เอกสารประกอบการติว ของ อาทร ศรีเชียงสา : บางนา

Download Report

Transcript เอกสารประกอบการติว ของ อาทร ศรีเชียงสา : บางนา

ภาพรวม
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
เลขประจาตัว
ผู้เสี ยภาษีอากร
ภาษีมูลค่ าเพิม่
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
ประมวลรัษฎากร
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
เลขประจาตัว
ประชาชน
เลขทะเบียน
นิติบุคคล
อากรแสตมป์
Slide 1
โครงสร้ างของภาษีอากร
(1) ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
(2) ฐานภาษี
(3) อัตราภาษี
(4) วิธีการชาระภาษี
(5) วิธีการขจัดข้ อโต้ แย้ งในข้ อพิพาท (การอุทธรณ์ )
(6) บทลงโทษ
Slide 2
www.rd.go.th
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
Personal Income Tax : PIT
Slide 3
1 ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
วิธีที่ 1
2
การคานวณภาษี
เงินได้ พงึ ประเมิน - ( 8 ประเภท) - 2 เงินได้ พงึ ประเมิน
หัก ยกเว้ น
(ไม่ รวมเงินได้ ประเภทที่1)
หัก ค่ าใช้ จ่าย
จ
านวนตั
้
ง
แต่
60,000
บาทขึ
น
้
ไป
หัก ค่ าลดหย่ อน และยกเว้ น
เงินได้ สุทธิ
3 คูณอัตราร้ อยละ 0.5
3 คูณอัตราภาษีก้าวหน้ า เปรียบเทียบ
4
วิธีที่ 2
ชาระภาษีตามวิธีที่มากกว่ า
ยกเว้ น เฉพาะ
มีภาษีทตี่ ้ อง
เสี ยไม่ เกิน
5,000 บาท
ยืน่ แบบ ภ.ง.ด. 90 , 91 ภายในเดือนมีนาคม ของปี ภาษีถัดไป
Slide 4
1. ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษี
ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
1.1 บุคคลธรรมดา
- มาตรา 56 วรรคหนึ่ง , 57 , 57 ตรี , เบญจ
1.2 ผู้ถงึ แก่ ความตายในระหว่ างปี ภาษี
- มาตรา 57 ทวิ วรรคหนึ่ง
1.3 กองมรดกทีย่ งั มิได้ แบ่ ง
- มาตรา 57 ทวิ วรรคสอง
1.4 ห้ างหุ้นส่ วนสามัญหรือคณะบุคคล ทีม่ ิใช่ นิตบิ ุคคล
หสม. Slide 5
- มาตรา 56 วรรคสอง
วิสาหกิจชุมชน
ยกเว้ นภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
เงินได้ ของวิสาหกิจชุมชนตามกฎหมายว่ าด้ วยการ
ส่ งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะทีเ่ ป็ นห้ างหุ้นส่ วนสามัญหรือคณะบุคคล
ทีม่ ิใช่ นิตบิ ุคคล ซึ่งมีเงินได้ ไม่ เกิน 1,800,000 บาท สาหรับปี ภาษีน้ัน
ทั้งนี้ สาหรับเงินได้ พงึ ประเมินทีไ่ ด้ รับตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552
ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขทีอ่ ธิบดีกาหนด (มาตรา42 (17) ประกอบกับกฎกระทรวง
ฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (78) (แก้ ไขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวงฉบับที่ 287
(พ.ศ.2555) ประกอบกับประกาศอธิบดีฯ (ฉบับที่ 221) 30 ก.ค.2555)
Slide 6
เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร เป็ นการจากัดสิ ทธิสามี
คาชี้แจงกรมสรรพากร
ลงวันยทีภาษี
่ 19 ก.ย.ถื55อวาไม
และภริยาในการยื
น
่ รายการและเสี
่
่
ส่งเสริมความเสมอภาคของชายและหญิง กรณีจงึ ขัด
หรือแย้งตอมาตรา
๓๐ ของรัฐธรรมนูญแหง่
่
ราชอาณาจักรไทย พุทธศั กราช ๒๕๕๐
บทบัญญัตต
ิ ามมาตรา ๕๗ ตรี และมาตรา ๕๗
เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร จึงเป็ นอันใช้บังคับ
ฐธรรมนูญมาตรา ๖ ของรัฐธรรมนูญแหง่
มิไดตามรั
้
ราชอาณาจักรไทย พุทธศั กราช ๒๕๕๐ ซึง่ คา
วินิจฉัยของศาลให้มีผลในวันอาน
คือ ตัง้ แตวั
่
่ นที่
๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ตามขอ
้ ๕๕ ของ
ข้อกาหนดศาลรัฐธรรมนูญ วาด
ธพ
ี จ
ิ ารณาและ
่ วยวิ
้
Slide 7
การทาคาวินิจฉัย พ.ศ. ๒๕๕๐
ส่วนกรณีเงินไดพึ
้ งประเมินทีเ่ กิดจากการทากิจการ
รวมกั
น หรือทีม
่ ไิ ดพิ
สจ
ู นว
าเป็
นเงินไดของฝ
ายใด
่
้
์
่
้
่
คาชี้แจงกรมสรรพากร
ลงวันที่ 19 ก.ย.
55 ม่ ใิ ช่นิต ิ
ให้ยืน
่ รายการและเสี
ยภาษีในนามคณะบุ
คคลที
บุคคล………………………….…
ข้อ 3 การเก็บภาษีเงินไดจากสามี
และภริยากอน
้
่
ปี ภาษี 2555
เนื่องจากศาลรัฐธรรมนูญไดมี
้ คาวินิจฉัย
ที่ 48/2545 ลงวันที่ 12 กันยายน 2545 วา่ ประมวล
รัษฎากร มาตรา 57 ตรี และมาตรา 57 เบญจ ไม่
ขัดหรือแยงต
้ อรั
่ ฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2540 มาตรา 29 มาตรา 30 และมาตรา 80
ดังนั้น การจัดเก็บภาษีเงินไดบุ
้ คคลธรรมดาจากสามี
และภริยากอนปี
ภาษี 2555 ต้องปฏิบต
ั ต
ิ ามคาวินิจฉัย
่
ของ ศาลรัฐธรรมนูญที่ 48/2545 ลงวันที่ 12
กันยายน 2545 และบังคับใช้บทบัญญัตใิ นมาตรา 57
ตรี และมาตรา 57 เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร
ตอไป
โดยไมขั
่
่ ดหรือแยงต
้ อค
่ าวินิจฉัยของศาล Slide 8
รัฐธรรมนูญที่ 17/2555 ลงวันที่ 4 กรกฎาคม 2555
1. ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษี (ต่ อ)
2. ผู้ทไี่ ด้ รับยกว้ นไม่ ต้องเสี ยภาษี
2.1 บุคคลตามสั ญญา ว่ าด้ วยการเว้ นการเก็บภาษีซ้อน ทีร่ ัฐบาล
ไทยได้ ทาไว้ หรือจะได้ ทากับรัฐบาลต่ างประเทศ (พระราชกฤษฎีกา(ฉบับที่
18))
2.2 องค์ การสหประชาชาติ ทบวงการชานัญพิเศษของ
สหประชาชาติ และเจ้ าหน้ าที่ หรือผู้เชี่ยวชาญขององค์ การ หรือทบวงการ
ดังกล่าวซึ่งปฏิบัติหน้ าทีอ่ ยู่ในประเทศไทย ในเมื่อประเทศไทยมีข้อผูกพันให้
ยกเว้ นตามอนุสัญญาหรือความตกลง (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 10))
2.3 สถานเอกอัคราชทูต สถานทูต สถานกงสุ ลใหญ่ สถานกงสุ ล
บุคคลในคณะทูต บุคคลในคณะกงสุ ล และบุคคลทีถ่ ือว่ าอยู่ในคณะทูตตาม
ความตกลง ทั้งนีใ้ ห้ เป็ นไปตามหลักถ้ อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน (พระราช
Slide 9
กฤษฎีกา (ฉบับที่ 10)) ...เป็ นต้ น...
3. ความสั มพันธ์ ระหว่ างรัฐ กับ ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
(หลักการจัดเก็บภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา)
มาตรา 41 ว.1
มาตรา 41 ว.2 , 3
หลักแหล่ งเงินได้
หลักถิน่ ทีอ่ ยู่
(แหล่งเงินได้ ทเี่ กิดขึน้ ในประเทศไทย)
(แหล่งเงินได้ ทเี่ กิดขึน้ ในต่ างประเทศ)
เนื่องจาก
 หน้ าทีง่ านทีท
่ าในประเทศไทย
 กิจการที่ทาในประเทศไทย
 กิจการของนายจ้ างในประเทศไทย
หรือ
 ทรั พย์ สินทีอ
่ ยู่ในประเทศไทย.
เนื่องจาก
 หน้ าทีง่ านที่ทาในต่ างประเทศ
 กิจการทีท
่ าในต่ างประเทศ หรือ
 ทรั พย์ สินทีอ
่ ยู่ในต่ างประเทศ
(1) ต้ องเป็ นผู้อยู่ในประเทศไทย
ถึง 180 วัน ใน ปี ภาษี นั้น และ
(2) นาเงินได้ น้ัน เข้ ามาในไทย
Slide 10
ในปี ภาษีทเี่ กิดเงินได้ .
2. ฐานภาษี
หัก ยกเว้ น (ม.42)
เช่ น กบข.
หัก ยกเว้ น (ม.42)
เช่ น เบีย้ ประกันชีวิต
วิธีที่ 1 การคานวณหาเงินได้ สุทธิ ตามมาตรา 48 (1)
เงินได้ สุทธิ (= เงินได้พงึ ประเมิน – ค่าใช้ จ่าย – ค่าลดหย่อน) X อัตราภาษี (ก้าวหน้ า)
(ฐานภาษี)
ม. 42 ทวิ
- คืออะไร ม. 39
42 ตรี
- กีป่ ระเภท ม. 40
43
- ยกเว้ นหรือไม่ ม. 42 44
45
46
ม. 47
บัญชีอตั ราภาษี
เงินได้ ข้ อ (1)
ท้ ายหมวด 3
วิธีที่ 2 การคานวณภาษี ตามมาตรา 48 (2)
เงินได้ พงึ ประเมิน (ประเภทที่ 2 – 8 รวมกันตั้งแต่ 60,000 บาทขึน้ ไป) X อัตราภาษี (0.5%)
(ฐานภาษี)
Slide 11
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
เงินได้ พงึ ประเมิน หมายถึง (มาตรา 39)
(ก) เงินสด
(ข) ทรัพย์ สิน ซึ่งอาจคานวณคิดได้ เป็ นเงิน
(ค) ประโยชน์ อย่ างอืน่ ที่ได้ รับ ซึ่งอาจคิดคานวณ
ได้ เป็ นเงิน
(ง) เงินค่ าภาษีอากรทีผ่ ู้จ่ายเงินหรือผู้อนื่ ออกททน
ให้ ไม่ ว่าทอดใด ๆ
(จ) เครดิตภาษีเงินปันผลหรือเงินส่ วนทบ่ งกาไร ตาม
Slide 12
มาตรา 47 ทวิ .
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
ผู้ได้ รับเครดิตภาษีในการคานวณภาษี ตามมาตรา 47 ทวิ
1. ผู้ทไี่ ด้ รับเงินปันผลหรือเงินส่ วนทบ่ งกาไร ซึ่งได้ รับ
จากบริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลทีต่ ้งั ขึน้ ตาม
กฎหมายไทย
2. ผู้ทไี่ ด้ รับเงินได้ ตาม 1. เป็ นผู้มีภูมิลาเนาอยู่ใน
ประเทศไทย หรือเป็ นผู้อยู่ในประเทศไทย
3. ได้ รับเครดิตภาษี เท่ ากับ
อัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล x เงินปันผลฯทีไ่ ด้ รับ
100 - อัตราภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
Slide 13
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
ปัญหา เงินได้ พงึ ประเมิน : ประโยชน์ เพิม่ ของพนักงาน
1. การเลีย้ งอาหารกลางวัน
2. การจัดรถรับ-ส่ ง
3. ได้ อยู่บ้านพักของนายจ้ าง
4. ให้ เครื่องทบบ (Uniform)
5. การจัดนาเที่ยว / จัดงานปี ใหม่
6. จ่ ายเบีย้ ประกันชีวติ / ประกันสุ ขภาพ ให้
7. รางวัลกรณีอายุงานมาก อยู่นาน
Slide 14
ลูกจ้ างได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ จากประโยชน์ เพิม่ ดังกล่ าว
ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 แก้ ไขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับ
ที่ 285 (พ.ศ. 2554) ใช้ บังคับ 13 ธันวาคม 2554 เป็ นต้ นไป)
ยกเว้ น : เงินได้ ทคี่ านวณได้ จากมูลค่ าทีล่ ูกจ้ างได้ รับจากการนา
บุตรชอบด้ วยกฎหมายของตน แต่ ไม่ รวมถึงบุตรบุญธรรมไปอยู่ในความ
ดูแลของสถานรับเลีย้ งเด็กตามกฎหมายว่ าด้ วยการคุ้มครองเด็กทีน่ ายจ้ าง
ได้ รับใบอนุญาตให้ จดั ตั้งขึน้ เพือ่ เป็ นสวัสดิการของลูกจ้ างสาหรับ สถาน
ประกอบการนั้น ทั้งนี้ สาหรับเงินได้ พงึ ประเมินที่ได้ รับตั้งแต่ วนั ที่ 1
มกราคม 2554 เป็ นต้ นไป
Slide 15
สรุป : ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน (มาตรา 40)
2. ฐานภาษี
ประเภทที่ 1 เงินได้ จากการจ้ างแรงงาน เช่ น เงินเดือน ค่ าจ้ างฯ
ประเภทที่ 2 เงินได้ จากหน้ าทีห่ รือตาแหน่ งงานทีท่ าหรือจากการรับทางานให้
เช่ น ค่ านายหน้ าฯ
ประเภทที่ 3 ค่ าแห่ งกู๊ดวิลล์ ค่ าลิขสิ ทธิ์ หรือสิ ทธิอย่ างอืน่ ฯ
ประเภทที่ 4 เงินได้ จาก ดอกเบีย้ ทุกชนิด เงินปันผลฯ
ประเภทที่ 5 เงินได้ จาก การให้ เช่ าทรัพย์ สินฯ
ประเภทที่ 6 เงินได้ จาก วิชาชีพอิสระ เช่ น กฎหมาย การประกอบโรคศิลป
บัญชี วิศวกรรม สถาปัตยกรรม ประณีตศิลปกรรม
ประเภทที่ 7 เงินได้ จากการรับเหมาทีผ่ ู้รับเหมาต้ องลงทุนด้ วยการจัดหา
สั มภาระในส่ วนสาคัญนอกจากเครื่องมือ
ประเภทที่ 8 เงินได้ จากการประกอบธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร
Slide 16
การอุตสาหกรรม การขนส่ ง หรือการอืน่ ทีม่ ิได้ ระบุไว้ ใน 1-7 ฯ
ข้ อหารือ “ประเภทของเงินได้ ”
กรณี ข้ อแตกต่ างของเงินได้ ประเภทที่ 2 , 7 และ 8
กรณีบริษัทฯ ได้ ว่าจ้ างให้ บุคคลธรรมดาทาการกั้นห้ อง หรือเทพืน้ คอนกรีต
หากปรากฏข้ อเท็จจริงว่ า
(ก) ผู้รับจ้ างได้ ใช้ แรงงานของตนเป็ นส่ วนใหญ่ โดยไม่ มีการจัดตั้งเป็ น
สานักงานทีม่ ีเครื่องมือ เครื่องใช้ ไม่ มีการจ้ างพนักงาน ลูกจ้ าง กรณีดังกล่าวเข้ า
ลักษณะเป็ นเงินได้ เนื่องจากการรับทางานให้ ตามมาตรา 40(2) บริษัทฯ ผู้จ่ายมี
หน้ าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50(1)
(ข) ผู้รับจ้ างเป็ นผู้จัดหาสั มภาระในส่ วนสาคัญนอกจากเครื่องมือ เช่ น สี
ปูน อิฐ และวัสดุต่าง ๆ ทั้งหมด เข้ าลักษณะเป็ นเงินได้ จากการรับเหมาตาม ม. 40(7)
บริษัทฯ ผู้จ่ายมีหน้ าทีต่ ้ องหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ ายในอัตราร้ อยละ 3.0
(ค) ผู้รับจ้ างได้ จัดตั้งเป็ นสานักงานและได้ ลงทุนด้ วยการจัดหาอุปกรณ์
เครื่องมือ เครื่องใช้ และมีค่าใช้ จ่ายประจาของสานักงาน ตลอดจนค่ าจ้ างพนักงาน
หรือลูกจ้ าง กรณีดังกล่าวเข้ าลักษณะเป็ นเงินได้ พงึ ประเมินเนื่องจากการประกอบ
ธุรกิจหรือพาณิชย์ ตามมาตรา 40(8) บริษัทฯ ผู้จ่ายมีหน้ าทีต่ ้ องหักภาษีเงินได้
ณ ที่
Slide 17
จ่ ายในอัตราร้ อยละ 3.0 (กค 0706(กม.05)/1022 ลว. 8 ธันวาคม 2547 )
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา (มาตรา 42)
เงินได้ พงึ ประเมินบางอย่ างทีผ่ ้ ูมเี งินได้ ฯ ได้ รับใน
บางกรณีกฎหมายได้ กาหนดให้ มกี ารยกเว้ นไม่ ต้องนาเอา
เงินได้ พงึ ประเมินดังกล่ าวมาเสี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
เงินได้ ฯ ทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
มีอยู่หลายกรณีตามทีก่ าหนดไว้ ตาม
1. มาตรา 42 แห่ งประมวลรัษฎากร
2. กฎกระทรวงฉบับที่ 126 และ
3. พระราชกฤษฎีกาหลายฉบับ
Slide 18
การยกเว้ นภาษี
ลักษณะของการยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามมาตรา 42
ลักษณะที่ 1 ยกเว้ นเงินได้ พงึ ประเมิน โดยไม่ ต้องนามาแสดงในแบบแสดง
รายการ เช่ น
(10) เงินได้ ทไี่ ด้ รับจากการอุปการะโดยหน้ าทีธ่ รรมจรรยา เงินได้ ที่ได้ รับ
จากการรับมรดก หรือจากการให้ โดยเสน่ หาเนื่องในพิธีหรือตามโอกาสแห่ ง
ขนบธรรมเนียมประเพณี
(12) บานาญพิเศษ บาเหน็จพิเศษ บานาญตกทอด หรือบาเหน็จตกทอด
(13) ค่ าสิ นไหมทดแทนเพือ่ ละเมิด เงินที่ได้ จากการประกันภัย หรือการ
ฌาปนกิจสงเคราะห์
Slide 19
การยกเว้ นภาษี
ลักษณะของการยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามมาตรา 42
ลักษณะที่ 2 ยกเว้ นเงินได้ พงึ ประเมิน โดยต้ องนามาแสดงในแบบแสดง
รายการ เช่ น
“(72) เงินได้ ทผี่ ู้มีเงินได้ ซึ่งเป็ นผู้อยู่ในประเทศไทยและมีอายุไม่ ต่ากว่ า
หกสิ บห้ าปี บริบูรณ์ ในปี ภาษีได้ รับ เฉพาะส่ วนทีไ่ ม่ เกินหนึ่งแสนเก้าหมื่นบาท
ในปี ภาษีน้ัน ทั้งนี้ สาหรับเงินได้ ที่ได้ รับตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2548
เป็ นต้ นไป โดยเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทีอ่ ธิบดี
กรมสรรพากรประกาศกาหนด” (มาตรา42 (17) ประกอบกับกฎกระทรวง
ฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (72))
“ข้ อ 5 ผู้มีเงินได้ ทจี่ ะได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามข้ อ 1 ต้ องแสดงรายการ
เงินได้ และจานวนเงินได้ ที่ได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ น้ัน พร้ อมกับการยืน่ แบบ
แสดงรายการภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา” (ประกาศอธิบดีฯ (ฉบับที่ 150))Slide 20
การยกเว้ นภาษี
ลักษณะของการยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามมาตรา 42
ลักษณะที่ 3 ยกเว้ นเงินได้ เท่ าทีจ่ ่ ายฯ โดยให้ หักออกจากเงินได้ พงึ ประเมิน
ก่อนหักค่ าใช้ จ่าย (เพือ่ บรรเทาภาระภาษี = รายการลดหย่ อน) เช่ น
“ (43) เงินได้ เท่ าทีส่ มาชิกกองทุนบาเหน็จบานาญข้ าราชการจ่ ายเป็ นเงิน
สะสมเข้ ากองทุนบาเหน็จบานาญข้ าราชการตามกฎหมายว่ าด้ วยกองทุน
บาเหน็จบานาญข้ าราชการ เฉพาะส่ วนที่ไม่ เกินห้ าแสนบาท สาหรับปี ภาษีน้ัน
ทั้งนี้ สาหรับเงินได้ พงึ ประเมินที่ได้ รับตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 เป็ น
ต้ นไป” (มาตรา42 (17) ประกอบกับกฎกระทรวง(ฉบับที่ 126) ข้ อ 2 (43)
แก้ไขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง(ฉบับที่ 266) พ.ศ.2551 ข้ อ 2))
Slide 21
การยกเว้ นภาษี
ลักษณะของการยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามมาตรา 42
