Transcript *********A

กองทุนรวมกับการพัฒนาตลาดทุน
นาย ไพบูลย์ เตคุณาทร 4345571929
นาย วรท หงุ่ยตระกูล 4345589229
นาย พิเชฐ ปิ่ มหทัยวุฒิ 4345567429
กองทุนรวมคืออะไร ?
ผู้เกีย
่ วของกั
บกองทุนรวม
้
• 1.ผู้ประกอบธุรกิจจัดการกองทุนรวม
• 2.ผู้ลงทุน
• 3.ทางการ
หลักในการพิจารณาเตรียมความพรอมก
อนลงทุ
น
้
่
•
•
•
•
•
1.สารวจวัตถุประสงค ์ ฐานะกอนตั
ดสิ นใจลงทุน
่
2.รูจั
น
้ กตัวเลือกกอนการลงทุ
่
3.หาขอมู
้ งตนของกองทุ
นรวมทีข
่ ายอยู่
้ ลเบือ
้
4.ศึ กษาขอมู
ยด
้ ลโครงการกองทุนรวมอยางละเอี
่
5.เช็ คทัง้ รายจายและผลตอบแทนของแต
ละกองทุ
น
่
่
ประเภทของกองทุนตามนโยบาย
การลงทุน
•
•
•
•
•
•
•
1.กองทุนรวมตราสารทุน
2.กองทุนรวมตราสารหนี้
2.1)ระยะยาว
2.2)ระยะสั้ น
3.กองทุนรวมแบบผสม
3.1)ผสมธรรมดา
3.2)ผสมแบบยืดหยุน
่
• นอกจากนี้ยงั มีแบบอืน
่ ๆเช่นกองทุนรวมทีล
่ งทุนในหน่วยลงทุน
ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ รวมทัง้ อสั งหาริมทรัพย ์
คาใช
น
่
้จายของกองทุ
่
• ส่วนที1
่ คาใช
ห
่ ก
ั
่
้จายที
่
โดยตรงจากผู้ซือ
้ หรือผู้
ถือหน่วยลงทุน
• ส่วนที2
่ คาใช
เ่ รียก
่
้จายที
่
เก็บจากตัวกองทุนรวม
เอง
• ผลตอบแทน
• 1.เงินปันผล-ดอกเบีย
้
• 2. ส่วนตางของราคา
่
หลักทรัพย ์
ขอได
เปรี
่ าให้กองทุนรวมน่าสนใจ
้
้ ยบทีท
•
•
•
•
•
•
1.มีมอ
ื อาชีพบริหารกองทุน
2.มีการกระจายความเสี่ ยง
3.มีสภาพคลอง
่
4.มีทางเลือกมากมายสาหรับการลงทุน
5.สะดวกสบาย
6.มีกลไกปกป้องผู้ลงทุน
บทบาทและหน้าทีข
่ องผูลงทุ
น
้
• 1.เนื่องจากมีสิทธิในฐานะผูถื
้ อหน่วยลงทุนจึง
ตองออกเสี
ยงเพือ
่ ลงมติ
้
• 2.ติดตามความเคลือ
่ นไหวของกองทุนรวม
ภูมค
ิ ุมกั
้ นสาหรับผู้ลงทุน
•
•
•
•
ขัน
้ ที1
่ หน่วยงานดูการปฏิบต
ั งิ าน(compliance unit)
ขัน
้ ที2
่
ผู้ดูแลผลประโยชน์
ขัน
้ ที3
่
สมาคมบริษท
ั จัดการลงทุน
ขัน
้ ที4
่
สานักงาน ก.ล.ต.
• l
บทบาทของก.ล.ต.
