attachment_id=133

Download Report

Transcript attachment_id=133

บทที่ 1
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม
ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2535 ประเทศไทยได้เริ่ม
มีการจัดเก็บภาษี มลู ค่าเพิ่มเป็ นครัง้ แรก
1. เพื่ อ ลดความซ ้ า ซ้ อ นของภาระภาษี โดยให้
ผู้ผ ลิ ต สามารถน าภาษี ที่ เ สี ย ไปมาหัก ออกจากภาษี ที่
ต้องเสียเมื่อขายสินค้าได้
2. เพื่ อ ลดความสลับซับซ้ อนและความยุ่ง ยากใน
การปฏิบตั ิ เกี่ยวกับภาษี
3. เอื้ออานวยต่อการลงทุน
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม (Value Added Tax หรือ VAT) เป็ น
ภาษี ทางอ้อมประเภทหนึ่ งที่เรียกเก็บจากบุคคล
ที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการ โดยจัดเก็บเฉพาะจาก
มูล ค่ า ส่ ว นที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในแต่ ล ะขัน้ ตอนของการ
ผลิต การจาหน่ ายหรือการให้บริการ
ผู้ประกอบการที่ ขายสินค้ าหรือให้ บริการ
ในทางธุรกิจหรือวิชาชี พเป็ นปกติธุระ ไม่ว่าจะ
ประกอบกิจการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะ
บุค คลหรื อ ห้ า งหุ้น ส่ ว นสามัญ ที่ มิ ใ ช่ นิ ติ บุค คล
หรือนิติบุคคลใด ๆ หากมีรายรับจากการขาย
สินค้าหรือให้บริการเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี
มีหน้ าที่ต้องยื่นคาขอจดทะเบียนภาษี มลู ค่าเพิ่ม
ผู้ป ระกอบการที่ มี ร ายรับ จากการขายสิ นค้ า หรื อ
ให้บริการไม่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
2. ผูป
้ ระกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการที่ได้รบั ยกเว้น
ภาษี มลู ค่าเพิ่มตามกฎหมาย
3. ผู้ประกอบการที่ ใ ห้ บริ การจากต่ า งประเทศ และได้ มี
การใช้บริการนัน้ ในราชอาณาจักร
4. ผู้ป ระกอบการที่ อ ยู่ น อกราชอาณาจัก รและเข้ า มา
ประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้ บริการในราชอาณาจักรเป็ น
ครัง้ คราว ทัง้ นี้ ต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ที่
1.
การประกอบกิ จการดั ง ต่ อ ไปนี้ ให้ ไ ด้ ร ั บ ยกเว้ น ไม่ ต้ อ งเสี ย
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม
1. การขายสินค้ าหรือให้ บริการของผู้ประกอบการที่ มีร ายรับ
ไม่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี
2. การขายพื ช ผลทางการเกษตรภายในราชอาณาจัก ร เช่ น
ข้าว ข้าวโพด ปอ มันสาปะหลัง ผักและผลไม้ เป็ นต้น
3. การขายสัตว์ทงั ้ ที่ มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตภายในราชอาณาจักร
เช่น โค กระบือ ไก่หรือเนื้ อสัตว์ กุ้ง ปลา เป็ นต้น
4. การขายปุ๋ย
5. การขายปลาป่ น อาหารสัตว์
6. การขายยาหรื อ เคมี ภ ัณ ฑ์ ที่ ใ ช้ ส าหรับ พื ช หรื อ สัต ว์ เพื่ อ
8. การนาเข้าสินค้าตาม 2. ถึง 7.
การให้ บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ
สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน หรือ
โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน
10. การให้ บริการขนส่ งในราชอาณาจักรไม่ว่าจะเป็ นทางบก
ทางน้ าหรือทางอากาศ อย่างไรก็ดี หากเป็ นการให้ บริการขนส่ ง
โดยอากาศยาน และการให้ บ ริการขนส่ งน้ า มันเชื้ อเพลิงทางท่ อ
ผูป้ ระกอบการมีสิทธิเลือกเข้าสู่ระบบภาษี มลู ค่าเพิ่มได้
11. การให้ บ ริ ก ารขนส่ ง ระหว่ า งประเทศทางบกและทางเรื อ ซึ่ ง
มิใช่เรือเดินทะเล
12. การให้ บ ริ ก ารรัก ษาพยาบาลของสถานพยาบาลทาง
ราชการและเอกชน 13. การให้บริการห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวน
9.
