Transcript 1-11

บทที่ 11
การตัดสิ นใจทางธุรกิจ
องค์ ประกอบสาคัญของตัวแบบทฤษฎี
การตัดสิ นใจ มี 3 ชนิด คือ
1. การตัดสิ นใจภายใต้ สภาวการณ์ แน่ นอน
2. การตัดสิ นใจภายใต้ สภาวการณ์ ไม่ แน่ นอน
3. การตัดสิ นใจภายใต้ สภาวการณ์ ความเสี่ ยง
การตัดสิ นใจภายใต้ สภาวการณ์ แน่ นอน
เป็ นการตัดสิ นใจทีผ่ ้ ูตดั สิ นใจทราบสภาวการณ์ หรือ
เหตุการณ์ ต่าง ๆ ว่ าจะเกิดขึน้ ในอนาคตอย่ างแน่ นอน
ตัวอย่ าง
จากข้ อมูลในอดีต บริษทั ไทยนา้ ดืม่ ผลิตชาเขียวตั้งแต่ เดือน
ก.ค. – ธ.ค. จะอยู่ระหว่ าง4,000 – 9,000 ขวด โอกาสทีจ่ ะขายได้ ใน
แต่ ละเดือนมีดงั นี้ คือ ร้ อยละ 10 มีโอกาสทีจ่ ะขายได้ 4,000 ขวด ต่ อ
เดือน ร้ อยละ 25 จะขายได้ 7,000 ขวดต่ อเดือน ร้ อยละ 15 จะขาย
ได้ 6,000 ขวดต่ อเดือน ร้ อยละ 10 จะขายได้ 5,000 ขวดต่ อเดือน
ร้ อยละ 10 จะขายได้ 8,000 ขวดต่ อเดือนและร้ อยละ 30 จะขายได้
9,000 ขวดต่ อเดือน แสดงได้ ดงั นี้
(หน่ วย : ขวด)
ระยะเวลา
รวม
ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ปริมาณจาหน่ วย 4,000 7,000 6,000 5,000 8,000 9,000 39,000
โอกาสทีข่ ายได้
.10
.25
.15
.10
.10
.30
1.00
สมมุตวิ ่ า การจาหน่ ายชาเขียวจะได้ กาไร 3 บาทต่ อขวด เมือ่
ขายได้ จานวน 4,000 ขวด จะได้ กาไร 12,000 บาท ซึ่งเป็ นกาไร
สู งสุ ดจากการผลิตชาเขียว 4,000 ขวด จากข้ อมูลข้ างต้ นสามารถ
คานวณหาผลกาไรทีบ่ ริษัทจะได้ รับในแต่ ละเดือน ระหว่ างเดือน
ก.ค.-ธ.ค. ได้ ดงั นี้
(หน่ วย : บาท)
ปริมาณการ
จาหน่ าย(ขวด
)
4,000
5,000
6,000
7,000
8,000
9,000
ปริมาณการผลิต
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
12,000
-
21,00
-
18,000
-
15,000
-
พ.ย.
ธ.ค.