• ขัน
้ ที1
่ กลัน
่ กรอง
• 1.1)ผู้ทีอ
่ ยูในอาชี
พธุรกิจจัดการกองทุนรวม
่
•
ก.กรองบริษท
ั จัดการ
•
ข.กรองผู้จัดการกองทุนรวม
•
ค.กรองตัวแทนขายหน่วยลงทุน
•
ง.กรองผู้ดูแลผลประโยชน์
• 1.2)สิ นค้าทีข
่ าย
•
ขัน
้ ที2
่ ตามติดการดาเนินธุรกิจ
•
ขั้นที่3ตรวจสอบการทาธุรกิจของบริษท
ั จัดการ
ความเสี่ ยงประเภทตางๆ
่
1.ความเสี่ ยงเกีย
่ วกับความน่าเชือ
่ ในดานฐานะของ
้
ผู้ออกตราสาร
2.ความเสี่ ยงจากตลาด
3.ความเสี่ ยงจากสภาพคลอง
่
บทบาทของธุรกิจจัดการลงทุนต่อนักลงทุน
1.ช่วยลด information asymmetry
และ search cost ของนักลงทุนด้านข้อมูลของ
บริ ษทั จดทะเบียน
2.ช่วยกระจายความเสี่ ยง (diversification)
ปัญหาของตลาดทุนกับกองทุนรวม
อุปสรรคต่อการพัฒนาตลาดทุน (outline)
ปัญหาด้านผูล้ งทุน
1.ด้านปริ มาณ
2.ด้านคุณภาพ
2.1 ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผูก้ ารลงทุนของผูล้ งทุนรายย่อย
(จะกล่าวถึงโดยละเอียดในช่วงท้าย)
2.2 โครงสร้างของผูล้ งทุนในตลาดรองและพฤติกรรมการลงทุน
ขอผูล้ งทุนรายย่อย
ปัญหาด้านสถาบันตัวกลาง
1.ธุรกิจนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์
2.ธุรกิจจัดการการลงทุน
ปัญหาด้านผูล้ งทุน
1. ด้านปริ มาณ
ตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 เป็ นต้นมา จานวนผูล้ งทุนในตลาดหุน้
ลดลงมาก และกองทุนรวมมีบทบาทน้อยในการระดมทุนจากประชาชน
(รู ป 32) เมื่อเทียบกับการฝากเงิน
มูลค่าการออมหรื อการลงทุนในรู ปแบบต่างๆ ต่อ GDP
รู ปที่ 32
มูลค่ าการออมหรือลงทุนในรูปแบบต่ างๆ ต่ อ GDP
% ต่ อ GDP
80.00
60.00
40.00
20.00
0.00
57.32
55.51
64.68
71.69
71.95
72.61
69.41
26.08
25.88
12.82
4.01
31.37
29.41
13.53
4.56
36.58
30.30
14.70
5.10
47.34
23.95
3.22
5.36 3.57
2.55 2.15
2.95
2539
72.15
2540
เงินฝากจากภาคครั วเรื อน
ตราสารทุน
27.41
16.51
3.70
3.33
2541
23.96
8.56
3.59
2542
2543
เงินค่าเบี ้ยประกัน
MF(GF+SF)+PF+PVD
2544
ตราสารหนี ้
2545
ปี
มู ลค่ า NAV ต่ อ GDP
% ต่อ GDP
10.00
5.00
0.00
MF(GF+SF)/GDP
7.44
5.36
0.00
2539
2.15
0.00
2540
2.82
0.88
0.00
2541
1.13
0.00
2542
PF/GDP
PVD/GDP
7.53
7.67
8.60
4.10
1.19
4.35
1.51
4.51
1.59
ปี
2543
2544
2545
• สาเหตุที่มีการลงทุนผ่านกองทุนรวมและช่องทางอื่นๆน้อยเนื่องจาก
ประเทศไทยมีระบบการเงินที่พ่ งึ พาธนาคารพาณิ ชย์มาเป็ นนาน และรัฐ
คุม้ ครองผูฝ้ ากมาตลอด จึงได้สร้างวัฒนธรรมการออมโดยไม่ตอ้ ง
คานึงถึงความเสี่ ยงมาตลอด ดังนั้น จึงควรมีกลุ่มที่ช่วยดึงเงินออมออกมา
เพื่อสร้างความสมดุลให้กบั ตลาดทุน
รู ปที่ 33
สาเหตุที่นกั ลงทุนสถาบันลงทุนในหุน้ ไม่มาก
• มีพฤติกรรมการลงทุนแบบอนุรักษ์นิยม
• นโยบายการลงทุนของกองทุนรวมต้องมีระดับความเสี่ ยงที่ผถู ้ ือ
หน่วยลงทุนยอมรับได้
สาเหตุที่ประชาชนไม่สนใจลงทุนในกองทุนรวม
•
•
•
•
ภาพลักษณ์ที่ไม่ดีของกองทุนรวม
ประชาชนไม่เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนกับความเสี่ยง