ลักษณะที่ 4 ยกเว้ นเงินได้ เท่ าทีจ่ ่ ายฯ โดยให้ หักออกจากเงินได้ พงึ ประเมิน
หลังหักค่ าใช้ จ่าย (เพือ่ บรรเทาภาระภาษี = รายการลดหย่ อน) เช่ น
(66) เงินได้ เท่ าทีจ่ ่ ายเป็ นค่ าซื้อหน่ วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาวฯ ในอัตราไม่ เกิน
ร้ อยละ 15 ของเงินได้ พงึ ประเมิน เฉพาะส่ วนทีไ่ ม่ เกิน 500,000 บาท สาหรับปี ภาษีน้ัน
และเงินได้ ดงั กล่ าวต้ องเป็ นเงินได้ ของผู้มเี งินได้ ซึ่งเป็ นบุคคลธรรมดาแต่ ไม่ รวมถึง ห้ าง
หุ้นส่ วนสามัญหรือคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่ นิตบิ ุคคลและกองมรดกที่ยงั ไม่ ได้ แบ่ ง ทั้งนี้ สาหรับ
เงินได้ พึงประเมินที่ได้ รับตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 เป็ นต้ นไป
เงินได้ ทไี่ ด้ รับยกเว้ นตามวรรคหนึ่ง และการถือหน่ วยลงทุนในกองทุน
รวมหุ้น ระยะยาวให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขทีอ่ ธิบดีกาหนด Slide
ต่ อ 22
การยกเว้ นภาษี
ลักษณะของการยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามมาตรา 42
ลักษณะที่ 4 ยกเว้ นเงินได้ เท่ าทีจ่ ่ ายฯ โดยให้ หักออกจากเงินได้ พงึ ประเมิน
หลังหักค่ าใช้ จ่าย (เพือ่ บรรเทาภาระภาษี = รายการลดหย่ อน) เช่ น (ต่ อ)
“ข้ อ 7 การได้ รับยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามประกาศนีใ้ ห้ ผู้มีเงินได้ นาเงินได้ ที่
ได้ รับยกเว้ นภาษีไปคานวณหักจากเงินได้ พงึ ประเมินตามมาตรา 40 แห่ ง
ประมวลรัษฎากร เมื่อหักตามมาตรา 42 ทวิถึงมาตรา 46 แห่ งประมวล
รัษฎากรแล้ว” (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่
133))
Slide 23
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
1. เนื่องจากมีลกั ษณะเป็ นรายจ่ ายหรือค่ าทดแทนหรือสวัสดิการ
2. เพือ่ ส่ งเสริมอาชีพหรือธุรกิจบางอย่ าง
3. เพือ่ ส่ งเสริมการออมทรัพย์ ในตลาดทุนและตลาดเงิน
4. เพือ่ ส่ งเสริมการศึกษา
5. เพือ่ ตอบแทนการทาคุณประโยชน์
6. เพือ่ ส่ งเสริมความสั มพันธ์ อนั ดีระหว่ างประเทศ
7. เพือ่ มิให้ มีการเก็บภาษีซ้าซ้ อน
8. เนื่องจากเป็ นมรดก
9. เนื่องจากการอุปการะโดยหน้ าทีธ่ รรมจรรยา หรือในพิธีฯ
10. เพือ่ ช่ วยเหลือผู้สูงอายุ / ผู้พกิ าร
Slide 24
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
1. เนื่องจากมีลกั ษณะเป็ นรายจ่ ายหรือค่ าทดแทนหรือสวัสดิการ(ต่ อ)
1.5 เงินได้ ส่วนที่เป็ นค่ ารักษาพยาบาลที่นายจ้ างจ่ ายให้ หรือจ่ าย
แทนลูกจ้ างเป็ นค่ ารักษาพยาบาล สาหรับ
(ก) ลูกจ้ าง สามี ภริยา บุพการีหรือผู้สืบสั นดาน ซึ่งอยู่ในความ
อุปการะเลีย้ งดูของลูกจ้ าง ทั้งนี้ เฉพาะสาหรับการรักษาพยาบาลที่กระทาใน
ประเทศไทย
(ข) ลูกจ้ างในกรณีที่จาเป็ นต้ องได้ รับการรักษาพยาบาลใน
ต่ างประเทศในขณะที่ปฏิบัตกิ ารตามหน้ าที่ในต่ างประเทศเป็ นครั้งคราว
ทั้งนี้ เงินจานวนดังกล่ าวได้ จ่ายไปทั้งหมดในการนั้น (มาตรา42 (17)
Slide 25
ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ข้ อ 2 (4))
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
1. เนื่องจากมีลกั ษณะเป็ นรายจ่ ายหรือค่ าทดแทนหรือสวัสดิการ(ต่ อ)
1.6 เงินได้ เท่ าทีน่ ายจ้ างจ่ ายเป็ นเบีย้ ประกันภัยให้ แก่บริษัทประกันชีวติ
หรือบริษัทประกันวินาศภัยทีป่ ระกอบกิจการในราชอาณาจักร สาหรับกรมธรรม์
ประกันภัยกลุ่มทีม่ ีกาหนดเวลาไม่ เกินหนึ่งปี เฉพาะในส่ วนทีค่ ุ้มครองค่า
รักษาพยาบาลสาหรับ
(ก) ลูกจ้ าง สามี ภริยา บุพการีหรือผู้สืบสั นดานซึ่งอยู่ในความ
อุปการะเลีย้ งดูของลูกจ้ าง ทั้งนี้ เฉพาะการรักษาพยาบาลในประเทศไทย
(ข) ลูกจ้ าง ในกรณีทจี่ าเป็ นต้ องได้ รับการรักษาพยาบาลใน
ต่ างประเทศ ในขณะทีป่ ฏิบัติการตามหน้ าทีใ่ นต่ างประเทศเป็ นครั้งคราว
Slide 26
(มาตรา42 (17)ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ข้ อ 2 (77))
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
1. เนื่องจากมีลกั ษณะเป็ นรายจ่ ายหรือค่ าทดแทนหรือสวัสดิการ(ต่ อ)
1.10 เงินได้ ทคี่ านวณได้ จากมูลค่ าของเครื่องแบบซึ่งลูกจ้ างได้ รับจาก
นายจ้ างในจานวนคนละไม่ เกินสองชุ ดต่ อไป และเสื้อนอกในจานวนคนละไม่ เกิน
หนึ่งตัวต่ อปี
“เครื่องแบบ” ตามวรรคหนึ่ง หมายความว่ า เครื่องแต่ งกาย
รวมทั้งสิ่ งประกอบเครื่องแต่ งกายทีก่ าหนดให้ แต่ งเพือ่ ใช้ ในการปฏิบตั ิงาน แต่ ไม่
รวมถึงรองเท้ าทีอ่ าจใช้ งานได้ ทวั่ ไป ชุ ดชั้นใน หรือสิ่ งประกอบเครื่องแต่ งกายที่
ทาด้ วยโลหะหรืออัญมณีทมี่ ีค่าเช่ น เงิน ทองคา ทับทิม หยก
“เสื้อนอก” ตามวรรคหนึ่ง หมายความรวมถึง ชุ ดไทย
พระราชทานและเสื้อที่นิยมใช้ ในการแต่ งกายไปในงานสาคัญต่ างๆ (มาตรา42
Slide 27
(17) ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ข้ อ 2 (34))
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
1. เนื่องจากมีลกั ษณะเป็ นรายจ่ ายหรือค่ าทดแทนหรือสวัสดิการ(ต่ อ)
1.11 เงินประโยชน์ ทดแทนที่ผู้ประกันตนได้ รับจากกองทุน
ประกันสั งคม ตามกฎหมายว่ าด้ วยการประกันสั งคม (มาตรา42 (25))
1.12 เงินค่ าทดแทนตามกฎหมายว่ าด้ วยการเวนคืน
อสั งหาริมทรัพย์ ทั้งนีเ้ ฉพาะที่ดนิ ที่ต้องเวนคืน และอสั งหาริมทรัพย์ อนื่ บน
ที่ดนิ ที่ต้องเวนคืน (มาตรา42 (17)ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126
(พ.ศ. 2509) ข้ อ 2 (29))
1.13 ค่ าสิ นไหมทดแทนเพือ่ ละเมิด เงินที่ได้ จากการประกันภัย หรือ
การฌาปนกิจสงเคราะห์ (มาตรา42 (13))
Slide 28
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
2. เพือ่ ส่ งเสริมอาชีพหรือธุรกิจบางอย่ าง
2.1 เงินได้ จากการขาย หรือส่ วนลดจากการซื้ออากร
แสตมป์ หรือแสตมป์ ไปรษณียากรของรัฐบาล (มาตรา42 (6))
2.2 เงินได้ ของชาวนาทีไ่ ด้ จากการขายข้ าว อันเกิดจาก
กสิ กรรมทีต่ นและหรือครอบครัวได้ ทาเอง (มาตรา42 (15))
Slide 29
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
2. เพือ่ ส่ งเสริมอาชีพหรือธุรกิจบางอย่ าง(ต่ อ)
2.3 เงินได้ จากการจาหน่ าย หรือส่ วนลดจากการจาหน่ ายสลาก
กินแบ่ งของรัฐบาล (มาตรา42 (17) ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126
(พ.ศ. 2509) ข้ อ 2 (2))
2.4 เงินได้ จากการขายสิ นค้ ายาสู บ ทีโ่ รงงานยาสู บ
กระทรวงการคลังได้ เสี ยภาษีเงินได้ แทนผู้ขายสิ นค้ าดังกล่ าวทุกทอด
ตามมาตรา 48 ทวิ แห่ งประมวลรัษฎากร (มาตรา42 (17) ประกอบกับ
กฎกระทรวงฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ข้ อ 2 (19))
Slide 30
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
2. เพือ่ ส่ งเสริมอาชีพหรือธุรกิจบางอย่ าง (ต่ อ)
2.7 เงินได้ ที่นักแสดงสาธารณะที่เป็ นนักแสดงภาพยนตร์ ซึ่งมีภูมิลาเนา
อยู่ในต่ างประเทศได้ รับอันเนื่องมาจากการเสดงภาพยนตร์ ต่างประเทศซึ่ง
ดาเนินการสร้ างโดยบริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมาย
ของต่ างประเทศและได้ รับอนุญาตการสร้ างตามกฎหมายว่ าด้ วยภาพยนตร์
และวีดิทศั น์ ทั้งนี้ สาหรับเงินได้ พงึ ประเมินที่ได้ รับตั้งแต่ วนั ที่ ๑ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ (มาตรา42 (17) ประกอบกับ
กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (84))
Slide 31
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8
ค่ าจ้ างนักแสดงสาธารณะ
กรณีมีภูมิลาเนาอยู่ในต่ างประเทศ หักภาษี ณ ทีจ่ ่ ายโดยคานวณ
หักไว้ ตามอัตราที่กาหนดในบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (อัตราก้ าวหน้ า)
เว้ นแต่ นักแสดงสาธารณะที่เป็ น นักแสดงภาพยนตร์ หรือ
โทรทัศน์ ซึ่งมีภูมิลาเนาอยู่ในต่ างประเทศ เฉพาะกรณีทมี่ ีการดาเนินการ
ถ่ ายทา ภาพยนตร์ หรือโทรทัศน์ ในประเทศไทย โดยบริษทั หรือห้ าง
หุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายของต่ างประเทศ และได้ รับ
อนุญาตให้ ถ่ายทาในประเทศไทยจากคณะอนุกรรมการพิจารณาคาขอ
อนุญาตถ่ ายทาภาพยนตร์ ต่างประเทศในประเทศไทย ตามระเบียบ
คณะกรรมการส่ งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ไทย ว่ าด้ วยการขอ
อนุญาตถ่ ายทาภาพยนตร์ ต่างประเทศในประเทศไทย พ.ศ. 2544
หักภาษี ณ ที่จ่ายโดยคานวณหักไว้ ในอัตราร้ อยละ 10.0
Slide 32
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
3. เพือ่ ส่ งเสริมการออมทรัพย์ ในตลาดทุนและตลาดเงิน
3.1 ดอกเบีย้ ดังต่ อไปนี้
(ก) ดอกเบีย้ สลากออมสิ น หรือดอกเบีย้ เงินฝากออมสิ น
ของรัฐบาลเฉพาะประเภทฝากเผือ่ เรียก
(ข) ดอกเบีย้ เงินฝากประเภทออมทรัพย์ ทไี่ ด้ รับจากสหกรณ์
(ค) ดอกเบีย้ เงินฝากธนาคารในราชอาณาจักรที่ต้องจ่ าย
คืนเมื่อทวงถามประเภทออมทรัพย์ เฉพาะกรณีทผี่ ู้มีเงินได้ ได้ รับดอกเบีย้
ดังกล่าวในจานวนรวมกันทั้งสิ้นไม่ เกิน 20,000 บาทตลอดปี ภาษีน้ัน ทั้งนี้ ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขทีอ่ ธิบดีประกาศกาหนด (มาตรา42 (8) (17)
ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (38))
Slide 33
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
3. เพือ่ ส่ งเสริมการออมทรัพย์ ในตลาดทุนและตลาดเงิน (ต่ อ)
3.2 ดอกเบีย้ เงินฝากประเภทออมทรัพย์ ของธนาคารเพือ่ การเกษตรและ
สหกรณ์ การเกษตร (มาตรา42 (17) กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (22))
3.3 ดอกเบีย้ เงินฝากทีไ่ ด้ รับจากการฝากเงินกับธนาคารในประเทศ หรือ
ดอกเบีย้ เงินฝากที่ได้ รับจากการฝากเงินกับสหกรณ์ ออมทรัพย์ ตามกฎหมายว่ า
ด้ วยสหกรณ์ ในประเทศ และต้ องเป็ นดอกเบีย้ เงินฝากที่เกิดจากการฝากเงินเป็ น
รายเดือนติดต่ อกันมีระยะเวลาไม่ น้อยกว่ า 24 เดือนนับแต่ วนั ที่เริ่มฝาก โดยมี
ยอดเงินฝากแต่ ละคราวเท่ ากันแต่ ไม่ เกิน 25,000 บาทต่ อเดือน และรวมทั้ง
หมดแล้วต้ องไม่ เกิน 600,000 บาท (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 301) พ.ศ. 2539)
Slide 34
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
3. เพือ่ ส่ งเสริมการออมทรัพย์ ในตลาดทุนและตลาดเงิน (ต่ อ)
3.4 ดอกเบีย้ และรางวัลสลากออมทรัพย์ ของธนาคารเพือ่ การเกษตรและ
สหกรณ์ การเกษตร แต่ ไม่ รวมถึงดอกเบีย้ ซึ่งผู้รับมิใช่ ผ้ทู รงคนแรก ทั้งนี้ สาหรับ
สลากออมทรัพย์ ที่ออกจาหน่ ายตั้งแต่ วนั ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2545 เป็ นต้ นไป (มาตรา
42 (17) ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (60))
3.5 ดอกเบีย้ ทีไ่ ด้ รับตามมาตรา 4 ทศ (มาตรา42 (19))
3.6 ดอกเบีย้ เงินสะสมที่ได้ รับจากรัฐวิสาหกิจซึ่งมิใช่ บริ ษัทหรือ
ห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล ในอัตราเดียวกับทีท่ างราชการจ่ ายให้ แก่ข้าราชการ และ
รัฐวิสาหกิจผู้จ่ายเงินมิได้ ออกค่ าภาษีเงินได้ สาหรับเงินได้ จานวนดังกล่าวให้
Slide 35
(มาตรา42 (17) ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (11))
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
3. เพือ่ ส่ งเสริมการออมทรัพย์ ในตลาดทุนและตลาดเงิน (ต่ อ)
3.7 เงินได้ จากการเป็ นสมาชิกสหกรณ์ เฉพาะส่ วนเงินได้ ที่เป็ น
เงินปันผลหรือเงินเฉลีย่ คืน (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที4่ 0) พ.ศ. 2514)
3.8 เงินได้ จากการขายหลักทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย
แต่ ไม่ รวมถึงเงินได้ จากการขายหลักทรัพย์ ทเี่ ป็ นหุ้นกู้หรือพันธบัตร (มาตรา 42
(17) ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (23))
3.9 เงินได้ จากการขายหลักทรัพย์ ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ใน
ประเทศสมาชิกอาเซียน ที่มีการซื้อขายผ่ านระบบทีต่ ลาดหลักทรัพย์ แห่ ง
ประเทศไทยจัดให้ มีขนึ้ เพือ่ เชื่อมโยงการซื้อขายกับตลาดหลักทรัพย์ ในประเทศ
สมาชิกอาเซียน แต่ ไม่ รวมถึงเงินได้ จากการขายหลักทรัพย์ที่เป็ นตั๋วเงินคลัง
Slide 36
พันธบัตร ตั๋วเงิน หรือหุ้นกู้ (มาตรา 42 (17) กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (85))
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
4. เพือ่ ส่ งเสริมการศึกษา
4.1 เบีย้ ประชุมกรรมาธิการหรือกรรมการ หรือค่ าสอน ค่ าสอบ
ที่ทางราชการหรือสถานศึกษาของทางราชการจ่ ายให้ (มาตรา 42 (7))
4.2 รางวัลเพือ่ การศึกษาหรือค้ นคว้ าในวิทยาการ รางวัลสลาก
กินแบ่ งหรือสลากออมสิ นของรัฐบาล รางวัลทีท่ างราชการจ่ ายให้ ในการ
ประกวดหรือแข่ งขัน ซึ่งผู้รับมิได้ มีอาชีพในการประกวดหรือแข่ งขัน
หรือสิ นบนรางวัลทีท่ างราชการจ่ ายให้ เพือ่ ประโยชน์ ในการปราบปราม
Slide 37
กระทาความผิด (มาตรา 42 (11))
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
5. เพือ่ ตอบแทนการทาคุณประโยชน์ (ต่ อ)
5.7 เงินได้ จากการโอนกรรมสิ ทธิ์หรือสิ ทธิครอบครองในที่ดนิ
โดยไม่ มีค่าตอบแทนให้ แก่ วดั วัดบาดหลวงโรมันคาธอลิค หรือมัสยิด
ที่จัดตั้งขึน้ ตามกฎหมายว่ าด้ วยการนั้น ทั้งนี้ เฉพาะการโอนทีด่ นิ ส่ วนที่
ทาให้ วดั วัดบาทหลวงโรมันคาธอลิค หรือมัสยิดมีทดี่ นิ ไม่ เกิน 50 ไร่
(มาตรา 42 (17) กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (49))
Slide 38
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
7. เพือ่ มิให้ มกี ารเก็บภาษีซ้าซ้ อน
7.1 เงินส่ วนแบ่ งของกาไรจากห้ างหุ้นส่ วนสามัญหรือ
คณะบุคคลทีม่ ใิ ช่ นิตบิ ุคคล ซึ่งต้ องเสี ยภาษีตามบทบัญญัติใน
ส่ วนนี้ แต่ ไม่ รวมถึงเงินส่ วนแบ่ งของกาไรจากกองทุนรวม
(มาตรา 42 (14))
7.2 เงินได้ ทไี่ ด้ รับจากกองมรดก ซึ่งต้ องเสี ยภาษีตาม
Slide 39
ความในมาตรา 57 ทวิ (มาตรา 42 (16))
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
8. เนื่องจากเป็ นมรดก
8.1 เงินได้ ที่ได้ รับจากการรับมรดก (มาตรา 42 (10))
8.2 การขายสั งหาริมทรัพย์ อนั เป็ นมรดก หรือสั งหาริมทรัพย์ ที่
ได้ มาโดยมิได้ ม่ ุงในทางการค้ าหรือหากาไร แต่ ไม่ รวมถึงเรือกาปั่น เรือที่
มีระวางตั้งแต่ หกตันขึน้ ไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ ที่มีระวางตั้งแต่ ห้า
ตันขึน้ ไป หรือแพ (มาตรา 42 (9))
Slide 40
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
8. เนื่องจากเป็ นมรดก (ต่ อ)
8.3 เงินได้ จากการขายอสั งหาริมทรัพย์ อนั เป็ นมรดกหรือ
สั งหาริมทรัพย์ ที่ได้ รับจากการให้ โดยเสน่ หา ทีต่ ้งั อยู่นอกเขต
กรุงเทพมหานคร เทศบาล สุ ขาภิบาล หรือเมืองพัทยา หรือการปกครอง
ท้ องถิ่นอืน่ ที่มีกฎหมายจัดตั้งขึน้ โดยเฉพาะ ทั้งนี้ เฉพาะเงินได้ จากการ
ขายในส่ วนที่ไม่ เกิน 200,000 บาท ตลอดปี ภาษีน้ัน (มาตรา 42
(17) กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (17))
Slide 41
ข้ อหารือ “การยกเว้ นภาษี”
กรณี ตั้งอยู่ในเขตองค์ การบริหารส่ วนตาบล
องค์ การบริหารส่ วนตาบลมีฐานะเป็ นนิติบุคคลและเป็ นราชการบริหาร
ส่ วนท้ องถิ่น ตามมาตรา 43 แห่ งพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์ การบริหาร