24,00
-
27,000
ผลกาไรทีค่ าดหมาย = ผลกาไรทีไ่ ด้ รับ x โอกาสทีจ่ าหน่ ายได้
จากข้ อมูลปริมาณการผลิต นามาคานวณหาผลกาไรทีค่ าดหมายได้ ดังนี้
(หน่ วย : บาท)
ปริมาณสิ นค้ าที่
จาหน่ ายได้ (ขวด)
(1)
ผลกาไรที่ได้ รับ
(บาท)
(2)
โอกาสที่จาหน่ ายได้
(3)
ผลกาไรที่คาดหมาย
(บาท)
(2)x(3)
4,000
5,000
6,000
7,000
8,000
9,000
12,000
15,000
18,000
21,000
24,000
27,000
.10
.25
.15
.10
.10
.30
1,200
3,750
2,700
2,100
2,400
8,100
1.00
20,250
การตัดสิ นใจภายใต้ สภาวการณ์ ไม่ แน่ นอน
การตัดสิ นใจภายใต้ สภาวการณ์ ทไี่ ม่ แน่ นอน เป็ นการ
ตัดสิ นใจทีผ่ ้ ูตดั สิ นใจจะต้ องเลือทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งเพียง
ทางเลือกเดียว โดยไม่ ทราบความน่ าจะเป็ นหรือโอกาสทีแ่ ต่ ละ
เหตุการณ์ จะเกิดขึน้
ภายใต้ สภาวการณ์ ทไี่ ม่ แน่ นอนนี้ จึงต้ องพยายามลดความ
ไม่ แน่ นอนลงให้ เหลือน้ อยทีส่ ุ ด
การตัดสิ นใจภายใต้ ความไม่ แน่ นอน มีจุดประสงค์ คอื
ต้ องการผลตอบแทนสู งสุ ด
ผลตอบแทนในการผลิตชาเขียว
ชนิดชาเขียว
สภาวการณ์
E1 E2 E3
A1 : ชาเขียวดั้งเดิม
A2 : ชาเขียวนา้ ผึง้
A3 : ชาเขียวมะนาว
A4 : ชาเขียวข้ าวญีป่ ุ่ น
20
-10
-80
-150
35 50
40 6
35 62
30 55
E1 : เศรษฐกิจตกตา่
E2 : เศรษฐกิจไม่ เปลีย่ นแปลง
E3 : เศรษฐกิจดีขนึ้
จาแนกได้ เป็ น 3 ลักษณะตามที่นิยมใช้
อย่ างแพร่ หลายดังนี้
ลักษณะที่ 1 เมื่อไม่ ทราบความน่ าจะเป็ นและมอง
โลกในแง่ ดี มีวธิ ีทใี่ ช้ อยู่ 2 วิธี ได้ แก่
วิธีเลือกค่ าตอบแทนสู งสุ ดจากบรรดาค่ าตอบแทนสู งสุ ดใน
แต่ ละทางเลือก (maximax)
วิธีของลาพลาส (Laplace)
ลักษณะที่ 2 เมื่อไม่ ทราบความน่ าจะ
เป็ นและมองโลกในแง่ ร้าย มีวธิ ีที่ใช้ อยู่ 2 วิธี
ได้ แก่
วิธีเลือกค่ าตอบแทนสู งสุ ดจากบรรดาค่ าตอบแทนตา่ สุ ด
(maximin)
วิธีเลือกค่ าเสี ยโอกาสตา่ สุ ดจากบรรดาค่ าเสี ยโอกาสสู งสุ ดใน
แต่ ละทางเลือก (minimax regret)
ลักษณะที่ 3 เมื่อทราบความน่ าจะเป็ น โดย
ยึดถือข้ อมูลในอดีต หรือจากการทดลองหรือ
อาศัยประสบการณ์ ของบุคคลผู้ทาหน้ าทีต่ ัดสิ นใจ
ก็ได้
วิธีเลือกค่ าตอบแทนสูงสุดจากบรรดา
ค่ าตอบแทนสูงสุดในแต่ ละทางเลือก มี
ขั้นตอนดาเนินงาน 2 ขั้นตอนคือ
ขั้นที่ 1 พิจารณาเลือกค่ าตอบแทนสู งทีส่ ุ ดในแต่ ละทางเลือก
ขั้นที่ 2 เลือกค่ าตอบแทนทีส่ ู งทีส่ ุ ดในขั้นที่ 1
ตัวอย่ าง บริษัทไทยนา้ ดืม่ ซึ่งผลิตชาเขียวรสชาติต่าง ๆ กัน 4