ประชาชนไม่มีความเข้าใจความแตกต่างของกองทุนรวมแต่ละประเภท
ประชาชนมักมีพฤติกรรมการลงทุนที่แห่ตามกัน
(Herd Behavior)
• ผลที่ตามมาคือ สัดส่ วนมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิของผูล้ งทุนสถาบันต่อ
มูลค่าสิ นทรัพย์ทางการเงิน (Financial Asset) ของไทยมี
ค่าต่ามาก
มูลค่าสิ นทรัพย์ทางการเงินทั้งหมด = มูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิของผูล้ งทุนสถาบัน + M2
โดย มูลค่าสินทรัพย์สุทธิของผูล้ งทุนสถาบัน = contractual saving asset
รู ป 34
รู ปที่ 35
• จากงานศึกษาของ World bank (รู ปที่ 35) ที่ได้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ
debt to equity ratio ของบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
กับ สัดส่ วนมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ ของผูล้ งทุนสถาบันต่อ GDP
จะเห็นได้วา่ ประเทศที่พ่ ึงพึงหนี้ ในสัดส่ วนที่สูงมากกว่าทุน บทบาทของผูล้ งทุน
สถาบันในระบบเศรษฐกิจจะต่า เนื่องจากโครงสร้างการผลิตของธุรกิจในประเทศ
ยังคงพึ่งพิงหนี้ (กูเ้ งิน) อยูม่ าก
ปัญหาจากสัดส่ วนที่นอ้ ยของผูล้ งทุนสถาบัน
• บริ ษทั ที่ตอ้ งการระดมทุนจากตลาดหุน้ ไม่สามารถระดมทุนได้ตามที่
ต้องการ
• บริ ษทั หันไปกูธ้ นาคารทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
• การกูเ้ งินจากต่างประเทศทาให้มีปัญหาด้านอัตราแลกเปลี่ยนเข้ามาอีก
• สุ ดท้ายแล้วอาจเกิด
currency and maturity mismatch กระทบกับ
เสถียรภาพของระบบการเงิน
รู ปที่36
• ดังนั้นการจะพัฒนาตลาดทุนได้ ต้องเพิ่มปริ มาณผูล้ งทุน โดยเฉพาะผู ้
ลงทุนสถาบัน เช่น การส่ งเสริ มให้ผลู ้ งทุนรายย่อยลงทุนผ่านกองทุนรวม
มากขึ้น หรื อ ส่ งเสริ มให้ภาคธุรกิจเอกชนมีการจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยง
ชีพ เพื่อเป็ นแหล่งเงินออมระยะยาวสาหรับประชาชน และเป็ นแหล่ง
เงินทุนระยะยาวของภาคธุรกิจ
2.ด้านคุณภาพ
2.1 ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุนของนักลงทุนรายย่อยเกี่ยวกับ
ตราสารทางการเงิน(ปี 2545)
รู ปที่ 37
ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุนของนักลงทุนรายย่อยเกี่ยวกับ
ความเสี่ ยงของตราสารทางการเงิน
รู ปที่ 38
สิ่ งที่เกิดขึ้นคือ นักลงทุนรายย่อยไม่ค่อยเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและความ
เสี่ ยงในการลงทุนในตราสารหนี้และกองทุนรวม ซึ่งจะเป็ นอุปสรรคต่อ
ตลาดตราสารหนี้และกองทุนรวม
2.2 โครงสร้างของผูล้ งทุนในตลาดรอง
และพฤติกรรมของผูล้ งทุนรายย่อย
รู ปที่ 39
รู ปที่ 40
รู ปที่ 41
•
จากรู ปที่ 41 ผูล้ งทุนรายย่อยลงมีพฤติกรรมลงทุนในระยะสั้น ขณะที่ผู ้
ลงทุนสถาบันมีพฤติกรรมลงทุนในระยะยาว สิ่ งเหล่านี้แสดงถึง
1. ผูล้ งทุนรายย่อยมักเก็งกาไร มีแนวโน้มไม่ให้ความสาคัญกับพื้นฐานของหุน้
2. ตลาดหุ น้ จะผันผวนมาก คือผูล้ งทุนรายย่อยมักเล่น Day trade หรื อ net
