน หมายถึง การศึกษาถึงการเคลือนที
ของวัตถุดบ
ิ สารสนเทศ และบริการจากผูจ้ ด
ั
จาหน่ าย (Supply Chain) ผ่านโรงงานจนไปถึง
ผูบ้ ริโภคคนสุดท ้าย
้
• Supply Chain ประกอบขึนมาจากแนวคิ
ด 2 ด ้าน
่
่
่
• ได ้แก่ แนวคิดเกียวกั
ิ จาก
บการเคลือนที
ของวั
ตถุดบ
แหล่งผลิตเข ้าสูร่ ะบบการผลิต ผ่านกระบวนการผลิต
้ ดทีผู
่ บ้ ริโภคคนสุดท ้าย
จนเป็ นผลิตภัณฑ ์และสินสุ
่
่ ้อธิบาย
• รวมเข ้ากับแนวคิดเกียวกั
บห่วงโซ่อป
ุ สงค ์ ทีได
่
่ อสิ
้ นค ้าจนกระทังการสั
่
่ อนั
้ ้นได ้ร ับ
เกียวกั
บการสังซื
งซื
•
ห่วงโซ่อป
ุ ทาน (Supply Chain)
• ห่วงโซ่อป
ุ ทาน ประกอบด ้วย กระบวนการ
วางแผนการผลิต และกิจกรรมทางการตลาด
• วัตถุประสงค ์ของการจัดการห่วงโซ่อป
ุ ทาน คือ การ
่
ลดความไม่แน่ นอนและความเสียงในการด
าเนิ น
้
กิจกรรมทังหมดของห่
วงโซ่อป
ุ ทาน
• ด ้วยการควบคุมระดับสินค ้าคงคลัง ระยะเวลาในการ
ผลิต กระบวนการผลิต
้ จะช่
้ วยให ้องค ์กรได ้ร ับผล
• และการบริการลูกค ้า ทังนี
่
กาไรและความได ้เปรียบคูแ่ ข่งขันเพิมมากขึ
น้
การไหลของสารสนเทศในห่วงโซ่
อุปทาน
ซ ัพพลายเออรโรงงาน
์
ผู จ
้ ด
ั จาหน่ ารย้านค้าปลีกลู กค้า
ซ ัพพลายเชน
การผลิต
แรงงาน
เงิน
การ
จัดการ
สินค้าและ/หรือ บริการ
ว ัตถุดบ
ิ
ปั จจัยการผลิต
•
•
•
•
แรงงาน หรือ คน
เงิน
วัตถุดบ
ิ
การจัดการ
ปั จจัยการผลิต
• แรงงาน หรือ คน
– บุคคลทีน
่ ากาลังกายและกาลัง
ความคิด เพือ
่ นามาใชส้ าหรับการ
ประกอบธุรกิจ
้
– หรือใชประโยชน์
สาหรับการผลิต
ิ ค ้าและบริการ
สน
่ ประธานบริษัท ผู ้จัดการ
– เชน
พนักงาน และคนงาน
ปั จจัยการผลิต
• เงิน
– จานวนเงินทีใ่ ชส้ าหรับการประกอบ
ธุรกิจ
่ ใชส้ าหรับการจัดหาปั จจัยการ
– เชน
ิ ค ้าและบริการ
ผลิตเพือ
่ การผลิตสน
–ได ้แก่ เงินทีจ
่ า่ ยเป็ นค่าเชา่ อาคาร
สานักงาน
–เงินเดือนพนักงาน
้
–ยังรวมถึงทุน ซงึ่ ทีใ่ ชในการผลิ
ตอืน
่
ปั จจัยการผลิต
• วัตถุดบ
ิ
– หมายถึง วัตถุดบ
ิ ทีไ่ ด ้มาจาก
ทรัพยากรธรรมชาติ
ิ ค ้าสาเร็จรูปของกิจการ
– หรือเป็ นสน
อืน
่
ิ ค ้า
–นามาแปลงสภาพให ้เป็ นสน
สาเร็จรูปของกิจการ
–วัตถุประสงค์ของการมีวต
ั ถุดบ
ิ
ิ ค ้า
เพือ