ชนิด โดยคาดว่ ามี ผลตอบแทนตามรสของชาเขียวทีผ่ ลิต ซึ่ งชา
เขียวชนิดใดจะขายได้ ดหี รือไม่ ดขี นึ้ อยู่กบั สภาวะเศรษฐกิจใน
อนาคตว่ าจะเป็ นอย่ างไร การทีบ่ ริษทั จะได้ กาไรหรือขาดทุนมาก
หรือน้ อยจึงขึน้ อยู่กบั สภาวการณ์ ทางเศรษฐกิจ
( หน่ วย : ล้ านบาท)
ชนิดชาเขียว
สภาวการณ์
E1 E2 E3
20
35 50
-10
40 60
-80
35 62
-150 30 55
(ต่ำ)
A1 : ชำเขียวดั้งเดิม
A2 : ชำเขียวน้ ำผึ้ง
A3 : ชำเขียวมะนำว
A4 : ชำเขียวข้ำวญี่ปุ่น
ค่ าตอบแทนสู งสุ ด
(สูง)
20
-10
-80
-150
E1 : เศรษฐกิจตกตา่
E2 : เศรษฐกิจไม่ เปลีย่ นแปลง
E3 : เศรษฐกิจดีขนึ้
จากตารางค่ าตอบแทนทีส่ ู งทีส่ ุ ดของแต่ ละทางเลือก จะแสดง
ไว้ ในสดมภ์ สุดท้ ายของตาราง ซึ่งค่ าตอบแทนทีส่ ู งทีส่ ุ ดคือการผลิต
ชาเขียวมะนาว
วิธีของลาพลาส
วิธีของลาพลาสมีข้นั ตอนดาเนินงาน 3 ขั้นตอนคือ
ขั้นที่ 1 กาหนดความน่ าจะเป็ นให้ กบั แต่ ละสภาวการณ์ เท่ าๆ กัน
ขั้นที่ 2 คานวณค่ าคาดหมายของแต่ ละทางเลือก
ขั้นที่ 3 เลือกทางเลือกทีใ่ ห้ ค่าคาดหมายสู งสุ ด
จากตัวอย่ าง สามารถคานวณหาค่ าคาดหมาย
สู งสุ ดตามวิธีลาพลาสได้ ดงั แสดงในตารางต่ อไปนี้
( หน่ วย : ล้ านบาท)
ชนิดชาเขียว
E1
A1 : ชาเขียวดั้งเดิม
A2 : ชาเขียวนา้ ผึง้
A3 : ชาเขียวมะนาว
A4 : ชาเขียวข้ าวญีป่ ุ่ น
20
-10
-80
-150
สภาวการณ์
E2
E3
35
40
35
30
50
60
62
55
ค่ าตอบแทนแต่ ละทางเลือก
1/3(20+35+50) = 35
1/3(-10+40+60) = 30
1/3(-80+35+62) = 5.7
1/3(-150+30+55)= -21.7
E1 : เศรษฐกิจตกตา่
E2 : เศรษฐกิจไม่ เปลีย่ นแปลง
E3 : เศรษฐกิจดีขนึ้
วิธีเลือกค่ าตอบแทนสู งสุ ดจากบรรดาค่ าตอบแทน
ตา่ สุ ด
มีข้นั ตอนดาเนินงาน 2 ขั้นตอนคือ
ขั้นที่ 1 พิจารณาค่ าตอบแทนตา่ สุ ดในแต่ ละทางเลือก
ขั้นที่ 2 เลือกค่ าตอบแทนสู งสุ ดจากบรรดาค่ าตอบแทนตา่ สุ ด
ของแต่ ละทางเลือก
E1 : เศรษฐกิจตกตา่
E2 : เศรษฐกิจไม่ เปลีย่ นแปลง
E3 : เศรษฐกิจดีขนึ้
วิธีเลือกค่ าเสี ยโอกาสตา่ สุ ดจากบรรดาค่ าเสี ย
โอกาสสู งสุ ดในแต่ ละทางเลือก มีข้นั ตอน
ดาเนินงาน 2 ขั้นตอนคือ
ขั้นที่ 1 เลือกค่ าตอบแทนสู งสุ ดในแต่ ละสภาวการณ์ กาหนดให้
เป็ นตัวตั้ง
ขั้นที่ 2 หาผลต่ างระหว่ างค่ าสู งสุ ดในขั้นที่ 1 กับ ค่ าตอบแทนแต่
ละทางเลือก
จากตัวอย่ าง สามารถค่ าตอบแทนสู งสุ ดจากบรรดา
ค่ าตอบแทนตา่ สุ ดได้ ตารางต่ อไปนี้
( หน่ วย : ล้ านบาท)