settlement อาจเป็ นผลดีในแง่ของการเสริ มสภาพคล่องให้กบั ตลาด แต่ก็
ส่ งผลเสี ยได้มากหากมีการเล่นแบบเก็งกาไรมากเกิน
ตัวอย่างเช่น KEST ที่มีการเก็งกาไรอย่างมากจนถูกห้ามเล่น
net settlement
KEST Technical Chart
ตลาดหลักทรัพย์จึงห้ามสมาชิกให้
ลูกค้าทาการซื้อขายหลักทรัพย์
บริ ษทั หลักทรัพย์ กิมเอ็ง
(ประเทศไทย) จากัด (มหาชน)
"KEST" โดยหักกลบราคาค่า
ซื้อกับราคาค่าขายหลักทรัพย์น้ ีใน
วันเดียวกัน
(Net Settlement) และ
ห้ามสมาชิกให้ลูกค้ากูย้ มื เงินเพือ่
ซื้อหลักทรัพย์น้ ี
(Margin Trading) เป็ น
เวลา 10 วันทาการ ทั้งนี้ ตั้งแต่
วันที่ 16 ถึง 29 มกราคม 2547
As of 04/02/2004
P/E
71.86
P/BV
12.67
EPS (Baht)
0.83
Dvd. Yield(%)
0.00
Last Price (Baht)
Market Cap.(Mil.B.)
60.50
32,972.50
สัดส่ วนการเล่น net settlement ต่อมูลค่าการซื้อขายรวม
รู ปที่ 42
• ผลกระทบจากการที่ผลู ้ งทุนรายย่อย ที่มีสดั ส่ วนการซื้อขายสูงถึง 70%
และมักเล่นเก็งกาไร ส่ งผลดังนี้
1.ราคาหลักทรัพย์ในตลาดผันผวนค่อนข้างมาก
2.สภาพการซื้อขายของตลาดไม่มีเสถียรภาพ
3.การเคลื่อนไหวของราคาไม่สะท้องปัจจัยพื้นฐาน
4.หากกลุ่มผูล้ งทุนกระจุกตัว อาจเกิดการชี้นาตลาดซึ่งกระทบความมี
เสถียรภาพ และความมัน่ คงของตลาด
5.นักลงทุนรายใหม่ ไม่กล้าเข้ามาสู่ตลาด เนื่องจากมีความเสี่ ยงสูง
ปัญหาสถาบันตัวกลาง
โดยแนวคิดแล้ว บลจ. มีส่วนในการพัฒนาตลาดทุนได้เนื่องจาก
1.กองทุนรวมมักมีการลงทุนระยะยาว
2.มีความเป็ นมืออาชีพในการลงทุน
3.กองทุนมีความรู ้ความสามารถ เป็ นที่พ่ งึ ของผูล้ งทุนที่ยงั ไม่มีความ
พร้อมที่จะลงทุนด้วยตัวเอง
4.ช่วยสร้างความสมดุลในตลาดหลักทรัพย์
ผลตอบแทน (ณ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2547)
ผลตอบแทนยอนหลั
ง (%)
้
มูลคาจากเงิ
น
่
ลงทุน 10,000
บาท
ตัง้ แตจั
่ ดตัง้ 22
กรกฎาคม 2540
3 เดือน
6 เดือน
1 ปี
3 ปี
ตัง้ แต่
จัดตัง้
กองทุน
AJFSCAP
+6.61
+60.68
+115.97
+218.18
+249.05
34,905.00
SET
+5.98
+41.33
+87.59
+120.06
+7.79
10,779.00
• อุปสรรคในการพัฒนาธุรกิจนี้คือ
1.ผูถ้ ือหน่วยลงทุนขาดความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ความเสี่ ยงกับ
ผลตอบแทน ไม่มีความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการออมเงินผ่านกองทุนรวม
ว่าต่างจากธนาคารพาณิ ชย์เป็ นอย่างมาก เมื่อเกิดเกิดวิฤตเศรษฐกิจ ผูถ้ ือหน่วย
ลงทุนขาดทุนอย่างมาก จึงไม่มีความเข้าใจสาเหตุของความเสี ยหายของ
กองทุน ทาให้มองกองทุนว่าเป็ นทางเลือกที่ไม่ดี
ประเด็นนี้เป็ นปัญหาสาคัญเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของกองทุนรวมในสายตา
ประชาชนเนื่องจากไม่เข้าใจแนวคิดของกองทุนรวมตั้งแต่ตน้ อันเป็ นผลมา
จากผูท้ ี่ซ้ือและผูข้ ายหน่วยลงทุนเอง
สถานะของกองทุนรวมในปัจจุบน
ั
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546
มูลค่าหน่ วยลงทุน
ทีข
่ ายได้ครัง้ แรก
30 พ.ย. 2546
NAV (ล้าน
บาท)
สิน
้ สุด 31 ธ.ค.