่ ให ้กระบวนการผลิตสน
ปั จจัยการผลิต
• การจัดการ
- หมายถึง การนากระบวนการ
วางแผน การจัดองค์กร
การบังคับบัญชา การประสานงาน
และการควบคุม
้
- มาใชในการก
าหนดนโยบายและ
วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานของ
กิจการ
- เพือ
่ ให ้การดาเนินงานของกิจการ
ระบบการผลิต
• หมายถึง กระบวนการแปลงสภาพ
ทรัพยากรหรือปั จจัยการผลิตทีม
่ อ
ี ยู่
• โดยผ่านลาดับขัน
้ ตอนต่าง ๆ ของการผลิต
• ให ้เป็ นผลผลิตทีอ
่ ยูใ่ นรูปแบบทีต
่ ้องการ
ระบบการผลิต
ปั จจัยการ
ผลิต
กระบวนการ
ผลิต
ข้อมู ล
ย้อนกลับ
ผลผลิต
ระบบการผลิต
• ประกอบด ้วยสว่ นสาคัญ 4 สว่ น
–ปั จจัยการผลิต
–กระบวนการผลิต
–ผลผลิต
–ข ้อมูลย ้อนกลับ
กระบวนการผลิต
• หมายถึง กระบวนการแปลงสภาพปั จจัย
การผลิตให ้เป็ นผลผลิต
ั หลักการในการจัดการการผลิต
• โดยอาศย
• ได ้แก่ การวางแผนการผลิต การ
ดาเนินการผลิต และการควบคุมการผลิต
• เพือ
่ ให ้ได ้ผลผลิตตามต ้องการ
ผลผลิต
ิ ค ้าและบริการทีไ่ ด ้จากการนาปั จจัยการ
• สน
่ ระบวนการผลิต
ผลิตผ่านเข ้าสูก
ข้อมู ลย้อนกลับ
ิ ธิภาพและประสท
ิ ธิผล
• การประเมินประสท
ของระบบการผลิต
• เพือ
่ นาข ้อมูลมาใชส้ าหรับการปรับปรุง
แก ้ไขในขัน
้ ตอนระหว่างการนาปั จจัยการ
่ ระบวนการผลิต
ผลิตเข ้าสูก
• เพือ
่ ให ้ได ้ผลผลิตตามต ้องการ
การจัดการการผลิต
ึ ษา วิเคราะห์ กาหนดแนวทางปฏิบัต ิ
• เป็ นการศก
และควบคุมกระบวนการแปรรูป
(transformation process) ปั จจัยนาเข ้า
(input) หรือทรัพยากรการดาเนินงาน
• ให ้เป็ นผลลัพธ์ (output) ออกมาในรูปแบบของ
ิ ค ้า และ/หรือบริการ อย่างเป็ นระบบ
สน
ิ ธิภาพและสอดคล ้องกับวัตถุประสงค์
• มีประสท
ขององค์การ
การจัดการการผลิต
• จะเกีย
่ วข ้องกับหลักการ ดังนี้
–การวางแผนการผลิต
–การดาเนินการผลิต
ิ ค ้าและบริการ
–การควบคุณคุณภาพสน
การจัดการการผลิต
การวางแผนการผลิต
- การวางแผนเกีย
่ วกับการจัดสรร
ทรัพยากรในการผลิต
- ให ้ตรงตามเป้ าหมายทีต
่ ้องการ
่ การเลือกแหล่งทีต
- เชน
่ งั ้ โรงงาน การ
วางผังโรงงาน การวางแผนผลิตภัณฑ์
และการวิเคราะห์ความสามารถในการ
ผลิต
การจัดการการผลิต
การดาเนิ นการผลิต
- หมายถึง การกาหนดรายละเอียด