18. การให้บริการวิจย
ั หรือการให้บริการทางวิชาการ ซึ่งต้องมี
ลักษณะการประกอบกิจการตามที่ กรมสรรพากรกาหนด คือ ต้อง
เป็ นการวิจยั หรือบริการทางวิชาการสาขาวิทยาศาสตร์และสาขา
สัง คมศาสตร์ แต่ ต้ อ งมิ ใ ช่ เ ป็ นการกระท าในทางธุ ร กิ จ ทั ง้ นี้
ผู้ประกอบการต้ องเป็ นบุคคลธรรมดาหรือเป็ นคณะบุคคลที่ มิใช่
นิติบคุ คล หรือมูลนิธิ
19. การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน
20. การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์
21. การให้ บ ริ ก ารของราชการส่ ว นท้ อ งถิ่ น ทัง้ นี้ ไ ม่ ร วมถึ ง
บริการที่เป็ นการพาณิชย์ของราชการส่วนท้องถิ่น หรือเป็ นการหา
รายได้ หรือผลประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็ นกิจการสาธารณูปโภคหรือไม่
ก็ตาม
ฐานภาษี คือ มูลค่าที่ ผ้ปู ระกอบการต้ องนามาใช้เป็ น
ฐานในการคานวณภาษี ซึ่งเป็ นรายการที่ เกินขึ้นในเดือน
ภาษี นัน้ ๆ
1. ฐานภาษี ส าหรับ การขายสิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร ได้ แ ก่
มูลทัง้ หมดที่ ผ้ปู ระกอบการได้ ร บั จากการขายสิน ค้ าหรือ
บริ การ มู ล ค่ า ของฐานภาษี หมายถึ ง เงิ น ทรัพ ย์ สิ น
ค่ า ตอบแทน ค่ า บริ ก ารหรื อ ประโยชน์ ใ ด ๆ ซึ่ ง อาจคิ ด
คานวณได้เป็ นตัวเงิน กฎหมายได้กาหนดฐานภาษี ไว้ดงั นี้
1.1 ส่วนลดที่ ลดให้ขณะขายสินค้าหรือบริการ
2. ฐานภาษี สาหรับการส่งสินค้าออก
ฐานภาษี สาหรับการส่งออกสินค้า ได้แก่ มูลค่า
สินค้าส่งออกโดยให้ใช้ราคา F.O.B ของสินค้าบวกด้วยภาษี
สรรพสามิตและภาษี หรือค่าธรรมเนี ยมอื่นตามที่จะกาหนด
แต่ทงั ้ นี้ ไม่รวมอากรขาออก
2.2 ฐานภาษี สาหรับการให้ บริการระหว่างประเทศ
ได้แก่
- มูล ค่ า ของค่ า โดยสารและค่ า ธรรมเนี ย มก่ อ น
หักรายจ่าย
- มูลค่ าของค่ าระวางและค่ าธรรมเนี ยมก่ อนหัก
รายจ่าย
2.1
3. ฐานภาษี สาหรับการนาเข้า
ฐานภาษี สาหรับการนาเข้า ได้แก่ มูลค่าของสินค้า
นาเข้าโดยให้ใช้ราคา C.I.F. ของสินค้าบวกด้วยอากรขาเข้า
ภาษี สรรพสามิต ตามที่ กาหนด ค่ า ธรรมเนี ยมพิ เศษตาม
กฎหมายว่ า ด้ ว ยการส่ ง เสริ ม การลงทุ น และภาษี ห รื อ
ค่าธรรมเนี ยมอื่นที่กฎหมายจะกาหนด
คาว่า C.I.F. (Cost Insurance and Freight) หมายถึง ผู้ขายจะ
หมดภาระต่ อเมื่อได้นาสินค้าไปส่งมอบลงไว้ในระวางเรือ
เดินทะเล ณ ท่ าเรือที่ ระบุไว้ อี กทัง้ จัดการจองและจ่ายค่า
ระวางเรื อ ในการขนส่ ง สิ น ค้ า ไปจนถึ ง ท่ า เรื อ ในประเทศ
ผู้ข ายต้ อ งด าเนิ นการผ่ า นวิ ธี ก ารและเสี ย ภาษี ส่ ง ออก
ฐานภาษี การขายยาสูบ และผลิต ภัณ ฑ์น้ า มัน ตาม
กฎหมายกาหนด
ฐานภาษี ได้ แ ก่ มู ล ค่ า สิ นค้ า ที่ ไ ด้ ม าจากการหัก
จานวนภาษี มูลค่ าเพิ่มออกจากจานวนเต็มของราคาขาย
ปลีกของสินค้า (ผลิตภัณฑ์น้ามันที่มีราคาลอยตัวจะไม่เข้า
หลักเกณฑ์ข้อนี้ )
4.