2546
จานว
น
31 ธ.ค. 2546
%
NAV (ล้าน
บาท)
กองทุ
น
จานว
น
เปลีย่ นแปลงร้อยละ
%
NAV (ล้าน
บาท)
จานวน
กองทุ
น
%
กองทุน
กองทุนรวมทีจ่ ดทะเบียนแล้ว
568,548
564,776
423
726,698
431
161,922
8
29
กองทุนรวมทีร่ ะดมทุนในประเทศ
550,536
537,078
409
694,812
417
157,734
8
29
ผสม (BL)
8,706
4,123
11
2
4,779
11
1
656
-
16
ตราสารแห่งทุน (EQ)
126,027
62,425
100
23
83,384
99
19
20,959
(1)
34
หน่ วยลงทุน (FF)
1,933
2,330
5
1
2,603
5
1
273
-
12
ผสมแบบยืดหยุ่น (FL)
128,205
105,328
102
39
253,407
109
58
148,079
7
141
ตราสารแห่งหนี้ (GF)
36,305
94,996
85
35
92,394
84
21
(2,602)
(1)
(3)
ตลาดเงิน (MM)
211
1,169
4
0
1,051
4
0
(118)
-
(10)
ตราสารแห่งหนี้ระยะสัน
้ (SF)
3,589
664
5
0
723
5
0
59
-
9
อสังหาริมทรัพย์ทไี่ ม่ระบุเฉพาะเจาะจง
(NPR)
850
857
1
0
861
1
0
4
-
0
อสังหาริมทรัพย์ทรี่ ะบุเฉพาะเจาะจง
(SPR)
1,000
1,005
1
0
1,004
1
0
(1)
-
(0)
306,828
272,896
314
10
0
440,205
319
10
0
167,309
5
61
กองทุนรวมทั่วไป
รวม
สรุ ปอุปสรรคในการพัฒนาตลาดทุนผ่านกองทุนรวม
1.ประชาชนยังคุน้ เคยกับการฝากเงินผ่านธนาคาร เนื่องจากขาดความรู ้ความเข้าใจความเสี่ ยง
จากการลงทุนผ่านกองทุนรวม และการที่รัฐบาลคุม้ ครองผูฝ้ ากเงิน ไม่ให้ได้รับผลกระทบที่
ครั้งที่สถาบันการเงินได้รับความเสี ยหาย
สิ่ งเหล่านี้สร้างวัฒนธรรมการออมโดยไม่คานึงถึงความเสี่ ยง
2.ผูล้ งทุนสถาบันโดยเฉพาะกองทุนรวม มีสดั ส่วนในตลาดทุนน้อยมาก สาเหตุเนื่องจาก กองทุนมี
พฤติกรรมการลงทุนแบบอนุรักษ์นิยม จึงมีการลงทุนในหุน้ ส่ วนน้อย ทาให้ตลาดทุนพลาด
โอกาสที่จากกถูกพัฒนาโดยการลงทุนจากนักลงทุนที่มีเชี่ยวชาญ สาเหตุที่กองทุนโดยรวมลงทุน
ในหุน้ เป็ นสัดส่ วนไม่มาก เนื่องจาก เงินทุนที่ที่กองทานรวมนามาลงทุน เป็ นเงินออมระยะยาว
ของประชาชน จึงไม่กล้าลงทุนในหุน้ ที่มีความเสี่ ยงสู ง เพราะเป็ นห่วงเรื่ องภาพลักษณ์ หากลงทุน
ในหุน้ เป็ นจานวนมากแล้วราคาหุน้ ลดลง มูลค่าหน่วยลงทุนลดลง อาจถูกประชาชนต่อว่า
เนื่องจากประชาชนยังขาดความเข้าใจในเรื่ องความเสี่ ยงของกองทุนประเภทต่างๆ
สัดส่วนการลงทุนในหลักทรัพย์ของกองทุน
รวมปกติ