้
เกีย
่ วกับปริมาณ และเวลาทีใ่ ชในการผลิ
ต
สาหรับชว่ งระยะเวลาในอนาคต
่ การกาหนดคุณภาพ ราคา ปริมาณ
- เชน
ื้ วัตถุดบ
วิธก
ี ารจัดซอ
ิ และการจัดตารางการ
ผลิต
การจัดการการผลิต
การควบคุณคุณภาพสินค้าและบริการ
ิ ค ้าและบริการที่
- กระบวนการทีท
่ าให ้สน
้
ผลิตขึน
้ มีความเหมาะสมต่อการใชงาน
- ได ้ตรงตามเป้ าหมายทีต
่ ้องการ
่ การควบคุมค่าใชจ่้ าย ปริมาณ
- เชน
คุณภาพ และเวลาของการผลิต
่ ยวข้
่
แหล่งข้อมู ลทีเกี
องกับการผลิต
• ข ้อมูลการผลิต/การดาเนินงาน
(production/operations data)
ิ ค ้าคงคลัง (inventory data)
• ข ้อมูลสน
• ข ้อมูลจากผู ้ขายวัตถุดบ
ิ (supplier data)
• ข ้อมูลแรงงานและบุคลากร (labor force and
personnel data)
• กลยุทธ์องค์การ (corporate strategy)
่ ยวข้
่
แหล่งข้อมู ลทีเกี
องกับการผลิต
• ข้อมู ลการผลิต/การดาเนิ นงาน
(production/operations data)
– เป็ นข ้อมูลจากกระบวนการผลิตหรือการ
ให ้บริการ
– จะแสดงภาพปั จจุบันของระบบการผลิตของ
ธุรกิจว่ามีประสทธิภาพมากน ้อยเพียง ใด และ
มีปัญหาอย่างไรในการดาเนินงาน
– จะเป็ นประโยชน์ตอ
่ การวางแผนในการ
ิ ธิภาพการ
แก ้ปั ญหาและการพัฒนาประสท
ดาเนินงานในอนาคต
่ ยวข้
่
แหล่งข้อมู ลทีเกี
องกับการผลิต
• ข้อมู ลสินค้าคงคลัง (inventory data)
ิ ค ้า
– ข ้อมูลบันทึกปริมาณวัตถุดบ
ิ และสน
สาเร็จรูปทีเ่ ก็บไว ้ในโกดัง
ิ ค ้าคงคลังใน
– ผู ้จัดการต ้องพยายามจัดให ้มีสน
ปริมาณไม่เกินความจาเป็ น
– หรือ ขาดแคลนเมือ
่ เกิดความต ้องการขึน
้
่ ยวข้
่
แหล่งข้อมู ลทีเกี
องกับการผลิต
• ข้อมู ลจากผู ข
้ ายวัตถุดบ
ิ (supplier
data)
– เป็ นข ้อมูลเกีย
่ วกับปริมาณ คุณสมบัต ิ และ
ราคาวัตถุดบ
ิ
่ งทางและต ้นทุนในการลาเลียง
– ตลอดจนชอ
วัตถุดบ
ิ
– ปั จจุบันการพัฒนาระบบแลกเปลีย
่ นข ้อมูล
อิเล็กทรอนิกส ์ (electronic data
interchange) หรือทีเ่ รียกว่า EDI ชว่ ยให ้การ
ประสานงานระหว่างผู ้ขายวัตถุดบ
ิ ธุรกิจ และ
่ ยวข้
่
แหล่งข้อมู ลทีเกี
องกับการผลิต
• ข้อมู ลแรงงานและบุคลากร (labor force
and personnel data)
– ข ้อมูลเกีย
่ วกับพนักงานในสายการผลิตและ
ปฏิบัตก
ิ าร
่ อายุ การศก