ส่ วนตาบล พ.ศ. 2537 เขตพืน้ ทีร่ ับผิดชอบขององค์การบริหารส่ วนตาบลได้ แก่
เขตตาบลตามกฎหมายว่ าด้ วยลักษณะปกครองท้ องทีท่ อี่ ยู่นอกเขตหน่ วยการ
บริหารราชการส่ วนท้ องถิ่นอืน่ ได้ แก่ เทศบาล สุ ขาภิบาล เมืองพัทยา หรือ
ราชการส่ วนท้ องถิ่นอืน่ ทีม่ ีกฎหมายจัดตั้งขึน้ ตามมาตรา 4 แห่ งพระราชบัญญัติ
สภาตาบลและองค์ การบริหารส่ วนตาบล พ.ศ. 2537
ดังนั้น การขายอสั งหาริมทรัพย์ ทตี่ ้งั อยู่ในเขตองค์การบริหารส่ วน
ตาบล โดยอสั งหาริมทรัพย์ น้ันได้ รับมาทางมรดกหรือได้ รับจากการให้ โดย
เสน่ หา เฉพาะเงินได้ จากการขายในส่ วนที่ไม่ เกิน 200,000 บาทตลอดปี ภาษีน้ัน
ได้ รับยกเว้ นไม่ ต้องรวมคานวณเพือ่ เสี ยภาษีเงินได้ ตามมาตรา 42 (17)
Slide 42
(กค 0811/01818 ลว. 10 กุมภาพันธ์ 2541)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
9. เนื่องจากการอุปการะโดยหน้ าทีธ่ รรมจรรยา หรือในพิธีหรือตาม
โอกาสแห่ งขนบธรรมเนียมประเพณี
9.1 เงินได้ ทไี่ ด้ รับจากการอุปการะโดยหน้ าทีธ่ รรมจรรยา เงินได้
ที่ได้ รับจากการรับมรดก หรือจากการให้ โดยเสน่ หาเนื่องในพิธีหรือตาม
โอกาสแห่ งขนบธรรมเนียมประเพณี (มาตรา 42 (10))
Slide 43
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
9. เนื่องจากการอุปการะโดยหน้ าทีธ่ รรมจรรยา หรือในพิธีหรือตาม
โอกาสแห่ งขนบธรรมเนียมประเพณี (ต่ อ)
9.2 เงินได้ จากการโอนกรรมสิ ทธิ์หรือสิ ทธิครอบครองใน
อสั งหาริมทรัพย์ ให้ แก่ บุตรโดยชอบด้ วยกฎหมายของตนโดยไม่ มี
ค่ าตอบแทน บุตรโดยชอบด้ วยกฎหมายดังกล่ าวไม่ รวมถึงบุตรบุญ
ธรรมด้ วย (มาตรา 42 (17) ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2
(18))
Slide 44
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
10. เพือ่ ช่ วยเหลือผู้สูงอายุ
10.1 ดอกเบีย้ เงินฝากธนาคารในราชอาณาจักรเฉพาะดอกเบีย้ เงิน
ฝากประจาที่มรี ะยะเวลาการฝากตั้งแต่ หนึ่งปี ขึน้ ไป แต่ เมื่อรวมกับดอกเบีย้
เงินฝากประจาทุกประเภทรวมกันแล้ วต้ องมีจานวนทั้งสิ้นไม่ เกินสามหมื่น
บาทตลอดปี ภาษีน้ัน และผู้มเี งินได้ ได้ รับดอกเบีย้ เงินฝากดังกล่ าวเมื่อมีอายุไม่
ตา่ กว่ าห้ าสิ บห้ าปี บริบูรณ์ ทั้งนี้ สาหรับเงินได้ ที่ได้ รับตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม
พ.ศ.2548 เป็ นต้ นไป โดยเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงือ่ นไขที่อธิบดี
ประกาศกาหนด (มาตรา42 (17)ประกอบกับกฎกระทรวงฉบับที่ 126
Slide 45
(พ.ศ. 2509) ข้ อ 2 (69))
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
10. เพือ่ ช่ วยเหลือผู้สูงอายุ(ต่ อ)
10.2 เงินได้ ทผี่ ู้มีเงินได้ ซึ่งเป็ นผู้อยู่ในประเทศไทยและมีอายุไม่ ตา่
กว่ าหกสิ บห้ าปี บริบูรณ์ ในปี ภาษีได้ รับ เฉพาะส่ วนทีไ่ ม่ เกินหนึ่งแสนเก้ า
หมื่นบาทในปี ภาษีน้ัน ทั้งนี้ สาหรับเงินได้ ที่ได้ รับตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม
พ.ศ. 2548 เป็ นต้ นไป โดยเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขที่
อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกาหนด (มาตรา42 (17) ประกอบกับ
กฎกระทรวงฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ข้ อ 2 (72))
Slide 46
หักยกเว้ นก่ อนหักค่ าใช้ จ่าย : เพือ่ ผู้สูงอายุ
หลักเกณฑ์ : ให้ ยกเว้ นเงินได้ 190,000 บาท
 ผู้มีเงินได้ มีอายุต้ งั แต่ 65 ปี ขึน
้ ไป
 เป็ นผู้อยู่ในประเทศไทย
 กรณีผ้ ูมีเงินได้ และคู่สมรส ต่ างฝ่ ายต่ างมีเงินได้ และต่ างฝ่ ายเข้ าหลักเกณฑ์ ข้างต้ น
ให้ ต่างฝ่ ายต่ างได้ รับยกเว้ นเงินได้ คนละ 190,000 บาท
 จะใช้ สิทธิหักจากเงินได้ ประเภทใดก็ได้ แต่ สิทธิท้งั หมดรวมกันแล้ วต้ องไม่ เกิน
คนละ 190,000 บาท
 ต้ องเป็ นผู้มีเงินได้ ซึ่งมีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา แต่ ไม่ รวมถึง
ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ หรือคณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิติบุคคล และกองมรดกทีย่ งั ไม่ ได้ แบ่ ง
 กรณีสามีภริ ยามีเงินได้ ร่วมกัน โดยความเป็ นสามีภริ ยามิได้ มีอยู่ตลอดปี ภาษี
Slide 47
ให้ ถือว่ าเงินได้ ดังกล่าวเป็ นเงินได้ ของคณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิตบิ ุคคล
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
10. เพือ่ ช่ วยเหลือผู้สูงอายุ(ต่ อ)
10.3 บาเหน็จดารงชีพตามกฎหมายว่ าด้ วยบาเหน็จบานาญข้ าราชการ และ
กฎหมายว่ าด้ วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้ าราชการ ทั้งนี้ ตั้งแต่ 11 พ.ย.2546
10.4 เงินทีม่ ีลกั ษณะเดียวกับบาเหน็จดารงชีพตามกฎหมายว่ าด้ วย
บาเหน็จบานาญข้ าราชการและกฎหมายว่ าด้ วยกองทุนบาเหน็จบานาญ
ข้ าราชการ ซึ่งพนักงานการท่ าเรือแห่ งประเทศไทย พนักงานการรถไฟแห่ ง
ประเทศไทย และพนักงานธนาคารออมสิ นได้ รับ โดยมีอตั ราและวิธีการคานวณ
เช่ นเดียวกับบาเหน็จดารงชีพตามกฎหมายว่ าด้ วยบาเหน็จบานาญข้ าราชการและ
กฎหมายว่ าด้ วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้ าราชการ ทั้งนี้ ตั้งแต่ 10 มี.ค.2547 เป็ น
ต้ นไป (มาตรา42 (17)ประกอบกับ กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (64) (73))Slide 48
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
10. เพือ่ ช่ วยเหลือผู้สูงอายุ(ต่ อ)
10.5 เงินได้ ที่มีลกั ษณะเดียวกับบาเหน็จดารงชีพตามกฎหมายว่ าด้ วย
บาเหน็จบานาญข้ าราชการและกฎหมายว่ าด้ วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้ าราชการ
ซึ่งเจ้ าหน้ าทีส่ ภากาชาดไทยได้ รับโดยมีอตั ราและวิธีการคานวณเช่ นเดียวกับ
บาเหน็จดารงชีพตามกฎหมายว่ าด้ วยบาเหน็จบานาญข้ าราชการและกฎหมายว่ า
ด้ วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้ าราชการ
Slide 49
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
การยกเว้ นภาษี จัดแบ่ งตามวัตถุประสงค์ ในการยกเว้ นได้ 10 กรณี
10. เพือ่ ช่ วยเหลือผู้พกิ าร
เงินได้ ทผี่ ้ ูมีเงินได้ เป็ นคนพิการทีม่ ีบัตรประจาตัวคนพิการตาม
กฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ ซึ่งเป็ นผู้
อยู่ในประเทศไทยและมีอายุไม่ เกินหกสิ บห้ าปี บริบูรณ์ ในปี ภาษีได้ รับ
เฉพาะส่ วนที่ไม่ เกินหนึ่งแสนเก้ าหมื่นบาท สาหรับปี ภาษี
นั้น ทั้งนี้ สาหรับเงินได้ พงึ ประเมินที่ได้ รับ ตั้งแต่
วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็ นต้ นไป และให้ เป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทีอ่ ธิบดีกาหนด (มาตรา42 (17) ประกอบ
กับกฎกระทรวงฉบับที่ 126 (พ.ศ. 2509) ข้ อ 2 (81)) และประกาศอธิบดีฯ 197)
Slide 50
หักยกเว้ นก่ อนหักค่ าใช้ จ่าย : เพือ่ คนพิการ
หลักเกณฑ์ : ให้ ยกเว้ นเงินได้ 190,000 บาท
1. ผู้มีบัตรประจาตัวคนพิการ
2. เป็ นผู้อยู่ในประเทศไทย
3. ผู้มีเงินได้ มีอายุไม่ เกิน 65 ปี
 กรณีผ้ ูมีเงินได้ และคู่สมรส ต่ างฝ่ ายต่ างมีเงินได้ และต่ างฝ่ ายเข้ าหลักเกณฑ์ ข้างต้ น
ให้ ต่างฝ่ ายต่ างได้ รับยกเว้ นเงินได้ คนละ 190,000 บาท
 จะใช้ สิทธิหักจากเงินได้ ประเภทใดก็ได้ แต่ สิทธิท้งั หมดรวมกันแล้ วต้ องไม่ เกิน
คนละ 190,000 บาท
 ต้ องเป็ นผู้มีเงินได้ ซึ่งมีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา แต่ ไม่ รวมถึง
ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ หรือคณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิติบุคคล และกองมรดกทีย่ งั ไม่ ได้ แบ่ ง
 กรณีสามีภริ ยามีเงินได้ ร่วมกัน โดยความเป็ นสามีภริ ยามิได้ มีอยู่ตลอดปี ภาษี
Slide 51
ให้ ถือว่ าเงินได้ ดังกล่าวเป็ นเงินได้ ของคณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิตบิ ุคคล
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าใช้ จ่าย
การหักค่ าใช้ จ่าย มาตรา 42 ทวิ , ตรี , 43 , 44 , 45 , 46
เงินได้ สุทธิ = เงินได้ พงึ ประเมิน – ค่ าใช้ จ่าย - ค่ าลดหย่ อน
สาหรับผู้มเี งินได้ ทตี่ ้ องคานวณเสี ยภาษีตาม วิธีีท1ี่
จะต้ องหักค่ าใช้ จ่ายตามทีก่ ฎหมายกาหนดซึ่งมีวิธีี
หักค่ าใช้ จ่าย 2 วิธีี คือ
(1) หักค่ าใช้ จ่ายเป็ นการเหมา
(2) หักค่ าใช้ จ่ายตามความจาเป็ นทละสมควร.Slide 52
ฐานภาษี
หัก ยกเว้ น (ม.42)
เช่ น กบข.
หัก ยกเว้ น (ม.42)
เช่ น เบีย้ ประกันชีวิต
วิธีที่ 1 การคานวณหาเงินได้ สุทธิ ตามมาตรา 48 (1)
เงินได้ สุทธิ (= เงินได้พงึ ประเมิน – ค่าใช้ จ่าย – ค่าลดหย่อน) X อัตราภาษี (ก้าวหน้ า)
ม. 42 ทวิ
- คืออะไร ม. 39
42 ตรี
- กีป่ ระเภท ม. 40
43
- ยกเว้ นหรือไม่ ม. 42 44
45
46
ม. 47
บัญชีอตั ราภาษี
เงินได้ ข้ อ (1)
ท้ ายหมวด 3
วิธีที่ 2 การคานวณภาษี ตามมาตรา 48 (2)
เงินได้ พงึ ประเมิน (ประเภทที่ 2 – 8 รวมกันตั้งแต่ 60,000 บาทขึน้ ไป) X อัตราภาษี (0.5%)
Slide 53
1 ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
วิธีที่ 1
2
การคานวณภาษี
เงินได้ พงึ ประเมิน - ( 8 ประเภท) - 2 เงินได้ พงึ ประเมิน
หัก ยกเว้ น
(ไม่ รวมเงินได้ ประเภทที่1)
หัก ค่ าใช้ จ่าย
จ
านวนตั
้
ง
แต่
60,000
บาทขึ
น
้
ไป
หัก ค่ าลดหย่ อน และยกเว้ น
เงินได้ สุทธิ
3 คูณอัตราร้ อยละ 0.5
3 คูณอัตราภาษีก้าวหน้ า เปรียบเทียบ
4
วิธีที่ 2
ชาระภาษีตามวิธีที่มากกว่ า
ยกเว้ น เฉพาะ
มีภาษีทตี่ ้ อง
เสี ยไม่ เกิน
5,000 บาท
ยืน่ แบบ ภ.ง.ด. 90 , 91 ภายในเดือนมีนาคม ของปี ภาษีถัดไป
Slide 54
ค่ าใช้ จ่าย
เหมา
40(1) และ (2),
40(3)ค่ าลิขสิ ทธิ์,
40(5)ผิดสั ญญา,
40(8)ขายอสั ง
หาฯ ทางมรดก/
ให้ โดยเสน่ หา
จริง
40(8)
ที่ไม่
อยู่ใน
43
รายการ,
ขายอสั งหาฯ
ทีม่ ่ ุงค้ าฯ
เหมา/จริง
40(5) เฉพาะ
ให้ เช่ าทรัพย์ สิน
40(6), 40(7),
40(8)
43 รายการ,
ขายอสั งหาฯ
มิได้ ม่ ุงค้ าฯ
2. ฐานภาษี
ไม่ ให้ หัก
40(3) ที่มิใช่
ค่ าลิขสิ ทธิ์,
40(4)ทุกกรณี
มาตรา 42 ทวิ
42 ตรี
43
44
45
46
Slide 55
สรุป : การหักค่ าลดหย่ อนและยกเว้ นหลังหักค่าใช้ จ่าย
2. ฐานภาษี
รายการค่ าลดหย่อน / ยกเว้ น (ทั้งนี้ ต้ องตามหลักเกณฑ์ ของกฎหมาย) จานวนเงิน
(1) ส่ วนตัว
30,000 บาท
มาตรา
47
,
42
(2) คู่สมรส
30,000 บาท
(3) บุตรฯ (ไม่ เกิน 3 คน) คนละ
15,000 บาท
(4) ถ้ าบุตรตาม (3) ศึกษาอยู่ในไทย หักเพือ่ การศึกษาได้ อกี
2,000 บาท
(5) บิดามารดาของผู้มเี งินได้ และบิดามารดาของคู่สมรส คนละ
30,000 บาท
(6) อุปการะเลีย้ งดูคนพิการ หรือ คนทุพพลภาพ
คนละ
60,000 บาท
(7) เบีย้ ประกันสุ ขภาพบิดามารดาฯ เท่ าทีจ่ ่ ายจริง(ยกเว้ น) แต่ ไม่ เกิน
15,000 บาท
(8) เบีย้ ประกันชีวติ ฯ เท่ าที่จ่ายจริง (รวมยกเว้ น)
แต่ ไม่ เกิน 100,000 บาท
เบีย้ ประกันชีวติ แบบบานาญ เท่ าที่จ่ายจริง (ยกเว้ น) แต่ ไม่ เกิน 200,000 บาท
(9) เงินสะสมเข้ ากองทุนสารองเลีย้ งชีพฯ เท่ าทีจ่ ่ ายจริง แต่ ไม่ เกิน
10,000 บาท*
(10) ค่ าซื้อหน่ วยลงทุนในกองทุนรวม RMF (ยกเว้ น)เท่ าที่จ่ายจริง ไม่ เกิน 500,000 บาท
(11) ค่ าซื้อหน่ วยลงทุนในกองทุนรวม LTF (ยกเว้ น)เท่ าที่จ่ายจริง ไม่ เกิน 500,000 บาท
(12) ดอกเบีย้ เงินกู้ยมื ฯ เท่ าทีจ่ ่ ายจริง (รวมยกเว้ น) แต่ ไม่ เกิน
100,000 บาท
(13) อืน่ ๆ ( ค่ าซ่ อมแซมบ้ าน 100,000 & ค่ าซ่ อมรถยนต์ 30,000)
…….. บาท
(14) เงินสมทบเข้ ากองทุนประกันสั งคมฯ เท่ าทีจ่ ่ ายจริง แต่ ไม่ เกิน
9,000 บาท
(15) เงินสนับสนุนเพือ่ การศึกษา (ยกเว้ น)* 2 เท่ า
……..
Slide 56
(16) เงินบริจาคเพือ่ การกุศลสาธารณะฯ* 1 เท่ า
……..
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าลดหย่ อน/ยกเว้ น
การหักค่ าลดหย่ อนและยกเว้ นหลังหักค่ าใช้ จ่าย
1. ผู้มีเงินได้ (ส่ วนตัว) 30,000 บาท (ไม่ ว่าจะอยู่ในประเทศไทยถึง
180 วันหรือไม่ กต็ าม) (มาตรา 47(1)(ก))
2. สามีหรือภริยา(คู่สมรส) ของผู้มีเงินได้ 30,000 บาท (มาตรา
47(1)(ข))
3. บุตรชอบด้ วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรมของผู้มเี งินได้ รวมทั้ง
บุตรชอบด้ วยกฎหมายของคู่สมรสของผู้มเี งินได้ ด้วย คนละ 15,000
บาท (มาตรา 47(1)(ค))
4. ถ้ าบุตรตาม (3) ยังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาของทางราชการ
สถานศึกษาเอกชนหรือโรงเรียนราษฎร์ ให้ หักลดหย่ อนเพือ่ การศึกษา
ได้ อกี คนละ 2,000 บาท (แต่ ถ้าศึกษาในต่ างประเทศหัก เพือ่ การศึกษา
Slide 57
ไม่ ได้ ) (มาตรา 47(1)(ฉ))
้
้
ตามมาตรา 47 (1) (ก) แห่งประมวลรัษฎากร
คาชี้แจงกรมสรรพากร
19 ก.ย.
ตัวอยางที
่ ๑นที่ สามี
มเี งิ55นไดแต
่ ลงวั
้ ่
าหรับ ผู้มีเงินได้
ั ลดหยอนส
ภริยาไมมี
่
่ เงินได้ สามีหก
30,000 บาท
ตัวอยางที
่ ๒ สามีภริยามีเงิน
่
ไดทั
ก
้ ง้ สองฝ่าย สามีและภริยาตางฝ
่ ่ ายตางหั
่
าหรับผูมี
ลดหยอนส
้ เงินได้ 30,000 บาท
่
(2) สาหรับสามีหรือภริยาของผูมี
้ เงินได้
30,000 บาท ตามมาตรา 47 (1) (ข) แห่งประมวล
รัษฎากร
่ ๓ สามีมเี งินไดแต
ตัวอยางที
่
้ ่
ภริยาไมมี
ั ลดหยอนภริ
ยา 30,000
่ เงินได้ สามีหก
่
บาท
ตัวอยางที
่ ๔ สามีภริยามีเงิน
่
ก
ไดทั
่
่ ่ ายตางหั
้ ง้ สองฝ่าย สามีและภริยาตางฝ
ลดหยอนส
าหรับผูมี
่
้ เงินได้ 30,000 บาทแลว
้ จึงไมมี
่
Slide 58
สิ ทธิหก
ั ลดหยอนสามี
ห
รื
อ
ภริ
ย
า
่
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าลดหย่ อน
หักลดหย่ อนบุตร มีองค์ ประกอบ 3 ข้ อ
1. เป็ นบุตรชอบด้ วยกฎหมาย หรือบุตรบุญธีรรมของผู้มีเงินได้ ..รวมทั้งบุตร
ชอบด้ วยกฎหมายของคู่สมรสของผู้มเี งินได้ ด้วย.โดยมีเงื่อนไขจานวนบุตร ดังนี้
(ก) บุตรทีเ่ กิดก่อนหรือใน พ.ศ.2522 ฯ (บุตรเก่า) หักลดหย่ อนได้
โดยไม่ จากัดจานวนบุตร
(ข) บุตรทีเ่ กิด หลัง พ.ศ.2522 ฯ (บุตรใหม่ ) หากบุตรตาม (ก) มีไม่ ถึง
3 คน จึงจะมีสิทธีินาบุตรตาม (ข) มาหัก ทต่ เมื่อรวมบุตรตาม (ก) ทละ (ข) ทล้ว
ต้ องไม่ เกิน 3 คน
2. บุตรซึ่งมีอายุไม่ เกิน 25 ปี ทละศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยหรือชั้นอุดมศึกษา
หรือซึ่งเป็ นผู้เยาว์ หรือศาลสั่ งให้ เป็ นคนไร้ ความสามารถ หรือเสมือนไร้
ความสามารถ อันอยู่ในการอุปการะเลีย้ งดู
3. บุตรไม่ เป็ นผู้มีเงินได้ พงึ ประเมินในปี ภาษีทลี่ ่วงมาทล้วตั้งทต่ 15,000 บาท
Slide 59
โดยเงินได้ น้ันไม่ ได้ รับยกเว้ นตามมาตรา 42
บุตร ตามองค์ ประกอบข้ อ 1
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
ด.ช. จ. บุตรบุญธรรม
8 ขวบ ป.2
ด.ช. ง. บุตรบุญธรรม
8 ขวบ ป.2
นาย ก.
ผู้มีเงินได้
นาง ข.
ไม่ มีเงินได้
ด.ญ. ค.
6 ขวบ อนุบาล
Slide 60
จานวนบุตร ตามองค์ ประกอบข้ อ 1
ก่ อน พ.ศ. 2522 (บุตรเก่ า) พ.ศ. 2522 หลัง พ.ศ. 2522 (บุตรใหม่ )
นาย ก.
นาย ข.
นาย ค.
นาย ง.
นาย จ.
Slide 61
อายุของบุตร ตามองค์ ประกอบข้ อ 2
อายุ 25 ปี
ศึกษาอยู่ในระดับ อุดมศึกษา
บรรลุนิตภิ าวะ
ผู้เยาว์
อายุของบุตรปกติ
อายุของบุตรไม่ ปกติ (ศาลสั่ งฯ)
Slide 62
มาตรา 47 (1) (ค) (ฉ) แห่งประมวลรัษฎากร
(ก) กรณีสามี
หรืนอทีภริ
ยก.ย.