5. ฐานภาษี กรณี พิเศษ
กรณี อตั ราสินค้ าหรือให้ บริการโดยไม่มีค่าตอบแทน
หรือมีค่าตอบแทนแต่ราคาตา่ เกินไปโดยไม่มีเหตุผลอันควร
5.2 ผู้ป ระกอบการน าสิ น ค้ า และบริ ก ารไปใช้ เ องหรื อ ให้
บุคคลอื่นโดยมิใช่เพื่อการประกอบการโดยตรง
5.3 กรณี สิ น ค้ า คงเหลื อ จริ ง มี จ านวนคงเหลื อ ขาดจาก
จานวนในรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
5.4 กรณี เป็ นสิ น ค้ า ที่ เ สี ย ภาษี ใ นอัต รา 0 ต่ อ มาได้ โ ดน
กรรมสิ ทธ์ ิ ไปให้ ผู้ ซื้ ออี กทอดหนึ่ งซึ่ งเป็ นผู้ มี ห น้ าที่ เสี ย
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม
5.5 กรณี เรียกเก็บเพิ่มหรือลดมูลค่าสินค้าและบริการหรือ
5.1
ปั จจุบนั อัตราภาษี มูลค่าเพิ่มที่ นามาใช้ ในประเทศไทยมี 2
อัตรา คือ
1. อัตราภาษี มูลค่าเพิ่มร้อยละ 7 ใช้ สาหรับธุรกิจขาย
สินค้ าหรือบริการทุกชนิดรวมทัง้ การนาเข้า อัตรานี้ รวม
ภาษี ท้องถิ่นไว้แล้ว
2. อัตราภาษี มูลค่ าเพิ่มร้อยละ 0 มี ผลเท่ ากับไม่ต้อง
เสียภาษี จากการขายสินค้าหรือ การให้บริการ และยังได้รบั
คื นภาษี ซื้อ อัตราภาษี มูลค่ าเพิ่มร้อยละ 0 ใช้ สาหรับการ
ประกอบกิ จ การ เช่ น ส าหรับ กิ จ การส่ ง ออก การขนส่ ง
ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ภ า ษี มู ล ค่ า เ พิ่ ม ทั ้ง
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7
และร้ อ ยละ 0 เมื่ อ ซื้ อ สิ นค้ า หรื อ บริ การมี ห น้ าที่ ต้ อ ง
คานวณหาจานวนภาษี มลู ค่าเพิ่มที่ต้องชาระเพิ่ม หรือได้รบั
ภาษี คืนในแต่ละเดือนภาษี โดยมีบญ
ั ชีที่เกี่ยวข้องคือ
1. ภาษี ขาย หมายถึง ภาษี มูลค่าเพิ่มที่ มีผ้ป
ู ระกอบการ
จดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่มได้เรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้า หรือ
ผูร้ บั บริการเมื่อได้ขายสินค้าหรือให้บริการนัน้
2. ภาษี ซื้อ หมายถึง ภาษี มูลค่าเพิ่มที่ ผ้ป
ู ระกอบการจด
วิธีการคานวณ
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม = ภาษี ขาย – ภาษี ซื้อ
1. ภาษี ขาย มากกว่า ภาษี ซื้อ ผู้ประกอบการจะต้ องนา
เงินส่งให้กรมสรรพากรภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
ตัวอย่าง ร้านน้ องนุชพาณิชย์จดทะเบียนภาษี มลู ค่าเพิ่ม
ในอัตราร้อยละ 7 ในระหว่างเดือนกันยายน 2555 มียอด
ซื้อสินค้า 72,000 บาท และมียอดขายสินค้า 102,000 บาท
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม
= ภาษี ขาย - ภาษี ซื้อ
= (102,000 × 7%) - (72,000 ×
2. ภาษี ซื้อ
มากกว่า ภาษี ขาย ผู้ประกอบการมีสิทธิได้รบั
เงินภาษี คืน
ตัวอย่าง ร้านดุสิตการค้ าจดทะเบียนภาษี มูลค่ าเพิ่มใน
อัต ราร้ อ ยละ 7 ในระหว่ า งเดื อ นตุล าคม 2555 จ่ า ยค่ า ซื้ อ
สินค้า 44,100 บาท และมียอดขายสินค้า 42,300 บาท
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม
= ภาษี ขาย - ภาษี ซื้อ
= (42,300 × 7%) - (44,100 ×
7%)
= 2,961 - 3,087
ภาษี ที่ได้รบั คืน
= 126
บาท
การคานวณภาษี มลู ค่าเพิ่มในแต่ละเดือน มีหลักเกณฑ์
เหมือนกับการคานวณภาษี ในอัตราร้อยละ 7 คือ