ึ ษา และประสบการณ์ เป็ นต ้น
– เชน
– เป็ นประโยชน์ในการจัดบุคลากรให ้สอดคล ้อง
กับงาน
– ขณะทีข
่ ้อมูลภายนอกเกีย
่ วกับตลาดแรงงาน
จะเป็ นประโยชน์ในการวางแผนและจัดหา
่ ยวข้
่
แหล่งข้อมู ลทีเกี
องกับการผลิต
• กลยุทธ ์องค ์การ (corporate strategy)
– แผนกลยุทธ์ขององค์การ
– จะเป็ นแม่บทและแนวทางในการกาหนดกล
ยุทธ์การผลิตและการดาเนินงานให ้มี
ิ ธิภาพ
ประสท
วิว ัฒนาการการผลิต
• ระยะ เริม
่ ต ้นของการดาเนินธุรกิจด ้าน
อุตสาหกรรมธุรกิจสว่ นใหญ่ดาเนินการผลิตบน
ิ ค ้าคงคลัง
พืน
้ ฐานการผลิตเก็บเป็ นสน
ิ ค ้าปริมาณมากและขาย
• เน ้นด ้านการผลิตสน
ิ ค ้าผ่านเครือข่ายของชอ
่ งทางการตลาด
สน
หลากหลายรูปแบบ
• ต่อมาจึงได ้ เปลีย
่ นวิธก
ี ารผลิตโดยการนา
แนวคิดของระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดีมา
ใช ้
• และใช ้ วธิ ก
ี ารผลิตตามคาสงั่ หรือวิธก
ี ารประกอบ
การวางแผนความต้องการวัตถุดบ
ิ
• การบริหารทรัพยากรการผลิต โดยเฉพาะ
วัตถุดบ
ิ (raw materials) เป็ นหัวใจสาคัญของ
การจัดการด ้านการดาเนินงานการผลิต
• ถ ้าธุรกิจมีปริมาณวัตถุดบ
ิ มากเกินไปจะทาให ้
ค่าใชจ่้ ายในการเก็บรักษาสูง
• แต่ถ ้ามีปริมาณวัตถุดบ
ิ น ้อยเกินไปก็จะก่อให ้เกิด
ผลกระทบต่อแผนและกระบวนการผลิต
ี โอกาสทางธุรกิจ
ตลอดจนก่อให ้เกิดค่าเสย
• การวางแผนความต ้องการวัตถุดบ
ิ (material
requirement planning) หรือทีเ่ รียกว่า MRP
เป็ นระบบสารสนเทศทีร่ วบรวมข ้อมูลเกีย
่ วกับ
การวางแผนความต้องการวัตถุดบ
ิ
(MRP)
่
1. ไม่เก็บวัตถุดบ
ิ เพือรอการใช
้งานไว ้นานเกินไป ซึง่
่
ก่อให ้เกิดค่าใช ้จ่ายในการเก็บร ักษาและความเสียงใน
การสูญหายหรือสูญเสีย
่ ดขึนตาม
้
2. รายงานผลการผลิตและความเสียหายทีเกิ
่ าหนด
ระยะเวลาทีก
3. ควบคุมสินค ้าคงคลังอย่างเป็ นระบบ
4. มีการตรวจสอบ แก ้ไข และติดตามผลข ้อผิดพลาด
่ ดขึน้
ทีเกิ
บทบาทของ MRP ต่อระบบการ
ผลิต
้ การ
• มีบทบาทต่อระบบการผลิตขององค ์การตังแต่
่ าการผลิต
จัดหาวัตถุดบ
ิ เพือท
่
• โดยการกาหนดปริมาณและระยะเวลาในการสังผลิ
ต
่
ทีประหยั
ดค่าใช ้จ่าย
• ตลอดจนจัดเตรียมรายละเอียดของการผลิตใน
อนาคต
ข้อดีของ MRP