ามีเ55
งินไดฝ
้ ่ าย
ค
าชี
้
แ
จงกรมสรรพากร
ลงวั
่
19
เดียว ให้หักลดหยอนบุ
ตร 15,000 บาท และ
่
การศึ กษาบุตร 2,000 บาท
ตัวอยางที
่ ๕ สามีมเี งินไดแต
่
้ ่
ภริยาไมมี
น 1 คน สามีหก
ั
่ เงินได้ มีบุตรดวยกั
้
ลดหยอนบุ
ตร 15,000 บาท และการศึ กษาบุตรอีก
่
2,000 บาท
(ข) กรณีสามีภริยามีเงินไดทั
้ ง้ สอง
ฝ่าย และความเป็ นสามีภริยาไดมี
ภาษีให้
้ อยูตลอดปี
่
ตางฝ
กลดหยอนบุ
ตร 15,000 บาท และ
่ ่ ายตางหั
่
่
การศึ กษาบุตร 2,000 บาท แตถ
่ ้าความเป็ นสามีภริยา
มิไดมี
ภาษี ให้ตางฝ
กไดกึ
้ อยูตลอดปี
่
่ ่ ายตางหั
่
้ ง่ หนึ่ง
ตัวอยางที
่ ๖ สามีภริยามีเงิน
่
ไดทั
น 1 คน ถ้าความเป็ น
้ ง้ สองฝ่าย มีบุตรดวยกั
้
สามีภริยาไดมี
ภาษี สามีและภริยาหัก
้ อยูตลอดปี
่
ลดหยอนบุ
ตร 15,000 บาท และการศึ กษาบุตรอีก
่
2,000 บาท (ฝ่ายละ 17,000 บาท) แตถ
่ ้าความเป็ น
สามีภริยามิไดมี
ปี ภาษี สามีและภริยาหัSlide
ก 63
้ อยูตลอด
่
ไดฝ
้ ่ ายละ 8,500 บาท
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าลดหย่ อน/ยกเว้ น
5. ค่ าอุปการะเลีย้ งดูบิดามารดาของผู้มเี งินได้ รวมทั้ง
บิดามารดาของสามีหรือภริยาของผู้มเี งินได้ คนละ 30,000 บาท
(มาตรา 47(1)(ญ))
สาระสาคัญ (ประกาศอธิบดีฉบับที่ 136)
มีอายุ 60 ปี ขึน้ ไป
อยู่ในความอุปการะเลีย้ งดูของผู้มีเงินได้
 มีเงินได้ ไม่ เกิน 30,000 บาทขึน้ ไป
 หลายคนอุปการะเลีย้ งดู ให้ ลูกเพียงคนเดียวทีม่ ีหลักฐานรับรอง
(ล.ย.03)
 ใช้ บังคับ 1 มกราคม 2547 เป็ นต้ นไป
Slide 64
้
่
้
่
(8) สาหรับคาอุ
้ งดูบด
ิ า
่ ปการะเลีย
คาชี้แจงกรมสรรพากร
ลงวันแห
ที่ 19่งประมวล
ก.ย. 55
มารดาตามมาตรา
47 (1) (ญ)
รัษฎากร
(ก) กรณีสามีหรือภริยามีเงินได้
ฝ่ายเดียว ให้หักลดหยอนค
าอุ
้ งดูบด
ิ า
่
่ ปการะเลีย
มารดาของผู้มีเงินไดคนละ
๓0,000 บาท และ
้
บิดามารดาของสามีหรือภริยาของผูมี
้ เงินได้ คน
ละ ๓0,000 บาท
ตัวอยางที
่ 18 สามีมเี งินไดแต
่
้ ่
้ งดูบด
ิ ามารดา
ภริยาไมมี
่ เงินได้ สามีอุปการะเลีย
ของตน สามีหก
ั ลดหยอนบิ
ดาของตน 30,000
่
บาท และมารดาของตน 30,000 บาท (รวม
60,000 บาท) และถาสามี
ไดอุ
้ งดูบด
ิ า
้
้ ปการะเลีย
มารดาของภริยาดวย
ดา
สามีมส
ี ิ ทธิหก
ั ลดหยอนบิ
้
่
ของภริยา 30,000 บาท และมารดาของภริยา
Slide 65
30,000 บาท (รวม 120,000 บาท)
มารดาตามมาตรา 47 (1) (ญ) แห่งประมวล
ลงวั
น
ที
่
19
ก.ย.
55
รัษฎากร คาชี
(ต้แจงกรมสรรพากร
อ)
่
(ข) กรณีสามีภริยามีเงินไดทั
้ ง้
สองฝ่าย ให้ตางฝ
กลดหยอน
คา่
่ ่ ายตางหั
่
่
อุปการะเลีย
้ งดูบด
ิ ามารดาของตนไดคนละ
้
๓0,000 บาท
ตัวอยางที
่ 19 สามีภริยามีเงิน
่
ไดทั
ปการะ
้ ง้ สองฝ่าย สามีภริยาตางฝ
่ ่ ายตางอุ
่
เลีย
้ งดูบด
ิ ามารดาของตน สามีหก
ั ลดหยอน
่
บิดาของตน 30,000 บาท และมารดาของตน
30,000 บาท (รวม 60,000 บาท) ส่วนภริยาหัก
ลดหยอนบิ
ดาของตน 30,000 บาท และมารดา
่
ของตน 30,000 บาท (รวม 60,000 บาท)
Slide 66
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าลดหย่ อน/ยกเว้ น
6. การหักลดหย่ อนค่ าอุปการะเลีย้ งดูคนพิการ และคนทุพพลภาพ (มาตรา 47 (1) (ฎ)
และ ประกาศอธิบดีฯ ฉบับที่ 182)
6.1 จานวนค่ าลดหย่ อนสาหรับคนพิการ คนทุพพลภาพ คนละ 60,000 บาท
6.2 ผู้มีเงินได้ ต้องเป็ นผู้อุปการะเลีย้ งดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพ ดังนี้
(1) บิดามารดาของผู้มีเงินได้
(2) บิดามารดาของคู่สมรสของผู้มเี งินได้
(3) คู่สมรสของผู้มีเงินได้
(4) บุตรชอบด้ วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรมของผู้มเี งินได้
(5) บุตรชอบด้ วยกฎหมายของคู่สมรสของผู้มีเงินได้
(6) บุคคลอืน่ นอกจาก (1) – (5) ซึ่งเป็ นคนพิการ ทีผ่ ู้มีเงินได้ เป็ น
ผู้ดูแลตามกฎหมายฯ หรือซึ่งเป็ นคนทุพพลภาพ และอยู่ในความอุปการะเลีย้ งดู
Slide 67
ของผู้มีเงินได้ จานวน 1 คน
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าลดหย่ อน/ยกเว้ น
6.3 กรณีเป็ นผู้พกิ าร ผู้มีเงินได้ ต้องเป็ นผู้มีชื่อเป็ นผู้ดูแลคนพิการ
ในบัตรประจาตัวคนพิการ
กรณีเป็ นผู้ทุพพลภาพจะต้ องมีใบรับรองแพทย์ ฯ ได้
ตรวจสอบและแสดงความเห็นว่ า เป็ นผู้ทุพพลภาพมาแล้ ว ไม่ น้อยกว่ า
180 วัน และต้ องมีผู้รับรองว่ าผู้มีเงินได้ เป็ นผู้อุปการะเลีย้ งดูคน
ทุพพลภาพ (ล.ย.04-1)
6.4 ผู้พกิ ารหรือผู้ทุพพลภาพดังกล่ าว ต้ องมีเงินได้ ไม่ เกิน 30,000
บาท ในปี ภาษีทผี่ ้ ูมีเงินได้ ใช้ สิทธิลดหย่ อน แต่ ไม่ รวมถึงเงินได้ ที่ได้ รับ
ยกเว้ นภาษีตามมาตรา 42 แห่ งประมวลรัษฎากร
Slide 68
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าลดหย่ อน/ยกเว้ น
6.5 ผู้มีเงินได้ ทจี่ ะใช้ สิทธิหักลดหย่ อนคนพิการซึ่งเป็ นบุคคล
ตาม (๑) ผู้มีเงินได้ น้ันต้ องเป็ นผู้ดูแลตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริม
และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการโดยมีชื่อเป็ นผู้ดูแลคนพิการในบัตร
ประจาตัวคนพิการตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ คนพิการ กรณีมีการเปลีย่ นแปลงผู้ดูแลคนพิการในระหว่ างปี ภาษี
ให้ ผู้มีเงินได้ ซึ่งเป็ นผู้มีชื่อเป็ นผู้ดูแลคนพิการในบัตรประจาตัวคน
พิการตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คน
พิการคนสุ ดท้ ายในปี ภาษีน้ันเป็ นผู้มีสิทธิหักลดหย่ อน
Slide 69
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าลดหย่ อน/ยกเว้ น
กรณีผู้มเี งินได้ หลายคนมีชื่อเป็ นผู้ดูแลคนพิการในบัตร
ประจาตัวคนพิการตามกฎหมาย ว่ าด้ วยการส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ คนพิการ ให้ ผู้มเี งินได้ ทุกคนที่มชี ื่อเป็ นผู้ดูแลคนพิการในบัตร
ประจาตัวคนพิการ ตกลงกันเพือ่ ยินยอมให้ ผู้มเี งินได้ คนหนึ่งคนใดเป็ นผู้ใช้
สิ ทธิหักลดหย่ อนค่ าอุปการะเลีย้ งดู และทาความตกลงเป็ นหนังสื อโดยผู้มี
เงินได้ ทุกคนที่มชี ื่อเป็ นผู้ดูแลคนพิการในบัตรประจาตัวคนพิการดังกล่ าว
เป็ นผู้ลงนามในหนังสื อตกลงยินยอมนั้น เพือ่ ให้ ผู้มเี งินได้ ซึ่งเป็ นผู้ใช้ สิทธิ
หักลดหย่ อนคนพิการใช้ เป็ นหลักฐานในการหักลดหย่ อนค่ าอุปการะเลีย้ งดู
Slide 70
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าลดหย่ อน/ยกเว้ น
กรณีผู้มเี งินได้ มสี ามีหรือภริยาซึ่งมีบุตรชอบด้ วยกฎหมาย
ที่เป็ นคนพิการ โดยผู้มเี งินได้ มเี งินได้ ฝ่ายเดียว แต่ สามีหรือภริยาของผู้มี
เงินได้ เป็ นผู้ดูแลบุตรซึ่งเป็ นคนพิการและมีชื่อเป็ นผู้ดูแลในบัตรประจาตัว
คนพิการตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ
โดยไม่ มผี ู้มเี งินได้ อนื่ มีชื่อเป็ นผู้ดูแลในบัตรประจาตัวคนพิการอีก ให้ ผู้มี
เงินได้ ดงั กล่ าวมีสิทธิหักลดหย่ อนบุตรชอบด้ วยกฎหมายซึ่งเป็ นคนพิการ
นั้น
Slide 71
(ก) กรณีสามีหรือภริยามีเงินไดฝ
้ ่ าย
เดียว ให้หักลดหยอนค
าอุ
ปการะเลีย
้ งดูคนพิการหรือ
่
่
คาชี้แจงกรมสรรพากร
ลงวั
น
ที
่
19
ก.ย.
55
คนทุพพลภาพที
ผ
่ มี
ู้ เงินไดเป็
นผู
ดู
แ
ลได
คนละ
้
้
้
๖0,000 บาท และให้หักลดหยอนบุ
ตรชอบดวย
่
้
กฎหมายทีเ่ ป็ นคนพิการหรือคนทุพพลภาพทีส
่ ามีหรือ
ภริยาเป็ นผูดู
๖0,000 บาท
้ แลไดคนละ
้
ตัวอยางที
่ 20 สามีมเี งินไดแต
่
้ ภริ
่ ยาไมมี
่ เงินได้ สามี
อุปการะเลีย
้ งดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพ 1 คน
สามีหก
ั ลดหยอนได
่
้ 60,000 บาท
ตัวอยางที
่ 21 สามีมเี งินไดแต
่
้ ภริ
่ ยาไมมี
่ เงินได้ สามี
อุปการะเลีย
้ งดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพ 1 คน
และภริยาอุปการะเลีย
้ งดูบุตรชอบดวยกฎหมายที
เ่ ป็ น
้
คนพิการหรือทุพพลภาพ 1 คน สามีหก
ั ลดหยอนคน
่
พิการหรือคนทุพพลภาพทีต
่ นเป็ นผูดู
้ แลได้ 60,000
บาท และมีสิทธิหก
ั ลดหยอนบุ
ตรทีภ
่ ริยาเป็ นผู้ดูแลได้
่
Slide 72
60,000 บาท (รวม 120,000 บาท)
(9) สาหรับคาอุ
้ งดูคนพิการ
่ ปการะเลีย
หรือคนทุพคพลภาพตามมาตรา
(ฎ)55แห่ง
าชี้แจงกรมสรรพากร ลงวั47
นที่(1)
19 ก.ย.
ประมวลรัษฎากร (ตอ)
่
(ข) กรณีสามีภริยามีเงินไดทั
้ ง้ สอง
าอุ
กลดหยอนค
ฝ่าย ให้ตางฝ
้ ง
่ ปการะเลีย
่
่
่ ่ ายตางหั
ดูคนพิการหรือคนทุพพลภาพทีต
่ นเป็ นผูดู
้ แลไดคน
้
ละ ๖0,000 บาท
ตัวอยางที
่ 22 สามีภริยามีเงิน
่
ไดทั
้ งดูคนพิการหรือ
้ ง้ สองฝ่าย สามีอุปการะเลีย
คนทุพพลภาพ 1 คน ส่วนภริยาอุปการะเลีย
้ งดูคน
พิการหรือคนทุพพลภาพอีก 1 คน สามีหก
ั
ลดหยอนคนพิ
การหรือคนทุพพลภาพทีต
่ นเป็ น
่
ผู้ดูแลได้ 60,000 บาท ภริยาหักลดหยอน
คน
่
พิการหรือคนทุพพลภาพทีต
่ นเป็ นผูดู
้ แลได้ 60,000
Slide 73
บาท
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักค่ าลดหย่ อน/ยกเว้ น
7. ยกเว้ น : เบีย้ ประกันสุ ขภาพบิดามารดา
เบีย้ ประกันภัยที่จ่ายให้ แก่ บริษทั ประกันชีวติ หรือบริษทั
ประกันวินาศภัยที่ประกอบกิจการในราชอาณาจักรตามจานวนที่จ่าย
จริงแต่ ไม่ เกิน 15,000 บาท สาหรับการประกันสุ ขภาพบิดามารดาของผู้
มีเงินได้ รวมทั้งบิดามารดาของสามีหรือภริยาของผู้มี เงินได้ ซึ่งมีรายได้
ไม่ เพียงพอแก่ การยังชีพ (มาตรา 42(17) และ กฎกระทรวง ฉบับที่ 263)
สาระสาคัญ (ประกาศอธิบดีฉบับที่ 162)
บิดามารดามีเงินได้ ไม่ เกิน 30,000 บาทขึน้ ไป
ผู้มีเงินได้ ต้องเป็ นบุตรชอบด้ วยกฎหมาย
 บิดามารดาต้ องมีเลขประจาตัวประชาชน
ใช้ บังคับ 1 มกราคม 2549 เป็ นต้ นไป
Slide 74
8. การหักค่ าลดหย่ อน เบีย้ ประกันชีวติ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
8. การหักลดหย่ อนเบีย้ ประกันชีวติ (มาตรา 47(1)(ง))
- ผู้มเี งินได้ หักได้ เท่ าทีจ่ ่ ายจริงแต่ ไม่ เกิน 10,000 บาท
- ต้ องเป็ นกรมธรรม์ ทมี่ กี าหนดเวลาตั้งแต่ 10 ปี ขึน้ ไป
- บริษทั ผู้รับประกันชีวติ ต้ องประกอบกิจการใน
ราชอาณาจักร
ในกรณีคู่สมรสของผู้มเี งินได้ มกี ารประกันชีวติ และ
ความเป็ นสามีภริยาได้ มอี ยู่ตลอดปี ภาษี ให้ หักลดหย่ อนได้
ด้ วยสาหรับเบีย้ ประกันทีจ่ ่ าย สาหรับการประกันชีวติ ของ
คู่สมรสนั้นตามหลักเกณฑ์ เดียวกัน.
Slide 75
8. การหักยกเว้ นฯ เบีย้ ประกันชีวติ (ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
เงินได้ เท่ าทีผ่ ู้มีเงินได้ จ่ายเป็ นเบีย้ ประกันภัยในปี ภาษีสาหรับการประกัน
ชี วิตของผู้มีเงินได้ ตามจานวนที่จ่ายจริ งเฉพาะส่ วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ ไม่
เกิน 90,000 บาท เฉพาะในกรณีที่กรมธรรม์ ประกันชี วิตมีกาหนดเวลาตั้ งแต่ สิบ
ปี ขึน้ ไป และการประกันชี วิตนั้นได้ เอาประกัน ไว้ กับผู้รับประกันภัยที่ประกอบ
กิจการประกันชี วิตในราชอาณาจักร ทั้งนี้ สาหรั บเบีย้ ประกันภั ยที่ได้ จ่ายตั้งแต่
วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551 เป็ นต้ นไป และให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการ
ที่อธิบดีกาหนด(ประกาศอธิบดีฯ (ฉบับที่ 172)) เช่ น
- กรมธรรม์ ประกันชีวติ ทีม่ ีความคุ้มครองอืน่ เพิม่ เติม ค่ าเบีย้ ประกันภัยที่
จ่ ายสาหรับความคุ้มครองอืน่ เพิม่ เติมดังกล่าว ไม่ สามารถยกเว้ นภาษีสาหรับเบีย้
ประกันภัยดังกล่าวได้
- กรมธรรม์ ประกันชีวติ ทีม่ ีการรับเงินหรือผลประโยชน์ ตอบแทนคืนใน
ระหว่ างอายุกรมธรรม์ กรณีได้ รับเงินหรือผลประโยชน์ ตอบแทนคืนทุกปี
จะต้ องไม่ เกินร้ อยละ 20 ของเบีย้ ประกันชีวติ รายปี ฯ
Slide 76
(มาตรา 42(17) , กฎกระทรวง ฉบับที่ 266 พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 126 ข้ อ 61))
หลักฐานจากผู้รับประกันภัยทีพ
่ ส
ิ จ
ู นได
้ า่ มี
์ ว
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การจ
ายเบี
ย
้
ประกั
น
ชี
ว
ต
ิ
่
8. การหักยกเว้ นฯ เบีย้ ประกันชีวติ (ต่ อ)
- กรณีกรมธรรมประกั
นชีวต
ิ ทีม
่ ค
ี วาม
์
คุ้มครองอืน
่ เพิม
่ เติมหลักฐานตามวรรคหนึ่ง
ตองระบุ
จานวนเบีย
้ ประกันชีวต
ิ และเบีย
้
้
ประกันภัยทีจ
่ ายส
าหรับความคุมครอง
อืน
่
่
้
เพิม
่ เติมแยกออกจากกัน
- กรณีกรมธรรมประกั
นชีวต
ิ ทีม
่ ก
ี ารรับ
์
เงินหรือผลประโยชนตอบแทนคื
นในระหวาง
่
์
อายุกรมธรรม ์ หลักฐานตามวรรคหนึ่งตอง
้
ระบุเงือ
่ นไขตามขอ
้ 2(2) ดวย
้
(หลักฐานกรณีนี้ ให้ใช้บังคับสาหรับ
่ ทาตัง้ แตวั
นชีวต
ิ ทีไ่ ดเริ
กรมธรรมประกั
่ นที่ 1
้ ม
์
มกราคม พ.ศ. 2552 เป็ นตนไป)
้
Slide 77
การหักยกเว้ นฯ : เบีย้ ประกันชีวติ แบบบานาญ
เป็ นการสนับสนุนการออมรูปแบบ ประกันชีวติ แบบบานาญ ให้ ประชาชนได้
ออมไว้ ใช้ จ่ายภายหลังเกษียณอายุการทางาน โดยเพิม่ เติมค่ าลดหย่ อน เบีย้ ประกัน
ชีวติ ทีม่ ีอยู่แล้วตามปกติ อีก 200,000 บาท เฉพาะประกันชีวติ แบบบานาญ ซึ่งวงเงิน
ที่เพิม่ ขึน้ นี้ ต้ องไม่ เกินร้ อยละ 15 ของเงินได้ และเมื่อรวมกับกองทุนสารองเลีย้ งชีพ
กองทุนบาเหน็จบานาญราชการ (กบข.) หรือกองทุนสงเคราะห์ ตามกฎหมายว่ าด้ วย
โรงเรียนเอกชน และกองทุนเพือ่ การเลีย้ งชีพ ต้ องไม่ เกิน 500,000 บาท ทั้งนี้ มี
หลักเกณฑ์ ตามคุณลักษณะพืน้ ฐานของประกันชีวติ แบบบานาญ ดังนี้
1. เป็ นกรมธรรม์ ประกันชีวติ แบบบานาญทีม่ ีกาหนดเวลาตั้งแต่ 10 ปี ขึน้ ไป
และผ่ านการอนุมัติ และรับรองจากสานักงาน คปภ. ว่ าเป็ นกรมธรรม์ ประกันชีวติ
Slide 78
แบบบานาญที่ใช้ สิทธิหักลดหย่ อนตามกฎหมายได้
การหักยกเว้ นฯ : เบีย้ ประกันชีวติ แบบบานาญ
2. เป็ นกรมธรรม์ ประกันชีวติ แบบบานาญ ที่ทาสั ญญาไว้ กบั บริ ษัทที่
ประกอบกิจการในไทย
3. ต้ องไม่ มีการจ่ ายเงินหรือผลประโยชน์ ใดๆ ในระหว่ างปี หรือช่ วงทีจ่ ่ าย
เบีย้ ประกัน หรือก่อน กรมธรรม์ จะหมดอายุสัญญา
4. ต้ องเป็ นแบบทีเ่ มื่อผู้ทาประกันอายุครบ 55 ปี หรือ 60 ปี จะได้ รับเงินคืน
(บานาญ) เป็ นรายงวดเท่ าๆ กันอย่ างสม่าเสมอจนถึงอายุ 85 ปี หรือมากกว่ า และ
ได้ รับเงินบานาญคืนเมื่อได้ ชาระเบีย้ ประกัน ครบตามสั ญญาแล้ว
***มีผลบังคับใช้ สาหรับเงินได้ พงึ ประเมินประจาปี ภาษี 2553 ***
Slide 79
47 (1) (ง) แห่งประมวลรัษฎากร
(ก) กรณีสามีหรือภริยามีเงินไดฝ
าย
้
่
้แจงกรมสรรพากร
ลงวันนชีทีว่ 19
ก.ย. 55านวนที่
เดียว ใหค้หัาชี
กลดหย
อนเบี
ย
้
ประกั
ต
ิ
ตามจ
่
งแตไม
จายจริ
ี่ วามเป็ น
่ น 10,000 บาท ในกรณีทค
่ เกิ
่
สามีภริยาไดมี
ภาษี ให้ผูมี
ั
้ อยูตลอดปี
่
้ เงินไดมี
้ สิทธิหก
เบีย
้ ประกันชีวต
ิ ของสามีหรือภริยาไดตามจ
านวนที่
้
จายจริ
งแตไม
่
่ เกิ
่ น 10,000 บาท
่ ๗ สามีมเี งินได้
ตัวอยางที
่
แตภริ
ย
้ ประกันชีวต
ิ 10,000
่ ยาไมมี
่ เงินได้ สามีจายเบี
่
บาท สามีหก
ั ลดหยอน
่ 1๐,000 บาท
ตัวอยางที
่ ๘ สามีมเี งินได้
่
ย
้ ประกันชีวต
ิ 10,000
แตภริ
่
่ เงินได้ สามีจายเบี
่ ยาไมมี
บาท ภริยาจายเบี
ย
้ ประกันชีวต
ิ 10,000 บาท ถ้า
่
ความเป็ นสามีภริยาไดมี
ภาษี สามีหก
ั
้ อยูตลอดปี
่
ลดหยอนส
่
่ วนของตน 1๐,000 บาท และส่วนของ
ภริยา 1๐,000 บาท (รวม ๒๐,000 บาท) แตถ
่ ้าความ
เป็ นสามีภริยามิไดมี
ภาษี สามีหก
ั ลดหยSlide
อน
้ อยูตลอดปี
่
่ 80
ไดเฉพาะสวนของตน 1๐,000 บาท
ชีวต
ิ 10,000 บาท ภริยาจายเบี
ย
้ ประกันชีวต
ิ
่
10,000 บาท
ถ้าความเป็ นสามี
มี
ยูตลอดปี
คาชี้แจงกรมสรรพากร
ลงวัภนริทีย่ าได
19 ก.ย.