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม = ภาษี ขาย - ภาษี ซื้อ
แต่ จ ะมี ค วามแตกต่ า งกัน ในด้ า นภาษี ข าย เพราะ
ผู้ประกอบการไม่ต้องเสี ยภาษี จากการขายสินค้าหรือการ
ให้บริการ จึงทาให้ผลการคานวณเป็ นลบเสมอ ในขณะที่
ต้ องเสี ยภาษี ซื้อ เมื่อมีการซื้อวัตถุดิบ สินค้าหรือบริการ
จากผู้ป ระกอบการจดทะเบี ย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม รายอื่ น ที่
เกี่ ย วข้ อ ง จึ ง มี ผ ลท าให้ ผ้ ู ป ระกอบการจดทะเบี ย น
ตัวอย่า ง ผู้ประกอบกิจการส่ งออกเป็ นผู้จดทะเบี ยน
ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ในอัต ราร้ อ ยละ 0 ได้ ส่ ง สิ น ค้ า ออกเป็ น
จานวน 15,000 บาท และได้จ่ายเงินซื้อวัตถุดิบ และวัสดุ
โรงงานเพื่อผลิตสินค้าเป็ นจานวนเงินทัง้ สิ้น 10,000 บาท
โดยถูกเรียกเก็บภาษี มลู ค่าเพิ่ม 7% จากผูข้ าย
ภาษี มลู ค่าเพิ่ม
= ภาษี ขาย - ภาษี ซื้อ
=
(15,000 × 0%) - (10,000 ×
7%)
= 0 - 700
ภาษี ที่ได้รบั คืน
= 700
บาท
ต้ อ งเป็ นภาษี ซื้ อ ของผู้ป ระกอบการที่ ไ ด้ จด
ทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ม เฉพาะที่ เสี ยภาษี ในแบบปกติ
ร้อยละ 7 เท่านัน้
2. ภาษี ซื้อที่ น ามาหักต้ องมี หลักฐานใบกากับภาษี
หรือใบเสร็จรับเงินค่าภาษี มลู ค่าเพิ่ม
3. ต้ อ งเป็ นภาษี ซื้ อ ตามใบก ากับ ภาษี แ บบเต็ ม
รูปแบบ ใบกากับภาษี ต้องมีข้อความถูกต้ องสมบูรณ์
ตามกฎหมายกาหนด และออกโดยผู้ประกอบการจด
ทะเบียน
1.
ไม่มีใบกากับภาษี ซื้อหรือไม่อาจแสดงใบกากับภาษี
ซื้อได้ว่ามีการชาระภาษี ซื้อ
2. ใบกากับภาษี ซื้อที่ มีข้อความไม่ถก
ู ต้ อง ไม่สมบูรณ์
ในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญตามที่กฎหมายกาหนด
3. ภาษี ซื้ อ ที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ การประกอบกิ จ การของ
ผูป้ ระกอบการ
4. ภาษี ซื้อ ที่ เ กิด จากรายจ่ ายเพื่ อ การรับ รอง หรื อ เพื่ อ
การอันมีลกั ษณะทานองเดียวกัน ได้แก่ ค่าที่พกั ค่าอาหาร
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับกีฬา ค่ามหรสพ ฯลฯ
1.
ภาษี ซื้อที่ เกิดจากการซื้อสินทรัพย์เพื่อใช้ ในกิจการ
ประเภทที่ ไม่ต้องเสียภาษี มูลค่าเพิ่มที่ เกิดจากรายจ่ายที่ ไม่
ต้องเสียภาษี มลู ค่าเพิ่ม
8. ภาษี ซื้อที่ ออกตามใบกากับภาษี ซึ่งชื่อ ที่ อยู่ และเลข
ประจาตัวผูเ้ สียภาษี ของผูอ้ อกไม่ได้ตีพิมพ์
9 . ค่ า เ บี้ ย ป รั บ แ ล ะ เ งิ น เ พิ่ ม ข อ ง ภ า ษี ซื้ อ เ พื่ อ
ผู้ประกอบการต้องรับผิดเนื่ องจากการนาส่งหรือชาระภาษี
เกินกาหนดเวลาตามกฎหมาย
10.ภาษี ซื้อตามที่ อธิบดีกาหนดโดยอนุมต
ั ิ รฐั มนตรี
7.
1. ความรับผิดของผูป
้ ระกอบการขายสินค้า
ผู้ป ระกอบการขายสิ นค้ า ได้ ก าหนดความรับ ผิ ด
เกี่ยวกับภาษี มูลค่าเพิ่มที่เกิดขึน้ จากการขายสินค้า โดยยึด
การส่งมอบสินค้า วันที่โอนกรรมสิทธ์ ิ การชาระราคามูลค่า
ตามที่ ตกลงหรือชาระบางส่วนแล้วแต่กรณี ให้ถือความรับ
ผิดเกิดขึน้ เมื่อได้มีการกระทาดังกล่าวแล้ว
2. ความรับผิดของผูป
้ ระกอบการนาเข้าสินค้า
3. ความรับผิดกรณี พิเศษ