1. ลดการขาดแคลนวัตถุดบ
ิ ทีจ่ าเป็ นในการผลิต
2. ลดค่าใช ้จ่ายในการเก็บร ักษาวัตถุดบ
ิ และสินค ้าคง
คลัง
่
3. ช่วยให ้บุคลากรมีเวลาในการปฏิบต
ั งิ านอืนมากขึ
น้
4. ประหยัดแรงงาน เวลา และค่าใช ้จ่ายในการติดตาม
วัตถุดบ
ิ
5. ช่วยให ้องค ์การสามารถปร ับตัวอย่างรวดเร็วตาม
่
่ ดขึน้
การเปลียนแปลงที
เกิ
ลักษณะการผลิตผลิตภัณฑ
บริการ
และ
1. ผลิตตามคาสัง่ (Make-to-order)
2. ผลิตตามข อกาหนดของลูกค า (Made to
customer specifications after order
received)
3. ผลิตเข าสต็อค (Make-to-stock )
่
4. ผลิตตามอุปสงค ทีคาดการณ
ไว ้ล วงหน
า (Made in anticipation of demand)
5. ประกอบตามคาสัง่ (Assemble-to-order)
่ มตามที่ ลูกค ากาหนด (Add options
6. เพิมเติ
กลยุทธ ์การผลิตและการ
ดาเนิ นงาน
• จะเน ้นถึงความต ้องการของลูกค ้าทีส
่ ะท ้อนให ้
เห็นถึงเป้ าหมายระยะยาวขององค์การ
ั ความร่วมมือจากแผนกการตลาดและการ
• อาศย
ผลิตทีจ
่ ะทาการค ้นหาความต ้องการของลูกค ้า
• และนามากาหนดเป็ นความได ้เปรียบทางการ
ผลิต
• การผลิตตามความต ้องการของลูกค ้าและ
ปริมาณการผลิตมีความยืดหยุน
่
กลยุทธ ์การผลิต
ิ ค ้าคงคลัง ธุรกิจมักจะมีการผลิต
1. การเก็บเป็ นสน
ิ ค ้าเพือ
ิ ค ้าคงคลังทีพ
สน
่ เก็บเป็ นสน
่ ร ้อมสง่ มอบ
ิ ค ้า
แก่ลก
ู ค ้าทันที เหมาะกับการผลิตสน
มาตรฐานทีม
่ ก
ี ารผลิตในปริมาณมาก
ิ ค ้าตาม
2. การ ผลิตตามคาสงั่ เป็ นการผลิตสน
ความต ้องการของลูกค ้าโดยผลิตเป็ นล็อต ใน
ปริมาณน ้อย การออกแบบกระบวนการผลิตแต่
ละครัง้ จะขึน
้ กับความต ้องการของ ลูกค ้า
ิ ค ้าตามคาสงั่ เป็ นการประกอบ
3. การประกอบสน
ิ้ สว่ นมาตรฐานตามข ้อกาหนดของผลิตภัณฑ์
ชน
่
หน้าทีทางการผลิ
ตและดาเนิ นงาน
่ อเกิดผลผลิตใน
• ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ทีก่
รู ปแบบของสินค้าหรือบริการ
• 1. การวางแผนและพัฒนาผลิตภัณฑ ์ เพือ
่ ชว่ ยหา
คาตอบว่าจะผลิตอะไร จานวนเท่าใด ผลิตอย่างไร เกิด
ิ ค ้าและบริการเมือ
ความต ้องการผลิตสน
่ ใด
• 2. การออกแบบกระบวนการผลิต เพือ
่ ได ้กระบวนการ
ผลิตทีเ่ หมาะสมกับความต ้องการผลิตภัณฑ์ของลูกค ้า
และมีต ้นทุนการผลิตทีเ่ หมาะสม