้ อ55
่
ภาษี สามีหก
ั ลดหยอนส
่
่ วนของตน 1๐,000 บาท
และส่วนของภริยา 1๐,000 บาท (รวม ๒๐,000
บาท) แตถ
ภาษี
่ ้าความเป็ นสามีภริยามิไดมี
้ อยูตลอดปี
่
สามีหก
ั ลดหยอนได
เฉพาะส
่
้
่ วนของตน 1๐,000 บาท
(ข) กรณีสามีภริยามีเงินไดทั
้ ง้ สองฝ่าย ให้
ตางฝ
กลดหยอน
เบีย
้ ประกันชีวต
ิ ส่วนของ
่ ่ ายตางหั
่
่
ตนตามจานวนทีจ
่ ายจริ
งแตไม
่
่ เกิ
่ น 10,000 บาท
ตัวอยางที
่
่
๙ สามีภริยามีเงินไดทั
ย
้
้ ง้ สองฝ่าย สามีจายเบี
่
ประกันชีวต
ิ 10,000 บาท ภริยาจายเบี
ย
้ ประกันชีวต
ิ
่
10,000 บาท สามีหก
ั ลดหยอนส
่
่ วนของตน 1๐,000
บาท ภริยาหักลดหยอนส
่
่ วนของตน 1๐,000 บาทSlide 81
9. การหักค่ าลดหย่ อน เงินสะสมฯ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
9. การหักลดหย่ อนเงินสะสมทีจ่ ่ ายเข้ า
กองทุนสารองเลีย้ งชีพ (มาตรา 47(1)(ช))
- หักลดหย่ อนได้ เท่ าทีจ่ ่ ายจริงแต่ ไม่ เกิน 10,000 บาท
- กรณีทมี่ กี ารจ่ ายเข้ ากองทุนฯ เกิน 10,000 บาท
ส่ วนทีเ่ กิน 10,000 บาท ซึ่งมีจานวนไม่ เกิน
490,000 บาท จะได้ รับยกเว้ นภาษี โดยให้ หักออก
..จากเงินได้ ก่อนหักค่ าใช้ จ่าย (เริ่มตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม
พ.ศ. 2551 เป็ นต้ นไป).
(มาตรา 42(17) , กฎกระทรวง ฉบับที่ 266 พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 126 ข้ อ 35))Slide 82
(5) สาหรับเงินสะสมทีจ
่ ายเข
า้
่
กองทุนสารองเลี
ย
้ งชีพตามมาตรา
คาชี้แจงกรมสรรพากร
ลงวันที่ 1947
ก.ย.(1)
55 (ช)
แห่งประมวลรัษฎากร
ตัวอยางที
่ ๑๐ สามีมเี งินได้
่
แตภริ
นสะสมเขา้
่ ยาไมมี
่ เงินได้ สามีจายเงิ
่
กองทุนสารองเลีย
้ งชีพ 10,000 บาท สามีหก
ั
ได้ 1๐,000 บาท
ตัวอยางที
่ ๑๑ สามีภริยามี
่
นสะสมเขา้
เงินไดทั
่
้ ง้ สองฝ่าย สามีจายเงิ
กองทุนสารองเลีย
้ งชีพ 10,000 บาท ภริยา
จายเงิ
นสะสมเขากองทุ
นสารองเลีย
้ งชีพ 10,000
่
้
บาท สามีหก
ั ลดหยอนส
่
่ วนของตน 1๐,000
บาท ภริยาหักลดหยอนส
่
่ วนของตน 1๐,000
Slide 83
บาท
10. ยกเว้ น : ค่ าซื้อหน่ วยลงทุนในกองทุน RMF
กองทุนรวมเพือ่ การเลีย้ งชีพ (Retirement Mutual Fund : RMF )
 15 % ของเงินได้ ทุกประเภท และเมื่อรวมกับเงินสะสมที่จ่ายเข้ า
กองทุนสารองเลีย้ งชีพ หรือ กบข. หรือกองทุนสงเคราะห์ ฯ แล้ ว ไม่ เกิน
500,000 บาท
ซื้อไม่ น้อยกว่ าปี ละ 1 ครั้ง และต้ องไม่ ระงับการซื้อเกินกว่ า 1 ปี
ติดต่ อกัน
 ขั้นต่า ในอัตรา 3 % ของเงินได้ หรือ 5,000 บาท
 ถือหน่ วยลงทุนไม่ น้อยกว่ า 5 ปี และไถ่ ถอนเมื่ออายุไม่ ต่ากว่ า 55 ปี
(มาตรา 42(17) , กฎกระทรวง ฉบับที่ 266 พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 126 ข้ อ 55)
และประกาศอธิบดี ฉบับที่ 90)
Slide 84
11. ยกเว้ น : ค่ าซื้อหน่ วยลงทุนในกองทุน LTF
กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund : LTF )
15 % ของเงินได้ ทุกประเภท แต่ ไม่ เกิน 500,000 บาท
 ต้ องถือหน่ วยลงทุนไว้ ไม่ น้อยกว่ า 5 ปี ปฏิทนิ (เว้ นแต่ กรณี
ทุพพลภาพหรือตายจะถือไว้ ส้ั นกว่ าระยะเวลาดังกล่ าวก็ได้ ) หากมีการ
ไถ่ ถอนหน่ วยลงทุนก่ อนกาหนดเวลา 5 ปี ผู้ลงทุนจะไม่ ได้ รับสิ ทธิ
ประโยชน์ ทางภาษีจากมาตรการดังกล่ าว
 ผู้ใช้ สิทธิต้องเป็ นบุคคลธรรมดาเท่ านั้น .
(มาตรา 42(17) , กฎกระทรวง ฉบับที่ 266 พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 126 ข้ อ 66)
และประกาศอธิบดี ฉบับที่ 133)
Slide 85
2.
ฐานภาษี
(ต่
อ
)
12. การหักค่ าลดหย่ อน/ยกเว้ น ดอกเบีย้ เงินกู้ยมื ฯ
12. การหักลดหย่ อนดอกเบีย้ เงินกู้เพือ่ ทีอ่ ยู่อาศัย (มาตรา 47(1)(ซ))
- ดอกเบีย้ เงินกู้ยมื ทีผ่ ้ ูมีเงินได้ จ่ายให้ แก่ ธนาคาร สถาบันการเงิน
อืน่ บริษทั ประกันชีวติ สหกรณ์ นายจ้ างซึ่งมีระเบียบเกีย่ วกับ
เงินกองทุนทีจ่ ดั สรรไว้ เพือ่ สวัสดิการแก่ ลูกจ้ าง หรือบรรษัทตลาด
รองสิ นเชื่อทีอ่ ยู่อาศัย ซึ่งผู้ให้ ก้ ดู งั กล่ าวต้ องประกอบกิจการใน
ราชอาณาจักร
- สาหรับการกู้ยมื เงินเพือ่ ซื้อ เช่ าซื้ออาคาร อาคารพร้ อมทีด่ นิ
หรือห้ องชุดในอาคารชุด หรือสร้ างอาคารอยู่อาศัยบนทีด่ นิ ของ
ตนเองหรือบนทีด่ นิ ที่ตนเองมีสิทธิครอบครอง
Slide 86
12. การหักค่ าลดหย่ อน /ยกเว้ น ดอกเบีย้ เงินกู้ยมื ฯ(ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
- โดยจานองอาคารหรือห้ องชุดในอาคารชุ ด หรืออาคารพร้ อมที่ดนิ เป็ น
ประกันการกู้ยมื เงินนั้น โดยมีระยะเวลาการจานองตามระยะเวลาการกู้ยมื
- หักลดหย่ อนได้ เท่ าที่จ่ายจริง แต่ ไม่ เกิน 10,000 บาท
มีการยกเว้ นเงินได้ เท่ าที่ผู้มเี งินได้ จ่ายเป็ นดอกเบีย้ เงินกู้ยมื เฉพาะส่ วนที่
เกิน 10,000 บาท แต่ ไม่ เกิน 90,000 บาท ทั้งนี้ สาหรับเบีย้ ประกันชีวติ ที่ได้
จ่ ายตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 เป็ นต้ นไป จึงมีผลเสมือนกับให้ หัก
ลดหย่ อนสาหรับผู้มเี งินได้ เท่ าที่จ่ายไปจริ งแต่ ไม่ เกิน 100,000 บาท
(มาตรา 42(17) , กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ข้ อ 53)
Slide 87
(ก) กรณีสามีหรือภริยามีเงินไดฝ
้ ่ าย
าชี้แหจงกรมสรรพากร
่ 19หั
55 อน
เดียว ใหค้สามี
รือภริยาฝ่ายทีลงวั
ม
่ เี งินนทีได
กลดหย
้ ก.ย.
่
ดอกเบีย
้ เงินกูยื
่ วนของตน
้
้ มไดเฉพาะส
ตัวอยางที
่ ๑2 สามีมเี งินไดแต
่
้ ่
ภริยาไมมี
ู มและจายดอกเบี
ย
้ เงินกูยื
่ เงินได้ สามีก้ยื
่
้ ม
10,000 บาท ภริยากูยื
ย
้ เงินกู้ยืม
้ มและจายดอกเบี
่
ย
้ เงินกู้ยืมได้
10,000 บาท สามีหก
ั ลดหยอนดอกเบี
่
เฉพาะส่วนของตน 10,000 บาท
(ข) กรณีสามีหรือภริยามีเงินไดฝ
้ ่ าย
เดียวและรวมกั
นกูยื
่
้ ม ให้ผูมี
้ เงินไดหั
้ กลดหยอน
่
่ ายจริ
ดอกเบีย
้ เงินกูยื
งแตไม
่
้ มจานวนตามทีจ
้ มไดเต็
่ ่
เกิน 10,000 บาท
ตัวอยางที
่ ๑3 สามีมเี งินไดแต
่
้ ่
ภริยาไมมี
นกูยื
่ เงินได้ ถ้าสามีภริยารวมกั
่
้ มและจาย
่
ดอกเบีย
้ เงินกูยื
ี ิ ทธิ
้ มเป็ นจานวน 10,000 บาท สามีมส
หักลดหยอนดอกเบี
ย
้ เงินกูยื
่
้ มไดทั
้ ง้ จานวน 10,000
Slide 88
บาท
่
้
่
้
จายจริ
งแตไม
น
่
่ เกิ
่ น 10,000 บาท ทัง้ นี้ ไมว
่ าความเป็
่
คาชี้แมี้ จงกรมสรรพากร
่ 19ก็่ ก.ย.
สามีภริยาจะได
อยูตลอดปี
ภาษีลงวั
หรืนอทีไม
ตาม55
่
่ ๑4 สามีภริยามีเงินไดทั
ตัวอยางที
่
้ ง้
สองฝ่าย และมีสิทธิหก
ั ลดหยอนดอกเบี
ย
้ เงินกูยื
่
้ มอยู่
กอนแล
วฝ
น สามี
่
้ ่ ายละ 10,000 บาท ตอมาสมรสกั
่
และภริยายังคงหักลดหยอนได
ฝ
่
้ ่ ายละ 10,000 บาท
นสามีภริยาจะไดมี
ทัง้ นี้ ไมว
ภาษี
่
้ อยูตลอดปี
่
่ าความเป็
หรือไมก็
่ ตาม
(ง) กรณีสามีภริยามีเงินไดทั
้ ง้ สองฝ่ายและ
รวมกั
นกู้ยืม ให้ตางฝ
กลดหยอนดอกเบี
ย
้ เงิน
่
่ ่ ายตางหั
่
่
งแตรวมกั
่ ายจริ
กู้ยืมไดกึ
นไมเกิ
่
่
้ ง่ หนึ่งของจานวนทีจ
่ น
10,000 บาท ทัง้ นี้ ไมว
นสามีภริยาจะไดมี
่ าความเป็
่
้
อยูตลอดปี
ภาษีหรือไมก็
่
่ ตาม
ตัวอยางที
่ ๑5 สามีภริยามีเงินไดทั
่
้ ง้
นกูยื
สองฝ่าย ถ้าสามีภริยารวมกั
ย
้
่
้ ายดอกเบี
้ มและไดจ
่
เงินกู้ยืมเป็ นจานวน 10,000 บาท สามีหก
ั ลดหยอนได
่
้
Slide 89
5,000 บาท ภริยาหักลดหยอนได
5,000
บาท
่
้
13. ยกเว้ น : อืน่ ๆ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
เมือ่ วันที่ 4 มกราคม 2555 คณะรัฐมนตรีได้ มีมติ
เห็นชอบมาตรการภาษีเพือ่ ช่ วยเหลือและฟื้ นฟูผ้ ูได้ รับ
ผลกระทบจากอุทกภัย กรณีการหักลดหย่ อนค่ าซ่ อมบ้ านและ
ค่ าซ่ อมรถยนต์ และต่ อมาได้ ออกกฎกระทรวง ฉบับที่ 288
(พ.ศ. 2555) ประกอบกับ ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร
เกีย่ วกับภาษีเงินได้ ฉบับที่ 219 และ 220
Slide 90
13. ยกเว้ น : อืน่ ๆ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
กรณีค่าซ่ อมบ้ าน
๑. ยกเว้ นเงินได้ เท่ าทีไ่ ด้ จ่ายเป็ นค่ าซ่ อมแซมหรือค่ าวัสดุ
อุปกรณ์ ในการซ่ อมแซมอสั งหาริมทรัพย์ ทไี่ ด้ รับความ
เสี ยหายจากเหตุอุทกภัยทีเ่ ป็ นอาคาร หรือทีอ่ ยู่ในเขตอาคาร
หรือห้ องชุดในอาคารชุด หรือทรัพย์ สินทีม่ กี ารประกอบ
ติดตั้งติดกับตัวอาคารหรือในเขตอาคารหรือห้ องชุดใน
อาคารชุด แต่ รวมกันทั้งหมดแล้ วไม่ เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
Slide 91
13. ยกเว้ น : อืน่ ๆ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
๒. การยกเว้ นภาษีตาม ๑. ให้ คานวณหักเสมือนเป็ นค่ าลดหย่ อน โดยกรอกใน
แบบ ภ.ง.ด. ๙๐ และ ภ.ง.ด. ๙๑ ในส่ วนของ “รายการลดหย่ อนและยกเว้ นหลัง
หักค่ าใช้ จ่าย” ใน “ข้ อ ๑๒. อืน่ ๆ”
๓. ต้ องเป็ นการซ่ อมแซมทรัพย์ สินทีไ่ ด้ รับความเสี ยหายจากเหตุอุทกภัย
ระหว่ างวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
และอยู่ในพืน้ ทีท่ ที่ างราชการประกาศให้ เป็ นพืน้ ทีท่ เี่ กิดอุทกภัย
๔. กรณีผู้มีเงินได้ จ่ายค่ าซ่ อมแซมหรือค่าวัสดุอปุ กรณ์ ในการซ่ อมแซม
ทรัพย์ สินทีไ่ ด้ รับความเสี ยหายจากเหตุอุทกภัยจานวนหนึ่งแห่ ง หรือเกินกว่ า
หนึ่งแห่ ง ให้ ได้ รับสิ ทธิหักลดหย่ อนภาษีสาหรับค่ าซ่ อมแซมทรัพย์ สินนั้น
Slide 92
ทุกแห่ งตามจานวนทีจ่ ่ ายจริงแต่ รวมกันแล้วไม่ เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
13. ยกเว้ น : อืน่ ๆ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
กรณีค่าซ่ อมรถ
๑. ยกเว้ นเงินได้ เท่ าทีไ่ ด้ จ่ายเป็ นค่ าซ่ อมแซมหรือค่ าวัสดุอุปกรณ์ ใน
การซ่ อมแซมรถที่ได้ รับความเสี ยหายจากนา้ ท่ วม แต่ รวมกันทั้ง
หมดแล้ ว ไม่ เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท ตัวอย่ างเช่ น ค่ าซ่ อมแซมสี รถยนต์
เบาะรถยนต์ ล้ อรถยนต์ ระบบแอร์ ในรถยนต์ หรืออุปกรณ์ ทตี่ ิดกับตัว
รถยนต์ ซึ่งเสี ยหายจากการถูกนา้ ท่ วม
๒. การยกเว้ นภาษีตาม ๑. ให้ คานวณหักเสมือนเป็ นค่ าลดหย่ อน
โดยกรอกในแบบ ภ.ง.ด. ๙๐ และ ภ.ง.ด. ๙๑ ในส่ วนของ “รายการ
ลดหย่ อนและยกเว้ นหลังหักค่ าใช้ จ่าย” ใน “ข้ อ ๑๒. อืน่ ๆ”
Slide 93
13. ยกเว้ น : อืน่ ๆ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
๓. ต้ องเป็ นการซ่ อมแซมรถ ทีไ่ ด้ รับความเสี ยหาย จากเหตุอทุ กภัย
ในระหว่ างวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๕๕๕ และรถได้ รับความเสี ยหาย จากเหตุอุทกภัยอยู่ในพืน้ ที่ที่
ทางราชการประกาศให้ เป็ นพืน้ ทีท่ เี่ กิดอุทกภัย
๔. กรณีผู้มีเงินได้ จ่ายค่ าซ่ อมแซมหรือค่ าวัสดุอุปกรณ์ ในการ
ซ่ อมแซมรถทีไ่ ด้ รับความเสี ยหายจากเหตุอุทกภัย จานวนหนึ่งคันหรือ
เกินกว่ าหนึ่งคัน ให้ ได้ รับสิ ทธิลดหย่ อนภาษีสาหรับค่ าซ่ อมแซมรถทุก
คันตามจานวนที่จ่ายจริงแต่ รวมกันแล้ วไม่ เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท
Slide 94
13. ยกเว้ น : อืน่ ๆ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
๕. ผู้มีเงินได้ ต้องใช้ สิทธิลดหย่ อนภาษีในปี ทีไ่ ด้ จ่ายค่ าซ่ อมแซม
หรือค่ าวัสดุอุปกรณ์ ในการซ่ อมแซมรถ โดยให้ ใช้ สิทธิได้ ในปี ภาษี
๒๕๕๔ และปี ภาษี ๒๕๕๕ และหากผู้มีเงินได้ จ่ายเงินค่ าซ่ อมแซม
หรือค่ าวัสดุอุปกรณ์ ในการซ่ อมแซมรถดังกล่ าวทั้งสองปี ภาษี ให้
ได้ รับลดหย่ อนภาษีตามที่ได้ จ่ายจริงในแต่ ละปี ภาษี แต่ รวมกัน
สองปี ภาษีแล้ ว ต้ องไม่ เกิน ๓๐,๐๐๐ บาท
Slide 95
13. ยกเว้ น : อืน่ ๆ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
ตัวอย่ างการกรอกแบบกรณีจ่ายทั้ง 2 รายการ
• นายสมชาย อาศัยอยู่ในท้ องที่ ทีท่ างราชการประกาศให้ เป็ น
พืน้ ที่ ทีป่ ระสบอุทกภัยโดยในเดือนธันวาคม 2554 ได้ จ่ายเงินค่ า
ซ่ อมแซมทีอ่ ยู่อาศัย จานวน 100,000 บาท และได้ จ่ายค่ าซ่ อมแซม
รถ จานวน 30,000 บาท
• ในการยืน่ แบบแสดงรายการภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ปี ภาษี
2554 ของนายสมชายนั้น ให้ นาจานวนเงินรวม 130,000 บาท มา
กรอกลงในช่ องค่ าใช้ จ่ายอืน่ ๆ (ข้ อ 12 ของรายการลดหย่ อนและ
Slide 96
ยกเว้ นหลังจากหักค่ าใช้ จ่าย)
14. การหักค่ าลดหย่ อนเงินสมทบฯ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
14. การหักลดหย่ อนเงินสมทบทีจ่ ่ ายเข้ ากองทุน
ประกันสั งคม ตามกฎหมายว่ าด้ วยการ
ประกันสั งคม (มาตรา 47(1)(ฌ))
ในปี ภาษี 2554 หักได้ เท่ าทีจ่ ่ ายจริง แต่ ไม่ เกิน 9,000 บาท
ในกรณีคู่สมรสของผู้มเี งินได้ ซึ่งเป็ นผู้ประกันตน
จ่ ายเงินสมทบเข้ ากองทุนประกันสั งคมด้ วย และความเป็ น
สามีภริยาได้ มอี ยู่ตลอดปี ภาษี ให้ หักลดหย่ อนได้ ด้วยสาหรับ
เงินสมทบของคู่สมรสทีจ่ ่ ายเข้ ากองทุนประกันสั งคมดังกล่ าว
Slide 97
นั้นตามหลักเกณฑ์ เดียวกัน.
ข้อ 2 การยืน
่ รายการของสามีหรือ
ภริยา ให
กลดหยอนได
อไปนี
คาชี้หั
้แจงกรมสรรพากร
่ ลงวั้ นทีดั่ 19งตก.ย.