ชนิดชาเขียว
E1
A1 : ชาเขียวดั้งเดิม
A2 : ชาเขียวนา้ ผึง้
A3 : ชาเขียวมะนาว
A4 : ชาเขียวข้ าวญีป่ ุ่ น
สภาวการณ์
E2
20 – 20 = 0 40 - 35 = 5
20 - (-10)=30 40 – 40 = 0
20 - (-80)= 100 40 – 35 = 5
20 – (-150) 170 40 – 30=10
E3
ค่ าเสี ย
โอกาสสู งสุ ด
62 – 50 = 12 12(ต่าสุ ด)
62 – 60 = 2
30
62 – 62 = 0
100
62 – 55 = 7
170
E1 : เศรษฐกิจตกตา่
E2 : เศรษฐกิจไม่ เปลีย่ นแปลง
E3 : เศรษฐกิจดีขนึ้
กรณีที่สามารถหาความน่ าจะเป็ นของ
สภาวการณ์ ที่จะเกิดขึน้ ได้
โดยหลักการแล้ ว ภายใต้ สภาวการณ์ ทไี่ ม่ แน่ นอนนั้น จะไม่
สามารถหา ความน่ าจะเป็ นให้ กบั ผลลัพธ์ ทจี่ ะเกิดขึน้ ได้ แต่ บาง
โอกาสสามารถจะหาความน่ าจะเป็ นที่เกิดขึน้ ได้
ในกรณีที่สามารถจะหาความน่ าจะเป็ นให้ กบั ผลลัพธ์ ที่จะ
เกิดขึน้ ได้ นี้ สามารถใช้ วธิ ีพจิ ารณาจากผลตอบแทนที่คาดหมาย
(expected-monetary value) หรือ EMV มาวิเคราะห์ ปัญหาเพือ่
การตัดสิ นใจภายใต้ สภาวการณ์ ที่ไม่ แน่ นอนได้
วิธีพจิ ารณาจากผลตอบแทนที่คาดหมาย
1.คานวณหาผลตอบแทนที่คาดหมายในแต่ ละทางเลือก
2.เลือกทางเลือกทีม่ ผี ลตอบแทนทีค่ าดหมายสู งทีส่ ุ ด
ค่ าเฉลีย่ ของผลตอบแทนที่
คาดหมายในแต่ ละทางเลือก
ผลรวมของผลคูณระหว่ างผลตอบแทนกับความน่ าเป็ น
=
ทีจ่ ะเกิดผลลัพธ์ ในแต่ ละทางเลือกในสภาวการณ์
จากตัวอย่ าง ค่ าเฉลีย่ ของผลตอบแทนทีค่ าดหมายในการผลิตชาเขียวดั้งเดิม
EMV1 = 20 (0.6) + (35) (0.3) + (50) (0.1)
= 27.5
( หน่ วย : ล้ านบาท)
ชนิดชาเขียว
สภาวการณ์
E1(.6) E2(.3) E3(.1)
A1 : ชาเขียวดั้งเดิม
20 35 50
A2 : ชาเขียวนา้ ผึง้
-10 40 60
A3 : ชาเขียวมะนาว
-80 35 62
A4 : ชาเขียวข้ าวญี่ปุ่น -150 30 55
ค่ าเฉลีย่ ของผลตอบแทนทีคาดหมาย
ในแต่ ละทางเลือก(EMV)
20(0.6)+(35)(0.3)+50(0.1)=27.5
-10(0.6)+40(0.3)+60(0.1)=12.0
-80(0.6)+35(0.3)+62(0.1)=-31.3
-150(0.6)+30(0.3)+55(0.1)=-75.5
E1 : เศรษฐกิจตกตา่
E2 : เศรษฐกิจไม่ เปลีย่ นแปลง
E3 : เศรษฐกิจดีขนึ้
การตัดสิ นใจภายใต้ สภาวการณ์ ความ
เสี่ ยง
ตัวอย่ าง ด ในเทศกาลสงกรานต์ บริษัทไทยนา้ ดืม่ ผลิตชา
เขียว มีต้นทุนการผลิตขวดละ
7 บาท ขายส่ งในราคาขวดละ
10 บาท แต่ ถ้าขายไม่ ได้ หรือขายไม่ หมด ชาเขียวจะหมดอายุซึ่งจะ
ทาให้ ขาดทุนหรือผลกาไรสุ ทธิลดลงก็ได้ แต่ ถ้าเป็ นกรณีทไี่ ม่ พอ
จาหน่ ายจะทาให้ เขาเสี ยโอกาสคือ ขาดรายได้ ทคี่ วรจะได้ ขวดละ 3