่ งโรงงาน
้
• 3. การวางแผนทาเลทีตั
เพือ
่ สร ้างความ
ได ้เปรียบทางการผลิตในสว่ นลดต ้นทุนการขนสง่ และ
รักษาคุณภาพของวัสดุระหว่างการขนสง่
• 4. การวางแผนการผลิตและดาเนิ นงาน โดยทาการ
่
หน้าทีทางการผลิ
ตและดาเนิ นงาน
5. การจัดการวัสดุและสินค้าคงเหลือ โดย เลือกใช ้
ิ ค ้าคงเหลือทีด
ระบบการจัดการวัสดุและสน
่ ี มี
ิ ธิภาพ ตลอดจนมีการจัดการงานระหว่างทา ซงึ่
ประสท
ิ ค ้าทีย
ก็คอ
ื สน
่ ังผลิตไม่เสร็จและจะต ้องทาการผลิตต่อ
้
โดยโดยเลือกใชเทคโนโลยี
ในชว่ ยในการจัดการ
6. การควบคุมคุณภาพสินค้า โดยทาการควบคุมและ
ิ ค ้าให ้อยูใ่ นเกณฑ์ท ี่
รักษาระดับมาตรฐานคุณภาพสน
กาหนดไว ้
7. การลดต้นทุนการผลิต โดยทาการค ้นหาวิธ ี หรือ
้ อ
แนวคิดใดๆซงึ่ สามารถนามาใชเพื
่ บรรลุเป้ าหมายของ
ิ ค ้าหรือบริการ
การลดต ้นทุนการผลิตสน
8. การขจัดความสู ญเปล่า เป็ นแนวคิดหนึง่ ของระบบ
่
หน้าทีทางการผลิ
ตและดาเนิ นงาน
9. ความปลอดภัยในโรงงาน โดยสร ้างระบบรักษาความ
ปลอดภัยในโรงงานซงึ่ สามารถชว่ ยลดอุบต
ั เิ หตุทอ
ี่ าจ
่ ISO 14000
เกิดขึน
้ ในโรงงาน เชน
่
10. การเพิมผลผลิ
ตทางการผลิต โดยการแสวงหา
วิธก
ี ารเพิม
่ ผลผลิตในโรงงาน รวมทัง้ การเพิม
่ มูลค่า
ของผลิตภัณฑ์อก
ี ด ้วย ซงึ่ อาจใชวิ้ ธข
ี จัดความสูญเปล่า
เข ้าชว่ ย
11. การบารุงร ักษา โดยมีการบารุงรักษาระบบการแปร
ิ ธิภาพ การ ดาเนินงาน
รูปผลผลิตให ้คงไว ้ซงึ่ ประสท
ื่ ถืออย่างต่อเนือ
และความน่าเชอ
่ ง โดยป้ องกันความ
ี หายทีอ
เสย
่ าจจะเกิดขึน
้ ระหว่างดาเนินการผลิตหรือ
ี โอกาส
ให ้บริการ แก่ลก
ู ค ้า ซงึ่ ก่อให ้เกิดต ้นทุนค่าเสย
ระบบการผลิตยุคใหม่
• การผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just-in-time
production) หรือทีเ่ รียกว่า JIT
• ระบบการผลิตแบบลีน (Lean
manufacturing)
ระบบการผลิตยุคใหม่
• การผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just-in่ ยกว่า JIT
time production) หรือทีเรี
– คือ แนวคิดทางการผลิตทีเ่ กิดขึน
้ ในประเทศ
ญีป
่ น
ุ่
– ยึดหลักการสาคัญ คือ ผลิตในจานวนเท่าที่
ต ้องการในเวลาทีต
่ ้องการ
ิ ค ้าคงเหลือให ้เหลือน ้อย