่ 55 ้
(7) สาหรับเงินสมทบที่
ผู้ประกันตนจายเข
ากองทุ
นประกันสั งคม
่
้
ตามมาตรา 47 (1) (ฌ) แห่งประมวล
รัษฎากร
ตัวอยางที
่ 16 สามีมเี งินได้
่
ั ลดหยอนเงิ
แตภริ
น
่
่ เงินได้ สามีหก
่ ยาไมมี
สมทบกองทุนประกันสั งคมไดตามจ
านวนที่
้
จายจริ
ง
่
ตัวอยางที
่ ๑7 สามีภริยา
่
มีเงินไดทั
้ ง้ สองฝ่าย สามีและภริยาตาง
่
ฝ่ายตางหั
กลดหยอนเงิ
นสมทบกองทุน
่
่
ประกันสั งคมไดตามจ
านวนทีจ
่ ายจริ
ง Slide 98
้
่
15. ยกเว้ น : เงินบริจาคเพือ่ การศึกษา
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
 เงินทีจ่ ่ ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษา
 หักได้ 2 เท่ าของที่จ่ายจริง แต่ ไม่ เกิน 10 % ของ
เงินได้ หลังหักค่ าใช้ จ่ายและค่ าลดหย่อนอืน่ ๆ แล้ ว
ให้ ใช้ บังคับตั้งแต่ วันที่ 25 สิ งหาคม 2547 เป็ นต้ น
ไป (พรฎ.420).
Slide 99
15. ยกเว้ น : เงินบริจาคเพือ่ การศึกษา (ต่ อ)
1. จัดหาหรือจัดสร้ างอาคาร อาคารพร้ อมที่ดิน หรือที่ดิน ให้ แก่ สถานศึกษา
ต้ องเป็ นการจัดหาหรือจัดสร้ างทรัพย์ สินดังกล่าวเพือ่ ใช้ ประโยชน์ ทางการศึกษาตาม
โครงการที่กระทรวงศึกษาธิการให้ ความเห็นชอบ
2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ เพือ่ การศึกษา แบบเรียน ตารา หนังสื อทางวิชาการ สื่ อ
และ เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ อนื่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับ การศึกษา
ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกาหนดที่ให้ แก่สถานศึกษาดังกล่าวต้ องเป็ น
การจัดหาตามโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการให้ ความเห็นชอบแล้ว
3. จัดหาครู อาจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา หรือทุนการศึกษา การ
ประดิษฐ์ การพัฒนา การค้ นคว้ า หรือการวิจัย สาหรับนักเรียน นิสิตหรือนักศึกษา
ของสถานศึกษา ทั้งนีใ้ ห้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดี
กรมสรรพากรกาหนด.
Slide 100
15.1 ยกเว้ น : เงินบริจาคเพือ่ ส่ งเสริมการอ่ าน 2. ฐานภาษี (ต่ อ)
รายจ่ ายเพือ่ ส่ งเสริมการอ่ านในการจัดหาหนังสื อ หรื อสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์ สาหรับโรงเรียน สถานศึกษา สถาบันอุดมศึกษาทั้ง
ของทางราชการและเอกชน
หัก 2 เท่ าของรายจ่ ายหลังจากได้ หักค่ าใช้ จ่ายและค่ า
ลดหย่ อน แต่ เมื่อรวมกับรายจ่ ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษาต้ องไม่ เกิน
ร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังหักค่ าใช้ จ่ายและค่ าลดหย่ อน
(พรฎ.515).
Slide 101
15.2 ยกเว้ น : รายจ่ ายในการจัดให้ คนพิการได้ รับสิ ทธิในการเข้ าถึง
รายจ่ ายในการจัดให้ คนพิการได้ รับสิ ทธิในการเข้ าถึง และใช้
ประโยชน์ จากสิ่ งอานวยความสะดวกที่เป็ นของสาธารณะ รวมทั้ง
สวัสดิการและความช่ วยเหลืออืน่ จากรัฐ
หัก 2 เท่ าของรายจ่ ายหลังจากได้ หักค่ าใช้ จ่ายและค่ า
ลดหย่ อน แต่ เมื่อรวมกับรายจ่ ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษาต้ องไม่ เกิน
ร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังหักค่ าใช้ จ่ายและ ค่ าลดหย่ อน
(พรฎ.519).
Slide 102
15.3 ยกเว้ น : เงินบริจาคเพือ่ กองทุนพัฒนาครู 2. ฐานภาษี (ต่ อ)
เงินบริจาคให้ กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษาทีก่ ระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งขึน้
หัก 2 เท่ าของเงินบริจาคหลังจากได้ หักค่ าใช้ จ่ายและค่ า
ลดหย่ อน แต่ เมือ่ รวมกับรายจ่ ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษาต้ อง
ไม่ เกินร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังหักค่ าใช้ จ่ายและ
ค่ าลดหย่ อน (พรฎ.520).
Slide 103
15.4 ยกเว้ น : เงินบริจาคให้ อปท. เพือ่ ศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็ก 2. ฐานภาษี (ต่อ)
เงินที่จ่ายให้ แก่ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น ในการ
จัดตั้งหรือสนับสนุนการดาเนินงานของศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็กใน
สั งกัดองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
หัก 2 เท่ าของเงินที่จ่ายหลังจากได้ หักค่ าใช้ จ่ายและค่ า
ลดหย่ อน แต่ เมือ่ รวมกับรายจ่ ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษาต้ อง
ไม่ เกินร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังหักค่ าใช้ จ่ายและ
ค่ าลดหย่ อน (พรฎ.526).
Slide 104
15.5 ยกเว้ น : เงินบริจาคให้ แก่โครงการอบรมอาชีพฯ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
เงินบริจาคให้ แก่ โครงการฝึ กอบรมอาชีพและการจัดกิจกรรม
ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการบาบัด แก้ ไข ฟื้ นฟู และสงเคราะห์ เด็กและเยาวชน
ของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนหรือศูนย์ ฝึกและอบรม
เด็กและเยาวชน ในกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวง
ยุตธิ รรม
หัก 2 เท่ าของเงินที่จ่ายหลังจากได้ หักค่ าใช้ จ่ายและค่ า
ลดหย่ อน แต่ เมื่อรวมกับรายจ่ ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษาต้ องไม่ เกิน
ร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังหักค่ าใช้ จ่ายและ ค่ าลดหย่ อน
(พรฎ.541).
Slide 105
16. การหักค่ าลดหย่ อน เงินบริจาค
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
16. การหักลดหย่ อนเงินบริจาค (มาตรา 47(7) และ ประกาศ
กระทรวงการคลัง เกีย่ วกับภาษีเงินได้ และภาษีมูลค่ าเพิม่ (ฉบับที่ 270))
- หักได้ เท่ าทีบ่ ริจาคจริง แต่ ไม่ เกินร้ อยละ 10
ของเงินที่เหลือหลังจากหักค่ าใช้ จ่าย และ
ค่ าลดหย่ อนอืน่ ๆ แล้ ว
- ต้ องบริจาคเป็ นเงินเท่ านั้น.
Slide 106
16. การหักค่ าลดหย่ อน เงินบริจาค (ต่ อ) 2.
ฐานภาษี (ต่ อ)
- ต้ องบริจาคให้ แก่
1. องค์ การสถานสาธารณกุศล ซึ่งกฎหมายกาหนดให้ เป็ น
องค์ การสถานสาธารณกุศลตลอดไป
(1) สถานพยาบาลของทางราชการ
(2) สถานพยาบาลขององค์ การของรัฐบาล
(3) สถานศึกษาของทางราชการ
(4) สถานศึกษาขององค์ การของรัฐบาล
(5) สถานศึกษาทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายว่ าด้ วยโรงเรียนเอกชน โดย
บ.หรือ หสน. หรือนิตบิ ุคคลอืน่
(6) สถานศึกษาทีเ่ ป็ นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายว่ า
ด้ วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
(7) สภากาชาดไทย
Slide 107
(8) วัดวาอาราม
การกุศลสาธารณะ (เพิม่ ใหม่ )
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
9. หอสมุด ห้ องสมุด พิพธิ ภัณฑ์ หอศิลป์ ของเอกชนทีเ่ ปิ ดให้ ใช้ เป็ นการ
สาธารณะโดยไม่ เก็บค่ าใช้ จ่าย ค่ าทานุบารุงหรือเงินสนับสนุนใด ๆ
10. หอสมุด ห้ องสมุด พิพธิ ภัณฑ์ หอศิลป์ ของทางราชการ
11. กองทุนผู้สูงอายุตามกฎหมายว่ าด้ วยผู้สูงอายุ
12. สถานพักฟื้ น บาบัดและฟื้ นฟูเด็ก คนชรา ผู้พกิ ารของเอกชนทีไ่ ม่
เก็บค่ าใช้ จ่าย ค่ าทานุบารุงหรือเงินสนับสนุนใด ๆ
13. สถานพักฟื้ น บาบัด ฟื้ นฟูเด็ก คนชรา ผู้พกิ ารของทางราชการ
(ประกาศกระทรวงการคลัง เกีย่ วกับภาษีเงินได้ และภาษีมูลค่ าเพิม่
(ฉบับที่ 270) ใช้ บังคับ 30 ธันวาคม 2547 เป็ นต้ นไป) .
Slide 108
16. การหักค่ าลดหย่ อน เงินบริจาค (ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
- ต้ องบริจาคให้ แก่ (ต่ อ)
2. องค์ การสถานสาธารณกุศล ซึ่งกฎหมายกาหนดให้ เป็ น
องค์ การสถานสาธารณกุศล แต่ อาจเพิกถอนได้ หากการดาเนินการ
ไม่ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ หรือคุณสมบัตทิ กี่ ระทรวงการคลังกาหนด
เช่ น (ประกาศกระทรวงการคลัง เกีย่ วกับภาษีเงินได้ และภาษีมูลค่ าเพิม่
(ฉบับที่ 2)
(1) กองทุนพัฒนาเด็กชนบท
(2) สภาสั งคมสงเคราะห์ แห่ งประเทศไทย
(3) มูลนิธิชัยพัฒนา
(4) มูลนิธิอานันทมหิดล
(5) สมาคมสร้ างสรรค์ ไทย
……………ฯลฯ… (ปัจจุบันมีประมาณกว่ า 700 ราย)...
Slide 109
การบริจาคอืน่ ๆ
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
1. การบริจาคให้ แก่ กองทุนสวัสดิการทีจ่ ัดตั้งขึน้ ตามระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรีฯ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 เป็ นต้ นไป (พรฎ.424)
2. การบริจาคให้ แก่ ส่วนราชการเพือ่ ช่ วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย
อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติอนื่ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 เป็ นต้ นไป (กฎกระทรวง
253 /2548)
3. บริจาคเพือ่ การกีฬาให้ แก่ การกีฬาแห่ งประเทศไทยเพือ่ ส่ งเสริมการ
กีฬา คณะกรรมการกีฬาจังหวัดทีจ่ ัดตั้งขึน้ ตามกฎหมายว่ าด้ วยการกีฬา
แห่ งประเทศไทยเพือ่ ส่ งเสริมกีฬาในจังหวัด สานักงานพัฒนาการกีฬาและ
นันทนาการเพือ่ การจัดการแข่ งขันกีฬานักเรียน หรือสมาคมกีฬาสมัครเล่น
ทีไ่ ด้ รับอนุญาตจากการกีฬาแห่ งประเทศไทย ใช้ บังคับตั้งแต่ วันที่ 31
Slide 110
ธันวาคม 2547 (กฎกระทรวง 248).
การบริจาคอืน่ ๆ (ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
4. การบริจาคให้ แก่ กองทุนฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ กองทุน
ส่ งเสริมการจัดสวัสดิการสั งคม กองทุนคุ้มครองเด็ก หรือกองทุนพัฒนา
กีฬาแห่ งชาติทจี่ ัดตั้งขึน้ ตามมติคณะรัฐมนตรี ใช้ บังคับวันที่ 25 มกราคม
2548 (พรฎ.428)
5.กองทุนส่ งเสริมงานวัฒนธรรมตามกฎหมายว่ าด้ วยวัฒนธรรม
แห่ งชาติ (พรฎ.540)
ให้ ยกเว้ นภาษีเงินได้ สาหรับเงินได้ พงึ ประเมินหลังจากหักค่ าใช้ จ่าย
และหักลดหย่ อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) เท่ าจานวนเงินที่
บริจาค แต่ เมื่อรวมกับเงินบริจาคตามมาตรา 47 (7) แห่ งประมวลรัษฎากร
แล้ว ต้ องไม่ เกินร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังจากหักค่ าใช้ จ่ายและ
Slide 111
หักลดหย่ อนดังกล่าวนั้น .
การบริจาคอืน่ ๆ (ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
5. พรฎ. 527 - ยกเว้ นภาษีเงินบริจาคน้าท่ วม
การบริจาคผ่ านตัวแทนรับบริจาค ซึ่งเป็ นบริษทั หรือห้ าง
หุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล หรือนิตบิ ุคคลอืน่
 ตัวแทนรั บบริ จาคทีเ่ ป็ นบริ ษท
ั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล หรือ
นิตบิ ุคคลอืน่ ทีม่ ิใช่ ส่วนราชการ องค์ การของรัฐบาล หรือ
องค์ การสถานสาธารณกุศลตามประกาศกระทรวงการคลัง
จะต้ องยืน่ คาขอแจ้ งเป็ นตัวแทนรับบริจาคและทาตามหลักเกณฑ์
ที่กรมสรรพากรกาหนด (หมายความว่ า ส่ วนราชการ องค์ การ
ของรั ฐบาล องค์ การสถานสาธารณกศุ ลฯ รั บบริ จาคได้ โดยไม่
ต้ องแจ้ งการเป็ นตัวแทน)
Slide 112

การบริจาคอืน่ ๆ (ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
5. พรฎ. 527 – ยกเว้ นภาษีเงินบริจาคน้าท่ วม (ต่ อ)
บุคคลธรรมดาทีบ่ ริจาค “เงิน” ให้ แก่ ผู้ประสบ อุทกภัย
และภัยธรรมชาติอนื่ (ผู้ประสบภัย) ผ่ านตัวแทนรับ
บริจาค ผู้บริจาคสามารถนาจานวนเงินดังกล่ าวไปหัก
ลดหย่ อนในการคานวณภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาได้ โดย
เมือ่ รวมกับเงินบริจาคอืน่ แล้ วต้ องไม่ เกินร้ อยละ 10 ของ
เงินได้ หลังหักค่ าใช้ จ่ายและค่ าลดหย่ อน
Slide 113
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การบริจาคอืน่ ๆ (ต่ อ)
5. พรฎ. 527 – ยกเว้ นภาษีเงินบริจาคน้าท่ วม (ต่ อ)
หลักฐาน
(1)หลักฐานการรับเงิน ที่ตวั แทนรับบริจาคออกให้ ผู้บริจาค ระบุข้อความที่มี
สาระสาคัญว่ า เพือ่ ช่ วยเหลือผู้ประสบภัยโดยระบุช่วงเวลาที่เกิดภัยนั้น
หรือข้ อความอืน่ ที่มลี กั ษณะทานองเดียวกัน ทั้งนี้ ต้ องเป็ นหลักฐานการรับ
บริจาคเพือ่ ช่ วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติ
อืน่ ที่เกิดขึน้ ในประเทศไทยตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 เป็ นต้ นไป
(2)หลักฐานการโอนเงินเข้ าบัญชีธนาคารในช่ วงระยะเวลาที่เกิดภัยดังกล่ าว ที่
ตัวแทนรับบริจาคได้ เปิ ดบัญชีธนาคารขึน้ เพือ่ รับเงินบริจาค โดยผู้บริจาค
ต้ องมีหลักฐานการโดยผู้บริจาคต้ องมีหลักฐานการโอนเงินเข้ าบัญชี
Slide 114
ธนาคารดังกล่ าวที่พสิ ู จน์ ได้ ว่าตนเองเป็ นผู้บริจาค
การบริจาคอืน่ ๆ (ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
6. พรฎ. (ฉบับที่ ๕๒๙) ยกเว้ นเงินบริจาคเพิม่ ร้ อยละ ๕๐
ยกเว้ นภาษีเงินได้ สาหรับการบริจาคเพือ่ ช่ วยเหลือผู้ประสบ
อุทกภัยระหว่ างวันที่ ๑ ก.ย. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓๑ ธ.ค.
๒๕๕๔ ต้ องเป็ นการบริจาค
(๑) แก่ ส่วนราชการ หรือองค์ การหรือสถานสาธารณกุศล
ตามมาตรา ๔๗ (๗) แห่ งประมวลรัษฎากร หรือ
(๒) ทีม่ ีบริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลหรือนิตบิ ุคคล
อืน่ เป็ นตัวแทนรับเงินหรือทรัพย์ สินที่บริจาคตามพระราช
กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่ าด้ วยการยกเว้ น
รัษฎากร (ฉบับที่ ๕๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๔
Slide 115
การบริจาคอืน่ ๆ (ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
6. พรฎ. (ฉบับที่ ๕๒๙) ยกเว้ นเงินบริจาคเพิม่ ร้ อยละ ๕๐ (ต่ อ)
ยกเว้ นหลังจากหักค่ าใช้ จ่ายและหักลดหย่ อน จานวนร้ อยละ ๕๐
ของจานวนเงินทีบ่ ริจาค (รวม ๑.๕ เท่ า) เพิม่ ขึน้ จาก
 เงินบริจาคตามมาตรา ๔๗ (๗)
 เงินบริจาคตามมาตรา ๕ แห่ งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับ
ที่ ๕๒๗)
*** เมื่อรวมกับเงินบริ จาคตามมาตรา ๔๗ (๗) ต้ องไม่ เกิน
ร้ อยละ ๑๐ ของเงินได้ หลังจากหักค่ าใช้ จ่ายและหักลดหย่ อนSlide
***116
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7700/2548
มาตรา 47 (7) แห่ ง ป. รัษฎากร ให้ สิทธิผู้มีเงินได้ พงึ ประเมินนาเงินทีต่ น
บริจาคมาหักเป็ นค่ าลดหย่ อนได้ โดยหักได้ เท่ าจานวนที่บริจาค แต่ ไม่ เกินร้ อยละ
10 ของเงินได้ พงึ ประเมินทีห่ ักรายจ่ ายแล้ว
เมื่อใบอนุโมทนาบัตรทีโ่ จทก์นามาหักเป็ นค่ าลดหย่ อนระบุชื่อ “โจทก์และ
ครอบครัว” เป็ นผู้บริจาค โจทก์จึงมีสิทธินามาหักเป็ นค่ าลดหย่ อนได้
การทีใ่ บอนุโมทนาบัตรระบุชื่อ “โจทก์และครอบครัว” เป็ นผู้บริจาคก็เพือ่
เหตุผลทางด้ านจิตใจและความเชื่อทางศาสนาว่ า บุคคลในครอบครัวของโจทก์ ทุก
คนได้ ร่วมกันทาบุญกุศล เมื่อโจทก์เป็ นผู้มีชื่อระบุในใบอนุโมทนาบัตรเพียงคน
เดียวโดยไม่ มีชื่อบุคคลอืน่ ร่ วมด้ วย โจทก์จึงมีสิทธินาเงินบริจาคทั้งจานวนตามที่
ปรากฏในใบอนุโมทนาบัตรพิพาท มาหักเป็ นค่ าลดหย่ อนในการคานวณเพือ่ เสี ย
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาของโจทก์ได้
Slide 117
การหักค่ าลดหย่ อน(ต่ อ)

2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักลดหย่ อนในกรณีสามีภริยาต่ างฝ่ ายต่ างมีเงินได้
ในกรณีสามีภริยาต่ างฝ่ ายต่ างมีเงินได้ ถ้ าความเป็ นสามีภริยาได้ มี
อยู่ตลอดปี ภาษี การหักลดหย่ อนตาม (1) (ก) และ (ข) ให้ หักลดหย่ อน
รวมกันได้ 60,000 บาท แต่ ถ้าความเป็ นสามีภริยามิได้ มีอยู่ตลอดปี ภาษี
ให้ ต่างฝ่ ายต่ างหักลดหย่ อนได้ ตาม (1)(ก) และสาหรับการหักลดหย่ อน
ตาม (ค)บุตร , (ฉ)การศึกษาบุตร และ (ซ)ดอกเบีย้ เงินกู้ยมื ให้ ต่างฝ่ าย
ต่ างหักได้ กงึ่ หนึ่งตามเกณฑ์ ที่กาหนดไว้ ในแต่ ละกรณี . (มาตรา 47 (2))
Slide 118
การหักค่ าลดหย่ อน(ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักลดหย่ อนในกรณีผ้ ูมเี งินได้ มไิ ด้ เป็ นผู้อยู่ใน
ประเทศไทย (มาตรา 47(3))
การหักลดหย่ อนคู่สมรส , บุตร และการ ศึกษา
ของบุตร ให้ หักได้ เฉพาะคู่สมรสและบุตรทีอ่ ยู่ในประเทศ
ไทย

การหักลดหย่ อนในกรณีผ้ ูมเี งินได้ ถึงแก่ ความตาย
ให้ หักลดหย่ อนได้ เสมือนผู้ตายมีชีวติ อยู่ตลอด
ปี ภาษีทผี่ ้ ูน้ันถึงแก่ ความตาย . (มาตรา 47(4))

Slide 119
การหักค่ าลดหย่ อน(ต่ อ)
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การหักลดหย่ อนในกรณีผ้ ูมเี งินได้ เป็ นกองมรดกทีย่ งั
ไม่ ได้ แบ่ ง (มาตรา 47(5))
ให้ หักลดหย่ อนได้ 30,000 บาท
 การหักลดหย่ อนในกรณีผ้ ูมเี งินได้ เป็ นห้ างหุ้นส่ วน
สามัญ หรือคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่ นิตบิ ุคคล (มาตรา 47(6))
ให้ หักลดหย่ อนสาหรับผู้มเี งินได้ แก่ ผ้ ูเป็ นหุ้นส่ วน
หรือบุคคลในคณะบุคคลแต่ ละคนทีอ่ ยู่ในประเทศไทยคนละ
30,000 บาท แต่ รวมกันต้ องไม่ เกิน 60,000 บาท.