(ปี 2543 - ไตรมาส 3 ปี 2545)
210,000
180,000
61,190
มูลค่ า (ล้านบาท)
150,000
120,000
46,527
35,009
90,000
58,808
49,451
44,524
60,000
30,000
0
หุ้นทุน
21,473
952
158
31,931
13,008
662
275
38,377
2543
2544
Warrant
หุ้นบุริมสิทธิ
พันธบัตร
17,130
1,040
553
44,588
ไตรมาส 3 ปี 2545
หุ้นกู้
เงินฝากธนาคาร, P/N, B/E
3. ผูล้ งทุนส่วนใหญ่ในตลาด เป็ นนักลงทุนรายย่อย ซึ่งมักมีพฤติกรรมการลงทุนในระยะสั้น
และมีการเก็งกาไร ทาให้ตลาดขาดวินยั นอกจากนี้นกั ลงทุนรายย่อยส่ วนหนึ่งยังมีพฤติกรรมใน
ลักษณะที่เรี ยกว่า
“แมงเม่า”
แนวทางการพัฒนาตลาดทุนผ่านกองทุนรวม
แนวคิดคือ
“ตลาดทุนต้องมีฐานที่แข็งแกร่ งและนักลงทุนต้องลงทุนอย่างมีหลักการ”
ซึ่ งปัจจัยสาคัญถัดมาคือ
“ต้องพัฒนานักลงทุน เพื่อนามาซึ่งวินยั ทางการตลาด”
• 1.เพิ่มบทบาทของผูล้ งทุนสถาบัน โดย
- แก้ไขปัญหาภาพพจน์ของกองทุนรวม
- ให้ผปู ้ ระกอบธุรกิจกองทุนรวมเข้ามาแข่งขันง่ายขึ้น
- ทบทวนนโยบายให้กองทุนรวมมี exposure
ในหลักทรัพย์ต่างประเทศ
2.ส่ งเสริ มความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุนในตลาดทุน
ให้กบั ประชาชนทัว่ ไป เนื่องจากประชาชนเน้นการฝากเงิน และหลีกเลี่ยง
การลงทุนในตลาดหุน้ เพราะต้องการหลีกเลี่ยงความเสี่ ยง เพราะความไม่
เข้าใจ และไม่มนั่ ใจ
• ดังนั้นกลยุทธ์คือ “สร้างความคุน้ เคยและความมัน่ ใจในตลาดหุ น้ ”
โดยวิธีหนึ่งคือ การส่ งเสริ มให้ลงทุนผ่านผูล้ งทุนสถาบัน ซึ่ งเป็ นการลงทุนผ่านมือ
อาชีพอีกที
ปั จจัยที่สาคัญมากต่อมา คือ ต้องทาให้นกั ลงทุนรายย่อยมีความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุน
รวมมากขึ้น เนื่องจากที่ผา่ นมา
ผูล้ งทุนมีปัญหาในการแยกแยะความแตกต่างของคุณลักษณะ
และความเสี่ ยงของหน่วยลงทุน
• ดังนั้นควรมีการดาเนินการดังนี้
- บลจ. ทุกแห่งควรทาให้รูปแบบของการอธิบายความเสี่ ยงของการ
ลงทุนให้เข้าใจง่าย
- เผยแพร่ ขอ้ มูลเชิงเปรี ยบเทียบของข้อมูลที่สาคัญ เช่น
นโยบายการลงทุน ความเสี่ ยง อัตราค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมของ
กองทุนรวมแต่ละประเภท
- จัดอันดับกองทุนรวม โดยองค์กรกลาง เพื่อใช้ติดตามผลการดาเนินงาน
ของกองทุนรวม