– และมีการควบคุมสน
ทีส
่ ด
ุ
การผลิตแบบทันเวลาพอดี (Justin-time production)
มีกรรมวิธก
ี ารผลิต ดังนี ้
1. การปร ับเรียบการผลิต
- หมายถึง ทาการผลิตเป็ นล็อตเล็กๆ
่
- เพือสามารถตรวจสอบข
้อบกพร่องและ
คุณภาพของผลผลิตได ้ง่ายขึน้
่ อการผลิต ให ้
2. การออกแบบวิธก
ี ารและเครืองมื
พนักงานคนหนึ่ งสามารถทาได ้หลายหน้าที่
3. สร ้างมาตรฐานของงานและควบคุมให ้เสร็จตาม
เวลามาตรฐาน ณ รอบการผลิต
ระบบการผลิตยุคใหม่
• ระบบการผลิตแบบลีน (Lean
manufacturing)
– เป็ นระบบการผลิตทีไ่ ด ้รับการยอมรับทัว่ โลก
ิ ธิภาพ
ว่าทาเกิดมาตรฐานการผลิตทีม
่ ป
ี ระสท
สูง
ื เนือ
– มุง่ ขจัดความสูญเปล่าอันสบ
่ งมาจากทัง้
ิ ค ้าและ
ด ้านคุณภาพ ราคา การจัดสง่ สน
บริการแก่ลก
ู ค ้า
ระบบการผลิตแบบลีน (Lean
manufacturing)
หลักการของระบบลีนมี 5 ข้อ ดังนี ้
้ ้เห็น
– การระบุคณ
ุ ค่าของสินค ้าและบริการ โดยชีให
่
ถึงคุณค่าของสินค ้าและบริการทีตรงกั
บความ
ต ้องการของลูกค ้า โดยอาจจะใช ้วิธก
ี าร
เปรียบเทียบผลิตภัณฑ ์ของธุรกิจกับผลิตภัณฑ ์
ของคูแ่ ข่ง
่
่ ้อง
– จัดทาผังแห่งคุณค่า ซึงจะระบุ
ถงึ กิจกรรมทีต
้
้ ร ับวัสดุเข ้าโรงงาน จนกระทัง่
กระทาทังหมด
ตังแต่
มีการส่งมอบสินค ้าถึงมือลูกค ้า
่ าให ้สายการผลิตสามารถ
– การมุ่งเน้นทีจะท
่
ระบบการผลิตแบบลีน (Lean
manufacturing)
หลักการของระบบลีนมี 5 ข้อ ดังนี ้
– การให ้ลูกค ้าเป็ นผูด้ งึ คุณค่าจากกระบวนการ คือ
่ กค ้าเกิดความต ้องการ
จะทาการผลิตก็ตอ
่ เมือลู
่ กค ้าต ้องการ
สินค ้านั้น และผลิตในปริมาณเท่าทีลู
จึงมีความสอดคล ้องกับระบบการผลิตตามสัง่
– การสร ้างคุณค่าและขจัดความสูญเปล่าอย่าง
่ ณค่าให ้สินค ้าและบริการ
ต่อเนื่ อง มุ่งการเพิมคุ
อย่างต่อเนื่ อง ตลอดจนมีการค ้นพบความสูญ
่ ดขึนระหว่
้
เปล่าทีเกิ
างผลิตและกาจัดความสูญ
้
เปล่านั้นให ้หมดสินไป
สารสนเทศทางการผลิต
• คือ สารสนเทศทีไ่ ด ้รับจากการประมวลผล
ของระบบสารสนเทศทางการผลิต
ั ข ้อมูลและสารสนเทศทัง้ จาก
• ต ้องอาศย
ภายในและภายนอกองค์การ
การจาแนกสารสนเทศทางการ
ผลิต
1.
2.
3.
สารสนเทศเชงิ ปฏิบต
ั ก
ิ าร
สารสนเทศเชงิ บริหาร
สารสนเทศภายนอกองค์การ
1.