Slide 120
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การคานวณภาษีเงินได้ บุคคลธีรรมดา ทยกออกเป็ น 2 วิธีี คือ
วิธีที่ 1 คานวณภาษีจากเงินได้ สุทธีิ (มาตรา 48(1))
เงินได้ สุทธีิ = เงินได้ พงึ ประเมิน - ค่ าใช้ จ่าย - ค่ าลดหย่ อน
ภาษีที่ต้องเสี ย = เงินได้ สุทธีิ X อัตราภาษี(ก้ าวหน้ า)
วิธีที่ 2 คานวณจากยอดเงินได้ พงึ ประเมินประเภทที่ 2 – 8 รวมกัน
ตั้งทต่ 60,000 บาท ขึน้ ไป (มาตรา 48(2))
ภาษีที่ต้องเสี ย = เงินได้ พงึ ประเมิน X อัตราภาษี(ร้ อยละ 0.5)
สรุป : เปรียบเทียบทั้ง 2 วิธีี โดยผู้มเี งินได้ จะเสี ยภาษีเงินได้
Slide 121
บุคคลธีรรมดาตามวิธีีที่คานวณภาษีได้ มากที่สุด
3. อัตราภาษี
อัตราภาษีเงินได้ บุคคลธีรรมดา ตั้งทต่ ปีภาษี 2551 เป็ นต้ นไป
(ให้ เงินได้ สุทธีิ เฉพาะส่ วนทีไ่ ม่ เกิน 150,000 บาททรก
สาหรับปี ภาษี ได้ รับการยกเว้ นภาษีเงินได้ )
เงินได้ สุทธีิ
จานวนเงิน อัตราภาษี จานวนภาษี รวมเงินภาษี
ได้ สุทธีิ
ระหว่ าง
ร้ อยละ
1 - 100,000
100,000
5
ยกเว้ นภาษี
0
100,001 - 150,000
150,001 - 500,000
50,000
350,000
10
10
ยกเว้ นภาษี
35,000
0
35,000
500,001 - 1,000,000
500,000
20
100,000
135,000
1,000,001 - 4,000,000 3,000,000
4,000,001 บาทขึน้ ไป
30
37
900,000
1,035,000
Slide 122
ยกเวนภาษี
เ
งิ
น
ได
:
บ
าน
กรมสรรพากรได
มี
พ
้
้ ้ ้ ระ
ราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล
หลั
ง
แรก
รัษฎากรวาดวยการยกเวนรัษฎากร
่ ้
้
(ฉบับที่ ๕๒๘) พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย
่ วกับ
ภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 213) ใช้บังคับ
ตัง้ แตวั
่ นที่ 19 พฤศจิกายน
2554 เป็ นตนไป
โดยเป็ นการยกเวน
้
้
ภาษีเงินไดให
้ ้แกผู
่ ้มีเงินไดซึ
้ ง่ เป็ นบุคคล
ธรรมดาทีซ
่ อ
ื้ อสั งหาริมทรัพยที
์ เ่ ป็ น
อาคารพร้อมทีด
่ น
ิ หรือห้องชุดใน Slide 123
ยกเวนภาษี
เ
งิ
น
ได
:
บ
าน
้
้
้
1. การยกเวนภาษี
เงิแรก
นไดบุ
้ หลัง
้ คคลธรรมดา
- ยกเวนเท
ากั
่ านวณ
้
่ บภาษีเงินไดที
้ ค
จากเงินไดสุ
่ องช
าระกอนการ
้ ทธิ หรือทีต
้
่
คานวณเครดิตภาษี แตไม
10
่ เกิ
่ นรอยละ
้
ของมูลคาของอสั
งหาริมทรัพยฯ์
่
2. ผู้มีสิทธิยกเวนภาษี
เงินไดบุ
้
้ คคล
ธรรมดา
- ผู้มีเงินไดซึ
้ ง่ เป็ นบุคคลธรรมดา
3. การจายค
าซื
้ บานหลั
งแรก และ
่
่ อ
้
การจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ ์
Slide 124
- ระหวางวั
น
ที
่
21
กั
น
ยายน
่
ยกเวนภาษี
เ
งิ
น
ได
:
บ
าน
้
้
้
หลังแรก
4. การใช้สิ ทธิยกเวนภาษี
เงินไดบุ
้
้ คคลธรรมดา
และวิธค
ี านวณสิ ทธิยกเวนภาษี
ฯ
้
- ยกเวนภาษี
ครัง้ แรก ภายใน 5 ปี ภาษี นับ
้
แตปี่ ภาษีทม
ี่ ก
ี ารจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ ์
อสั งหาริมทรัพยฯ์
และตองใช
น
้
้สิ ทธิดงั กลาวเป็
่
เวลา 5 ปี ภาษี ตอเนื
่ ่องกันโดยให้ใช้สิ ทธิยกเว้น
ภาษี ดังนี้
กันในแตละปี
ภาษีเป็ นจานวนเทาๆ
่
่
สิ ทธิยกเวนภาษี
ตอปี
= ( คาซื
้ ฯ ไมเกิ
้
่ ภาษี
่ อ
่ น
5,000,000 x 10% )
5 ปี
ตัวอยาง
่
นาย ก. ซือ
้ บานหลั
งแรก 15
้
ธันวาคม 2554 และโอนกรรมสิ ทธิ ์ 15 มกราคม
2555 ราคา 5,000,000 บาท
ดังนั้น
นาย
ก. สามารถเริม
่ ตนใช
ง้ แรกไดภายใน
้
้สิ ทธิยกเวนฯครั
้
้ Slide 125
ยกเวนภาษี
เ
งิ
น
ได
:
บ
าน
้
้
้
หลังแรก
ธรรมดา
- มีชอ
ื่ เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิใ์ นอสั งหาริมทรัพย ์
ทีเ่ ป็ นอาคารพรอมที
ด
่ น
ิ หรือห้องชุดในอาคารชุดทีซ
่ อ
ื้
้
เป็ นทีอ
่ ยูอาศั
ย (ไมรวมถึ
งการทาสั ญญาซือ
้ ขายทีด
่ น
ิ
่
่
และทาสั ญญาจ้างปลูกสรางอาคารแยกจากกั
น)เป็ นเวลา
้
ติดตอกั
นับแตวั
่ ดทะเบียน
่ นไมน
่ ้ อยกวา่ 5 ปี
่ นทีจ
โอนกรรมสิ ทธิ ์ และอสั งหาริมทรัพยฯ์ นั้น ต้องไม่
เคยมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิม์ ากอน
ไมว
่
่ า่
ทัง้ หมดหรือบางส่วน
- ไมเคยมี
กรรมสิ ทธิใ์ นอสั งหาริมทรัพยฯ์ มา
่
กอน
่
- ไมเคยใช
ั ลดหยอนดอกเบี
ย
้ เงินกู้ยืม
่
้สิ ทธิหก
่
สาหรับการกู้ยืมเงินเพือ
่ ซือ
้ เช่าซือ
้ หรือ สร้าง
อาคารอยูอาศั
ย
่
- ไมเคยใช
เงินไดจากการขาย
่
้สิ ทธิยกเวนภาษี
้
้
Slide 126
อสั งหาริมทรัพยที
เ
่
ป็
นที
อ
่
ยู
อาศั
ย
เดิ
ม
และซื
อ
้
์
่
ยกเวนภาษี
เ
งิ
น
ได
:
บ
าน
้
้
้
หลังแรก
6. กรณีผมี
ู้ เงินไดหลายคนร
วมกั
นซือ
้
้
่
อสั งหาริมทรัพยฯ์
- ยกเวนภาษี
ไดทุ
่ ตามส่วน
้
้ กคน โดยเฉลีย
ของกรรมสิ ทธิข
์ องแตละคน
แตรวมกั
นทัง้ หมด
่
่
้
นคาซื
่ ายเป็
ต้องไมเกิ
่ อ
่
่ นจานวนเงินทีจ
อสั งหาริมทรัพยจริ
และไมเกิ
10 ของ
์ ง
่ นรอยละ
้
มูลคาอสั
งหาริมทรัพยฯ์
่
7. กรณีผมี
ู้ เงินไดมี
้ สามีหรือภริยา
- ยกเวนภาษี
ไดเพี
้
้ ยงแหงเดี
่ ยว
7.1
สามีภริยาตางฝ
เงินได้ และ
่ ่ ายตางมี
่
ความเป็ นสามีภริยาไดมี
ภาษีทไี่ ดรั
้ อยูตลอดปี
่
้ บยกเวน
้
ภาษี ดังนี้
(1) กรณีภริยาไมแยกยื
น
่ แบบฯ
่
Slide 127
ยกเวนภาษีรวมกันเทาจานวนเงินทีจ
่ ายเป็ นคาซือ
้
ยกเว
เ
งิ
น
ได
:
บ
าน
7.1 นภาษี
สามี
ภ
ริ
ย
าต
างฝ
ายต
างมี
เ
งิ
น
ได
้
่ ่
่ ้
้ ้ และ
มี
ยูตลอดปี
ความเป็ นสามีภริยาได
้ บยกเวน
่ แรกภาษีทไี่ ดรั
้ อง
้
หลั
ภาษี ดังนี้ (ตอ)
่
(2) กรณีภริยาแยกยืน
่ แบบฯ
ให้ตาง
่
ฝ่ายตางได
รั
ไดกึ
่
้ บยกเวนภาษี
้
้ ง่ หนึ่งของจานวนเงินที่
จายเป็
นคาซื
้ อสั งหาริมทรัพยจริ
แตรวมกั
น
่
่ อ
์ ง
่
ไมเกิ
10 ของมูลคาอสั
งหาริมทรัพยฯ์
่ นรอยละ
้
่
ทัง้ นี้ การใช้สิ ทธิยกเวนภาษี
เงินไดครั
้
้ ง้ แรกของสามี
และภริยา จะต้องกระทาในปี ภาษีเดียวกัน
สิทธิไดรั
(3) กรณีตางฝ
้ บยกเวน
่
่ ่ ายตางมี
้
ภาษีเงินไดอยู
ว
รวมกัน
้ ก
่ อนแล
่
้ ให้ไดรั
้ บยกเวนภาษี
้
Slide 128
ยกเว
นภาษี
เ
งิ
น
ได
:
บ
าน
7.2 ้ สามีภริยาตางฝ
่ ้ เงินได้ ้
่ ่ ายตางมี
และความเป็ นสามีภหลั
ริยามิไงดแรก
มี
ภาษีทไี่ ดรั
้ อยูตลอดปี
่
้ บ
ยกเวนภาษี
ซึง่ ต้องแยกยืน
่ แบบฯ ดังนี้
้
(1) กรณีมส
ี ิ ทธิไดรั
อยู่
้ บยกเวนภาษี
้
กอนแล
ว
่
้ ให้สามีและภริยาซึง่ เป็ นผูมี
้ เงินไดต
้ างฝ
่ ่ าย
ตางยั
งคงไดรั
เงินไดเท
่
้ บยกเวนภาษี
้
้ าจ
่ านวนเงินที่
จายเป็
นคาซื
้ อสั งหาริมทรัพยจริ
่
่ อ
์ ง แตไม
่ เกิ
่ นรอยละ
้
10 ของมูลคาอสั
งหาริมทรัพยฯ์
่
น
ตอมา
(2) กรณีผมี
ู้ เงินไดสมรสกั
่
้
มีสิทธิไดรั
ให้ตางฝ
รั
้ บยกเวนภาษี
้
่ ่ ายตางได
่
้ บยกเวน
้
ภาษีกง่ึ หนึ่งของจานวนเงินทีจ
่ ายเป็
นคาซื
้
่
่ อ
Slide 129
ยกเว
เ
งิ
น
ได
:
บ
าน
ยื
ม
เงิ
น
เพื
อ
่
ซื
อ
้
สั
ง
หาริ
ม
ทรั
ฯ
8. กรณีกนภาษี
ารกู
พ
ย
้ ้
้
์้
รวมกั
น
่
หลั
ง
แรก
- ผูกูรวมมีกรรมสิ ทธิใ์ นทีอ
่ ยูอาศัยของ
้ ้ ่
่
อยกเวน
ั ลดหยอนหรื
ตนเอง หรือเคยใช้สิ ทธิหก
้
่
ภาษีมาแลว
ได
้ ผู้กู้รวมจะไม
่
่ รั
้ บสิ ทธิยกเว้นภาษีใน
ส่วนของเงินไดที
้ ใ่ ช้กูร
้ วม
่
9. หลักฐานประกอบการยกเวนภาษี
เงินได้
้
- หนังสื อรับรองจากผูขายที
พ
่ ส
ิ จ
ู นได
้
์ ว
้ า่ มี
การจายค
าซื
้ อสั งหาริมทรัพย ์
่
่ อ
- หนังสื อรับรองตนเองวาเป็
ยแหง่
่ ยูอาศั
่ นทีอ
่
แรก
- สาเนาสั ญญาซือ
้ ขายอสั งหาริมทรัพย ์
Slide 130
ยกเว
นภาษี
เ
งิ
น
ได
:
บ
าน
10. กรณี
ท
ไ
่
ี
ม
ปฏิ
บ
ต
ั
ต
ิ
าม
้
้
้
่
หลักเกณฑฯ์ หลังแรก
- สิ้ นสุดสิ ทธิทจ
ี่ ะไดรั
้ บยกเวน
้
ภาษีเงินได้ ตัง้ แตปี่ ภาษีแรกทีไ่ ดใช
้ ้
สิ ทธิฯ และให้ถือวาไม
เสี
่
่ ยหรือนาส่ง
ภาษีภายในกาหนดเวลา และให้เสี ย
เงินเพิม
่ อีกร้อยละ
1.5
ตอเดื
่ อน
หรือเศษของเดือนของเงินภาษีทต
ี่ ้อง
เสี ยหรือนาส่ง สาหรับภาษีเงินไดที
้ ่
Slide 131
การคานวณภาษีเงินได้ บุคคลธีรรมดาสิ้นปี
การเสี ยภาษีเงินได้ ประจาปี (สิ้นปี ) (มาตรา 56)
ผู้มเี งินได้ ต้องนาเงินได้ ทุกประเภททีไ่ ด้ รับในปี ภาษีทลี่ ่ วง
มาทล้ ว มายืน่ ทบบทสดงรายการเสี ยภาษี โดยการคานวณภาษี
ทละยืน่ ทบบเสี ยภาษี ภายในวันที่ 31 มีนาคมของปี ภาษีถัดไป
ทบบทสดงรายการทีใ่ ช้ ยนื่ ทบบ มีดงั นี้
- ภ.ง.ด.90 ใช้ สาหรับกรณีมเี งินได้ พงึ ประเมินหลายประเภท
หรือประเภทเดียวทีไ่ ม่ ใช่ เงินได้ ประเภทที่ 1
- ภ.ง.ด.91 ใช้ สาหรับกรณีทมี่ เี งินได้ พงึ ประเมินเฉพาะ
ประเภท 1 ประเภทเดียวเท่ านั้น
Slide 132
การคานวณภาษีเงินได้ บุคคลธีรรมดาครึ่งปี
การเสี ยภาษีครึ่งปี (มาตรา 56 ทวิ )
กรณีผู้มีเงินได้ มีเงินได้ ประเภทที่ 5 (ไม่ รวมเงิน
กินเปล่ า เงินช่ วยค่ าก่ อสร้ าง เงินค่ าซ่ อมทซม ค่ าทห่ ง
อาคารหรือโรงเรือนที่ได้ รับกรรมสิ ทธีิ์) , 6 , 7 ทละ
หรือ 8 ที่ได้ รับตั้งทต่ เดือนมกราคม – มิถุนายน
ถึงเกณฑ์ ที่จะต้ องเสี ยภาษี ผู้มีเงินได้ ต้องยืน่ ทบบ
เสี ยภาษีครึ่งปี ตามทบบ ภ.ง.ด.94 โดยต้ องยืน่ ทบบ
Slide 133
ภายในวันที่ 30 กันยายน ของปี ภาษีน้ัน
การคานวณภาษีเงินได้ บุคคลธีรรมดาครึ่งปี (มาตรา 56 ทวิ )
เฉพาะเงินได้ ประเภทที่ 5 , 6 , 7 ทละหรือ 8 ที่ได้ รับตั้งทต่ เดือน ม.ค. – มิ.ย.
วิธีที่ 1 คานวณภาษีจากเงินได้ สุทธิ (มาตรา 48(1))
เงินได้ สุทธีิ = เงินได้ พงึ ประเมิน(ประเภทที่ 5-8) - ค่ าใช้ จ่าย - ค่ าลดหย่ อน(กึง่ หนึ่ง)
ภาษีที่ต้องเสี ย = เงินได้ สุทธีิ X อัตราภาษี(ก้ าวหน้ า)
วิธีที่ 2 คานวณจากยอดเงินได้ พงึ ประเมินที่ได้ รับรวมกันตั้งทต่
60,000 บาท ขึน้ ไป (มาตรา 48(2))
ภาษีที่ต้องเสี ย = เงินได้ พงึ ประเมิน X อัตราภาษี(ร้ อยละ 0.5)
สรุป : เปรียบเทียบทั้ง 2 วิธีี โดยผู้มเี งินได้ จะเสี ยภาษีเงินได้
บุคคลธีรรมดาตามวิธีีที่คานวณภาษีได้ มากที่สุด
Slide 134
การคานวณภาษีเงินได้ บุคคลธีรรมดาครึ่งปี (มาตรา 56 ทวิ)
เงินได้ พงึ ประเมิน(ประเภทที่ 5-8 ทีไ่ ด้ รับตั้งทต่ ม.ค.-มิ.ย.) xxxx
 หัก ค่ าใช้ จ่าย ตามกฎหมาย
xxx
 คงเหลือ เงินได้ หลังหักค่ าใช้ จ่าย
xxxx
 หัก ค่ าลดหย่ อน (กึง่ หนึ่ง)
- ส่ วนตัว
xxx
- คู่สมรส
xxx
- บุตร
xxx
- เบีย้ ประกันชีวติ
xxx
- ดอกเบีย้ เงินกู้ยมื เพือ่ ซื้อบ้ านฯ xxx
xxxx
 เหลือเงินได้ หลังหักค่ าใช้ จ่ายทละค่ าลดหย่ อนอืน
่
xxxx
 หักค่ าลดหย่ อนเงินบริจาค
xxx
 คงเหลือเป็ นเงินได้ สุทธิ
xxxx
 คานวณภาษีตามอัตราภาษี (อัตราก้ าวหน้ า)
xxxx
หมายเหตุ ให้ คานวณวิธีีที่ 2 เปรียบเทียบด้ วย ทละให้ เสี ยภาษีตามวิธีีทมี่ ากกว่ า

Slide 135
4. วิธีีการชาระภาษี
4.1 การประเมินตนเอง ม.17, 38 , 56 , 56 ทวิ , 64
โดยยืน่ แบบแสดงรายการ - ประจาปี (มาตรา 56)
- ครึ่งปี (มาตรา 56 ทวิ)
4.2 การเสี ยภาษีเงินได้ แทนกัน ม. 48 ทวิ
4.3 การเลือกเสี ยภาษีเงินได้ ม. 48 (3) - (5) , 57 เบญจ
- เงินเดือนภริยา (57 เบญจ) / ดอกเบีย้ /เงินปันผล (48 (3)) / การ
ขายอสั งหาริมทรัพย์ (48 (4)) / เงินครั้งเดียวฯ (48 (5))
4.4 การหักภาษี ณ ที่จ่าย
ม. 50 , 3 เตรส , 50 ทวิ , 52 , 58 , 59
4.5 เจ้ าพนักงานประเมินเรียกเก็บ
Slide 136
ม. 18 - 27 ทวิ
4. วิธีีการชาระภาษี
พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่ าด้ วยการลดอัตรา
และยกเว้ นรัษฎากร (ฉบับที่ ๕๓๘)พ.ศ. ๒๕๕๕
ผู้มีเงินได้ ซึ่งเป็ นผู้อยู่ในประเทศไทยและได้ รับเงินปันผลจากบริษัทหรือ
ห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายต่ างประเทศอันเนื่องมาจากหลักทรัพย์ ทจี่ ด
ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย และยอมให้ ผู้จ่ายเงินได้ น้ันหักภาษี ณ ที่
จ่ ายตามมาตรา ๕๐ (๒) แห่ งประมวลรัษฎากร ในอัตราร้ อยละสิ บของเงินได้ เมื่อถึง
กาหนดยืน่ รายการให้ ได้ รับยกเว้ นไม่ ต้องนาเงินปันผลดังกล่ าวมารวมคานวณเพือ่ เสี ย
ภาษีเงินได้ ทั้งนี้ เฉพาะกรณีทผี่ ู้มีเงินได้ ไม่ ขอรับเงินภาษีทถี่ ูกหักไว้ น้ันคืนหรือไม่ ขอ
เครดิตเงินภาษีทถี่ ูกหักไว้ น้ัน ไม่ ว่าทั้งหมดหรือบางส่ วน
เหตุผล : ในทานองเดียวกับเงินปันผลทีไ่ ด้ รับจากบริษัทหรื อห้ าง
หุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายไทย อันเนื่องมาจากหลักทรัพย์ ทจี่ ดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย เพือ่ เป็ นการสนับสนุนให้ มีการนาหลักทรัพย์
ต่ างประเทศเข้ ามาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทยและสร้ างแรงจูงใจ
Slide 137
ในการลงทุนในตลาดทุนไทยอันจะมีผลเป็ นการพัฒนาตลาดทุนไทยต่ อไป
เกณฑ์ เงินได้ ทตี่ ้ องยืน่ ทบบทสดงรายการ (มาตรา 56 , 57 ทวิ)
(ก) กรณีเป็ นคนโสด มีเงินได้ ในปี ภาษีทลี่ ่วงมาทล้ ว .........
....... เกิน 30,000 บาท
(ข) กรณีเป็ นคนโสด มีเงินได้ ในปี ภาษีที่ล่วงมาทล้ว
เฉพาะตามประเภทที่ 1 (เงินเดือนฯ) อย่างเดียว ........