บาท ปัญหาจึงอยู่ทวี่ ่ าจะทราบได้ อย่ างไรว่ าจะต้ องผลิตชาเขียวเป็ น
จานวนเท่ าใดจึงจะเหมาะสม นั่นคือ ขายได้ มากทีส่ ุ ด และขายได้
หมด เป็ นการตัดสิ นใจภายใต้ สภาวการณ์ ความเสี่ ยง
สมมุตวิ ่ าผลสารวจยอดจาหน่ ายปี ก่อน ๆ ทีผ่ ่ านมาเป็ น
เวลา 8 ปี ดังปรากฏในตาราง
ปริมาณการขายส่ ง
(ขวด)
50
100
150
200
รวม
ระยะเวลาในการจาหน่ าย ความน่ าจะเป็ นที่จะขายได้
(ปี )
1
.30
2
.20
3
.10
2
.40
8
1.00
จากตารางยอดจาหน่ าย 10 ปี ดังกล่ าวสามารถนามา
สร้ างตารางแสดงผลกาไรได้ ดงั นี้
(หน่ วย : บาท)
จานวนชาเขียวที่
ต้ องการซื้อ
(ขวด) มีคนมาซื้อ
50
100
150
200
จานวนทีผ่ ลิตเพือ่ ขายส่ ง(ขวด) ซื้อมา
50
100
150
200
ผลกาไรทีค่ าดหมาย = ความน่ าจะเป็ นที่จาหน่ ายได้ x ผล
กาไรทีไ่ ด้ ภายใต้ สภาวการณ์ ความเสี่ ยง
แสดงผลกาไรคาดหมายเมื่อผลิตชาเขียวเพือ่ ขายส่ งในปริมาณต่ าง ๆ กัน
(หน่ วย : บาท)
จานวน
ชาเขียวที่
ต้ องการ
ซื้อ
(ขวด)
(1)
ความน่ า
จะเป็ นที่
จะขาได้
1000
2000
3000
4000
500 0
.30
.10
.20
.30
.10
รวม
1.00
ทางเลือก
100 ลัง
ผล
กาไร
200 ลัง
ผลกาไร
คาดหมาย
(4)=(2)*(3)
กาไร
2,000
2,000
2,000
2,000
2,000
-
(2)
300 ลัง
กาไร
(5)
ผลกาไร
คาดหมาย
(6)=(2)*(5)
600
200
400
600
200
-6,000
4,000
4,000
4,000
4,000
2,000
-
400 ลัง
กาไร
(7)
ผลกาไร
คาดหมาย
(8)=(2)*(7)
-1,800
400
800
1,200
400
-14,000
4,000
6,000
6,000
6,000
1,000
-
500 ลัง
กาไร
(9)
ผลกาไร
คาดหมาย
(10)=(2)*(9)
(11)
ผลกาไร
คาดหมาย
(12)=(2)*(11
-4,200
-400
1,200
1,800
600
22,000
-12,000
-2,000
8,000
8,000
-6,6001,200
-400
2,400
800
-30,000
-20,000
-10,000
0
10,000
-9,000
-2,000
-2,000
0
1,000
-1,000
-
-5,000
-
-12,000
(3)
จากตาราง สรุปได้ ว่า
1.ถ้ าผลิตชาเขียว 1000 ขวด กาไรคาดหมายจะเท่ ากับ 2,000 บาท
2.ถ้ าผลิตชาเขียว 2000 ขวด กาไรคาดหมายจะเท่ ากับ 1,000 บาท
3.ถ้ าผลิตชาเขียว 3000 ขวด กาไรคาดหมายจะเท่ ากับ -1,000 บาท
4.ถ้ าผลิตชาเขียว 4000 ขวด กาไรคาดหมายจะเท่ ากับ -5,000 บาท
5.ถ้ าผลิตชาเขียว 5000 ขวด กาไรคาดหมายจะเท่ ากับ -12,000 บาท
6.(กาไรสู งสุ ด)
ในการผลิตปริมาณเท่ าใดจะดูได้ จากผลกาไรคาดหมายสู งสุ ดซึ่ง
ในที่นี้ ถ้ าผลิตชาเขียวออกจาหน่ าย 1000 ขวด แล้ วจะได้ กาไร
เฉลีย่ เป็ นเงิน 2,000 บาท ซึ่งจัดได้ ว่าเป็ นทางเลือกที่ดที สี่ ุ ดภายใต้
ความเสี่ ยงเช่ นนี้