การจาแนกสารสนเทศทางการ
ผลิต
สารสนเทศเชิงปฏิบต
ั ก
ิ าร
– คือ สารสนเทศทีไ่ ด ้รับจากการดาเนินงานการ
ผลิตในสว่ นต่างๆ ได ้แก่
1.1 สารสนเทศด้านการดาเนิ นการผลิต ครอบคลุมถึง
สารสนเทศด ้านการปฏิบต
ั ก
ิ ารผลิตประจาวัน ต ้นทุนการ
ิ ค ้าสาเร็จรูป และงานระหว่างทา
ผลิต สน
1.2 สารสนเทศด้านควบคุมคุณภาพ คือ สารสนเทศที่
ระบุถงึ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ซงึ่ ถือเป็ นหัวใจของการ
ผลิต ซงึ่ จาเป็ นจะต ้องสร ้างผลผลิตเพือ
่ ให ้ได ้คุณภาพ
ตามมาตรฐานทีก
่ าหนดไว ้
1.3 สารสนเทศด้านการแก้ปัญหา คือ สารสนเทศที่
2.
การจาแนกสารสนเทศทางการ
ผลิต
สารสนเทศเชิงบริหาร
้ บสนุนงานการวางแผน
คือ สารสนเทศทีใ่ ชสนั
และจัดการผลิต
2.1 สารสนเทศด้านออกแบบการผลิต คือ
สารสนเทศทีไ่ ด ้จากการปฏิบต
ั ก
ิ ารด ้านการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบกระบวนการ
ผลิต และระบบการผลิตตามความต ้องการของ
ลูกค ้า ตลอดจนการออกแบบผังโรงงาน
2.2 สารสนเทศด้านวางแผนการผลิต คือ
สารสนเทศทีไ่ ด ้จากการวางแผนการผลิตด ้าน
ต่างๆ
2.
การจาแนกสารสนเทศทางการ
ผลิต
สารสนเทศเชิงบริหาร
้ บสนุนงานการวางแผน
คือ สารสนเทศทีใ่ ชสนั
และจัดการผลิต
2.3 สารสนเทศด้านการจัดการโลจิสติกส ์ คือ
สารสนเทศทีเ่ กีย
่ วข ้องกับงานด ้านการจัดหาและ
การขนสง่ วัสดุเข ้าโรงงานเพือ
่ เตรียมพร ้อม
สาหรับการผลิต ตลอดจนการจัดเก็บและ
ิ ค ้าคงเหลือ
ควบคุมสน
2.4 สารสนเทศด้านควบคุมการผลิต คือ
้ บสนุนงานด ้านการควบคุม
สารสนเทศทีใ่ ชสนั
กระบวนการผลิต การควบคุมต ้นทุนการผลิต
การจาแนกสารสนเทศทางการ
ผลิต
3. สารสนเทศภายนอกองค ์การ
คือ สารสนเทศทีไ่ ด ้จากกระบวนการเก็บ
รวบรวมข ้อมูลจากสภาพแวดล ้อมภายนอก
องค์การ
3.1 สารสนเทศด ้านผู ้ขายวัสดุ คือ สารสนเทศที่
ได ้จากผู ้ขายวัสดุ ภายในเครือข่ายด ้านโซ ่
อุปทานขององค์การ
3.2 สารสนเทศด ้านผู ้ขนสง่ วัสดุ คือ สารสนเทศที่
ได ้จากผู ้ให ้บริการขนสง่ วัสดุ
ตัวอย่างเทคโนโลยีทางการผลิต
1.
2.
3.
4.
5.
6.
โปรแกรมสาเร็จรูปทางการผลิต
้ น
การใชหุ
่ ยนต์
้ สแท่ง
การใชรหั
การใชอิ้ นเตอร์เน็ ต
้
การออกแบบใชคอมพิ
วเตอร์ชว่ ย
้
การผลิตใชคอมพิ
วเตอร์ชว่ ย
ฯลฯ