......... เกิน 50,000 บาท
(ค) กรณีไม่ โสด(มีคู่สมรส) ทั้งสามีรวมภริยามีเงินได้
ในปี ภาษีทลี่ ่วงมาทล้ว...........................................
.........เกิน 60,000 บาท
(ง) กรณีไม่ โสด(มีคู่สมรส) ทั้งสามีรวมภริยามีเงินได้
ในปี ภาษีทลี่ ่วงมา เฉพาะตามประเภทที่ 1.............
.......เกิน 100,000 บาท
(จ) กรณีกองมรดกทีย่ งั มิได้ ทบ่ ง มีเงินได้ ในปี ภาษีทลี่ ่วงมาทล้ว .......... เกิน 30,000 บาท
(ฉ) กรณีห้างหุ้นส่ วนสามัญหรือคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่ นิตบิ ุคคล
มีเงินได้ ในปี ภาษีทลี่ ่วงมาทล้ ว........................................
...เกิน 30,000 บาท
** วิสาหกิจชุ มชนตามกฎหมายฯ ถ้ ามีเงินได้ เกิน 1,800,000 บาท ในปี ภาษี ให้ นาเงินได้
Slide 138
ทั้งหมดมาคานวณภาษี**
ผู้มีหน้ าทีย่ นื่ แบบ (มาตรา 57 , 57 ทวิ และ 56 วรรค 2)
ผู้มีเงินได้
ผู้มีหน้ าทีย่ นื่ แทน
ผู้เยาว์
ผู้แทนโดยชอบธรรม
คนไร้ ความสามารถ
ผู้อนุบาล
คนเสมือนไร้ ความสามารถ
ผู้พทิ กั ษ์
ผู้มีเงินได้ ทอี่ ยู่ในต่ างประเทศ
ผู้จดั การกิจการฯ
ผู
้
จ
ด
ั
การมรดก
,
ทายาท
ผู้ถงึ แก่ ความตายในระหว่ างปี ภาษี
ผู้ครอบครองทรัพย์ มรดก
ผู
้
จ
ด
ั
การมรดก
,
ทายาท
กองมรดกของผู้ตายทีย่ งั มิได้ แบ่ ง
ผู้ครอบครองทรัพย์ มรดก
Slide 139
ห้ างหุ้นส่ วนสามัญ หรือคณะบุคคลฯ ผู้จดั การ หรือผู้อานวยการ
การจัดทาบัญชีหรื อรายงานแสดงรายได้ และรายจ่ าย
เรื่อง กาหนดให้ ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา และมิได้ เป็ น
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่ จัดทาบัญชีหรื อรายงานแสดงรายได้ และ
รายจ่ าย
ให้ ผ้ มู ีหน้ าทีเ่ สียภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา และมิได้ เป็ นผ้ ปู ระกอบการจด
ทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่ เฉพาะผ้ มู ีเงินได้ พงึ ประเมินตามมาตรา 40(5) (6) (7) และ
(8) แห่ งประมวลรัษฎากร จัดทาบัญชีหรือรายงานแสดงรายได้ และรายจ่ ายเป็ น
ประจาวัน โดยต้ องมีรายการและข้ อความอย่ างน้ อยตามแบบทีแ่ นบท้ ายประกาศนี้
การจัดทาบัญชีหรือรายงานแสดงรายได้ และรายจ่ ายประจาวัน ให้ ทาเป็ น
ภาษาไทย ถ้ าทาเป็ นภาษาต่ างประเทศให้ มีภาษาไทยกากับ และให้ ลงรายการในบัญชี
หรือรายงานแสดงรายได้ และรายจ่ ายภายใน 3 วันทาการ นับแต่ วนั ทีม่ ีรายได้ หรือ
รายจ่ าย (ใช้ บังคับตั้งแต่ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549)
Slide 140
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 161)
ภาษีเงินได้ หัก ณ ทีจ่ ่ าย (WITHHOLDING TAX : WT)
มาตรา 50 , 3 เตรส (ท.ป.4 /2528) , 69 ทวิ , 69 ตรี , 70
วัตถุประสงค์
1. เพือ่ บรรเทาภาระภาษีให้ ทก่ ผู้รับเงินได้ ทีจ่ ะ
ไม่ ต้องเสี ยภาษีในคราวเดียวกันเป็ นจานวนมาก
2. เพือ่ ให้ รัฐบาลมีรายได้ เข้ าคลังอย่างสม่าเสมอ
3. เพือ่ ลดทรงกดดันในการเลีย่ งภาษี ทละลดหน้ าที่
ในการตรวจสอบภาษีในภายหลัง
Slide 141
ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย (WITHHOLDING TAX : WT)
มาตรา 50 , 3 เตรส (ท.ป.4 /2528) , 69 ทวิ , 69 ตรี , 70
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ออกหนังสื อรับรองการหักภาษี ณ ทีจ่ ่ าย
(ม.50 ทวิ)
นาส่ งสรรพากร
ภ.ง.ด. 1 , 2 , 3
ภ.ง.ด. 53 , 54 (ม.59)
ยืน่ ทบบฯ ภายใน 7 วัน
นับทต่ วนั สิ้นเดือนของเดือนทีจ่ ่ าย (ม.52)
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
ภ.ง.ด. 90 , 91 , 94
ภ.ง.ด. 50 , 51 , 55
Slide 142
ภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย เงินได้ ประเภทที่ 1
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ม.50 (1)
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
ภ.ง.ด. 1
ภ.ง.ด. 1 ก. , 1 ก (พิเศษ)
(ม.58)
หนังสื อรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
Slide 143
เงินได้ ตามมาตรา 40(1) X คราวที่จ่าย
 หัก ค่ าใช้ จ่าย 40% ไม่ เกิน 60,000 บาท
 คงเหลือ เงินได้ หลังหักค่ าใช้ จ่าย
 หัก ค่ าลดหย่ อน
- ส่ วนตัว
xxx
- คู่สมรส
xxx
- บุตร
xxx
- เบีย้ ประกันชีวติ
xxx
- ดอกเบีย้ เงินกู้ยมื เพือ่ ซื้อบ้ านฯ
xxx
- เงินสะสมเข้ ากองทุนสารองเลีย้ งชีพ xxx
- เงินสมทบเข้ ากองทุนประกันสั งคม xxx
 เหลือเงินได้ หลังหักค่ าใช้ จ่ายทละค่ าลดหย่ อนอืน
่
 หักค่ าลดหย่ อนเงินบริจาค
 คงเหลือเป็ นเงินได้ สุทธิ
 คานวณภาษีตามอัตราภาษี (อัตราก้ าวหน้ า)
 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ภาษี
คราวที่จ่าย

xxxx
xxx
xxxx
xxxx
xxxx
xxx
xxxx
xxxx
xxx
ม.50 (1)
Slide 144
ภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย เงินได้ ประเภทที่ 2
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
บุคคลธีรรมดา
บริษทั หรือห้ างฯ
ผู้รับเงิน
ม.50 (1) ,
ท.ป.4 ข้ อ 3/1
(1)
บุคคลธีรรมดา
คานวณหักฯ
คานวณหักฯ
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 3
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
กรณีผ้ รู ับเงิน เป็ นบุคคลธีรรมดาทีม่ ิได้ อยู่ในประเทศไทย หัก 15 %
Slide 145
ภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย เงินได้ ประเภทที่ 3
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
บุคคลธีรรมดา
บริษทั หรือห้ างฯ
ผู้รับเงิน
ม.50 (2) ,
ท.ป.4 ข้ อ 3/2
(1)
บุคคลธีรรมดา
อัตราก้าวหน้ า
อัตราก้าวหน้ า
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 3
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
กรณีผ้ รู ับเงิน เป็ นบุคคลธีรรมดาทีม่ ิได้ อยู่ในประเทศไทย หัก 15 %
Slide 146
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 4 (ดอกเบีย้ ฯ)
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
บุคคลธีรรมดา
บริษัทหรือห้ างฯ
ธีนาคารฯ
ผู้รับเงิน
ม.50 (2) ,
ท.ป.4 ข้ อ 4
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 15
ร้ อยละ 15
ไม่ หัก
บริษัทหรือห้ างฯ ร้ อยละ 1
ร้ อยละ 1
ไม่ หัก
ธีนาคารฯ
ร้ อยละ 1 เฉพาะพันธีบัตร/หุ้นกู้
ไม่ หัก
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
กรณีผ้ รู ับเงิน เป็ นบุคคลธีรรมดาทีม่ ิได้ อยู่ในประเทศไทย หัก 15 %
Slide 147
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 4 เงินปันผลฯ
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
บริษทั หรือห้ างฯ
ผู้รับเงิน
ม.50 (2) ,
ท.ป.4 ข้ อ 5
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 10
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 10
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
Slide 148
ภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย เงินได้ ประเภทที่ 5
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ม.50 (3) ,
ท.ป.4 ข้ อ 6
บุคคลธีรรมดา
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 5
บริษทั หรือห้ างฯ
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 5
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
กรณีผ้ รู ับเงิน เป็ นบุคคลธีรรมดาทีม่ ิได้ อยู่ในประเทศไทย หัก 15 %
Slide 149
ภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย เงินได้ ประเภทที่ 6
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ม.50 (3) ,
ท.ป.4 ข้ อ 7
บุคคลธีรรมดา
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 3
บริษทั หรือห้ างฯ
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 3
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
กรณีผ้ รู ับเงิน เป็ นบุคคลธีรรมดาทีม่ ิได้ อยู่ในประเทศไทย หัก 15 %
Slide 150
ภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย เงินได้ ประเภทที่ 7
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ท.ป.4 ข้ อ 8
บุคคลธีรรมดา
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 3
บริษทั หรือห้ างฯ
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 3
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
กรณีผ้ รู ับเงิน เป็ นบริษัทหรือห้ างฯ ต่ างประเทศ ประกอบกิจการในประเทศไทย โดยมิได้
Slide 151
มีสานักงานสาขาตั้งอยู่เป็ นการถาวรในประเทศไทย ให้ หัก ในอัตราร้ อยละ 5.0 (ท.ป.ข้ อ 12)
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8 ค่ าจ้ างทาของ
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ท.ป.4 ข้ อ 8
บุคคลธีรรมดา
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 3
บริษทั หรือห้ างฯ
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 3
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
กรณีผ้ รู ับเงิน เป็ นบริษัทหรือห้ างฯ ต่ างประเทศ ประกอบกิจการในประเทศไทย โดยมิได้
Slide 152
มีสานักงานสาขาตั้งอยู่เป็ นการถาวรในประเทศไทย ให้ หัก ในอัตราร้ อยละ 5.0 (ท.ป.ข้ อ 12)
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8 ค่ าโฆษณา
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ท.ป.4 ข้ อ 10
บุคคลธีรรมดา
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 2
บริษทั หรือห้ างฯ
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 2
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
Slide 153
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
บุคคลธีรรมดา
บริษทั หรือห้ างฯ
ค่ าจ้ างนักทสดงสาธีารณะ
ผู้รับเงิน
ท.ป.4 ข้ อ 9 (2)
ร้ อยละ 5
นักทสดงมีภูมิลาเนาในไทย
ร้ อยละ 5
นักทสดงมีภูมิลาเนาต่ างประเทศ อัตราก้ าวหน้ า
อัตราก้าวหน้ า
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
“นักแสดงสาธารณะ” หมายความว่ า นักแสดงละคร ภาพยนตร์ วิทยุและโทรทัศน์ นักร้ อง
Slide 154
นักดนตรี นักกีฬาอาชีพหรือนักแสดงเพือ่ ความบันเทิงใด ๆ
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8
ค่ าจ้ างนักทสดงสาธีารณะ
กรณีมีภูมิลาเนาอยู่ในต่ างประเทศ หักภาษี ณ ทีจ่ ่ ายโดยคานวณ
หักไว้ ตามอัตราที่กาหนดในบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (อัตราก้ าวหน้ า)
เว้ นแต่ นักแสดงสาธารณะที่เป็ น นักแสดงภาพยนตร์ หรือ
โทรทัศน์ ซึ่งมีภูมิลาเนาอยู่ในต่ างประเทศ เฉพาะกรณีทมี่ ีการดาเนินการ
ถ่ ายทา ภาพยนตร์ หรือโทรทัศน์ ในประเทศไทย โดยบริษทั หรือห้ าง
หุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายของต่ างประเทศ และได้ รับ
อนุญาตให้ ถ่ายทาในประเทศไทยจากคณะอนุกรรมการพิจารณาคาขอ
อนุญาตถ่ ายทาภาพยนตร์ ต่างประเทศในประเทศไทย ตามระเบียบ
คณะกรรมการส่ งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ไทย ว่ าด้ วยการขอ
อนุญาตถ่ ายทาภาพยนตร์ ต่างประเทศในประเทศไทย พ.ศ. 2544
หักภาษี ณ ที่จ่ายโดยคานวณหักไว้ ในอัตราร้ อยละ 10.0
Slide 155
2. ฐานภาษี (ต่ อ)
การยกเว้ นภาษี
ยกเว้ นภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา : เงินได้ ที่นักแสดงสาธารณะที่เป็ น
นักแสดงภาพยนตร์ ซึ่งมีภูมลิ าเนาอยู่ในต่ างประเทศได้ รับอันเนื่องมาจากการ
เสดงภาพยนตร์ ต่างประเทศซึ่งดาเนินการสร้ างโดยบริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วน
นิติบุคคลทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายของต่ างประเทศและได้ รับอนุญาตการสร้ าง
ตามกฎหมายว่ าด้ วยภาพยนตร์ และวีดิทศั น์ ทั้งนี้ สาหรับเงินได้ พงึ ประเมินที่
ได้ รับตั้งแต่ วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ.
๒๕๕๘ (มาตรา42 (17) ประกอบกับ กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้ อ 2 (84))
Slide 156
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8
ค่ าจ้ างนักทสดงสาธีารณะ
ป.128/2546
คาว่ า “นักแสดงสาธารณะ” หมายความว่ า นักแสดงละคร ภาพยนตร์
วิทยุ โทรทัศน์ นักร้ อง นักดนตรี นักกีฬาอาชีพ หรือนักแสดงเพือ่ ความบันเทิงใด
ๆ ไม่ ว่าจะแสดงเดี่ยว เป็ นหมู่หรือคณะ หรือแข่ งขันเป็ นทีม เช่ น นักแสดงละคร
เวที นักแสดงภาพยนตร์ นักแสดงละครวิทยุ นักแสดงละครโทรทัศน์ ผู้ดาเนิน
รายการทางโทรทัศน์ นักแสดงตลก นายแบบ นางแบบ นักพูดรายการทอล์คโชว์
นักมวยอาชีพ นักฟุตบอลอาชีพ เป็ นต้ น
นักแสดงสาธารณะตามวรรคหนึ่ง ไม่ รวมถึงผู้ประกาศข่ าว โฆษก
พิธีกร นักจัดรายการวิทยุ นักจัดรายการในสถานบันเทิงใด ๆ ผู้บรรยายหรือนัก
พากย์ ผู้จัดการส่ วนตัวของนักแสดงสาธารณะ ผู้กากับการแสดง ผู้จัดการทีม
กีฬา ผู้ฝึกสอน นักกีฬาหรือบุคคลผู้กระทาการในลักษณะทานองเดียวกัน”Slide 157
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8 ค่ าเบีย้ ประกันวินาศภัย
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
บุคคลธีรรมดา
ผู้รับเงิน
ท.ป.4 ข้ อ 12/3
บริษัทหรือห้ างฯ
ซึ่งประกอบกิจการ
บริษทั หรือห้ างฯ
นาส่ งสรรพากร
ไม่ หัก
ร้ อยละ 1
วินาศภัย
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
Slide 158
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8 การขนส่ ง
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ท.ป.4 ข้ อ 12/4
บุคคลธีรรมดา
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 1
บริษทั หรือห้ างฯ
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 1
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
ยกเว้ น : ค่ าขนส่ งสาธารณะ หมายความว่ า การรับส่ งผู้โดยสารเป็ นการทัว่ ไปเป็ นปกติธุระ
Slide 159
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8
รางวัลในการประกวด การทข่ งขัน การชิงโชค หรือการอืน่ ใดอันมีลกั ษณะทานองเดียวกัน
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ท.ป.4 ข้ อ 9 (1)
บุคคลธีรรมดา
ร้ อยละ 5
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 5
บริษทั หรือห้ างฯ
ร้ อยละ 5
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 5
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
Slide 160
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8 รางวัลส่ วนลด หรือประโยชน์ ใดๆ
เนื่องจากการส่ งเสริมการขาย
ท.ป.4 ข้ อ 12/2
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
บุคคลธีรรมดา
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 3
บริษทั หรือห้ างฯ
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 3
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
ยกเว้ น : ให้ แก่ ผ้ ซู ื้อสิ นค้ าหรือผู้รับบริการซึ่งเป็ นผู้บริโภค หรือเป็ นผู้ประกอบการทีน่ าสิ นค้ าหรือ
Slide 161
บริการไปใช้ ในการประกอบกิจการของตนเองโดยตรง โดยมิได้ มวี ตั ถุประสงค์ ทจี่ ะนาไปขายต่ อ
สรุป ; การหักภาษี ณ ที่จ่าย รางวัล
(ลาภลอย)
หักร้ อยละ 5
การประกวด ทข่ งขัน ชิงโชค
หรือการอืน่ ทีม่ ีลกั ษณะทานองเดียวกัน
รางวัล
ส่ วนลด หรือประโยชน์ อนื่ ใด
เนื่องจากการส่ งเสริมการขาย
(เชิงธีุรกิจ)
หักร้ อยละ 3
ผู้รับทีเ่ ป็ นผู้ซื้อสิ นค้ าหรือ
ผู้รับบริการ ซึ่งเป็ นผู้บริโภค
หรือเป็ นผู้ประกอบการ ทีน่ า
สิ นค้ าหรือบริการไปใช้ ใน
การประกอบกิจการของ
ตนเองโดยตรง โดยมิได้ มี
วัตถุประสงค์ จะนาไปขายต่ อ
-ไม่ หักSlide 162
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8 การให้ บริการ
“การให้ บริการ” คือ การกระทาใด ๆ อันอาจหาประโยชน์ อนั มีมูลค่ าซึ่งมิใช่ การขายสิ นค้ า
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ผู้รับเงิน
ท.ป.4 ข้ อ 12/1
บุคคลธีรรมดา
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 3
บริษทั หรือห้ างฯ
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 3
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
ยกเว้ น : การจ่ าย ค่ าบริการของโรงแรม ค่ าบริการของภัตตาคาร และค่ าเบีย้ ประกันชีวติ Slide 163
สรุป ; การหักภาษี ณ ที่จ่าย การให้ บริการ
1. การรับจ้ างทาของ ร้ อยละ 3
การให้ บริการ
หักร้ อยละ 3
2. การทสดงสาธีารณะ ร้ อยละ 5 / ก้าวหน้ า
3. การโฆษณา ร้ อยละ 2
4. การประกันวินาศภัย ร้ อยละ 1
5. การขนส่ ง ร้ อยละ 1
6. การขนส่ งสาธีารณะ
8. การประกันชีวติ
7. โรงทรมทละภัตตาคาร
Slide 164
“การให้ บริการ” คือ การกระทาใด ๆ อันอาจหาประโยชน์ อนั มีมูลค่ าซึ่งมิใช่ การขายสิ นค้ า
ภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย เงินได้ ประเภทที่ 8 ค่ าขายพืชไร่ 8 ชนิด คือ
ยาง / มันสาปะหลัง / ปอ / ข้ าวโพด / อ้ อย / เมล็ดกาทฟ / ผลปาล์ มนา้ มัน / ข้ าว
(ฉพาะ กรณีผู้ซื้อเป็ นผู้ส่งออกหรือผู้ผลิตเท่ านั้น)
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
บุคคลธีรรมดา
บริษทั หรือห้ างฯ
ผู้รับเงิน
ท.ป.4 ข้ อ 3
ไม่ หัก
บุคคลธีรรมดา ไม่ หัก
ไม่ หัก
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 0.75
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
Slide 165
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 8 การขายอสั งหาริมทรัพย์
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
บุคคลธีรรมดา
บริษทั หรือห้ างฯ
นาส่ งสรรพากร
ผู้รับเงิน
บุคคลธีรรมดา
ม.69 ตรี
คานวณหักฯ
คานวณหักฯ
ร้ อยละ 1
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 1
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
Slide 166
กรณีขายอสั งหาริมทรัพย์
ม.50(5)(6)
1. เงินได้ จากการขายอสั งหาริมทรัพย์ อนั เป็ นมรดก หรือทีไ่ ด้ รับจาก
การให้ โดยเสน่ หา ให้ หักค่ าใช้ จ่ายร้ อยละ 50 ของเงินได้ เหลือเท่ าใดถือ
เป็ นเงินได้ สุทธีิ ทล้วหารด้ วยจานวนปี ทีถ่ ือครอง ได้ ผลลัพธี์ เป็ นเงินเท่ าใด
ให้ คานวณตามอัตราภาษีเงินได้ ได้ เท่ าใดให้ คูณด้ วยจานวนปี ทีถ่ ือครอง
ผลลัพธี์ ที่ได้ เป็ นเงินภาษีทตี่ ้ องหักทละนาส่ ง
2. เงินได้ จากการขายอสั งหาริมทรัพย์ ที่ได้ มาโดยทางอืน่ นอกจาก 1.
ให้ หักค่ าใช้ จ่ายได้ ตามที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา(ตาม Slide ถัดไป)
เหลือเท่ าใดถือเป็ นเงินได้ สุทธีิ ทล้วหารด้ วยจานวนปี ทีถ่ ือครอง ได้
ผลลัพธี์ เป็ นเงินเท่ าใด ให้ คานวณตามอัตราภาษีเงินได้ ได้ เท่ าใดให้ คูณ
ด้ วยจานวนปี ที่ถือครอง ผลลัพธี์ ที่ได้ เป็ นเงินภาษีที่ต้องหักทละนาส่ ง Slide 167
กรณีขายอสั งหาริมทรัพย์ (ต่ อ)
ม.50(5)(6)
หักค่ าใช้ จ่ายได้ ตามจานวนปี ที่ถือครอง ดังนี้
จานวนปี ที่ถือครอง
ค่ าใช้ จ่ายร้ อยละ
1
92
2
84
3
77
4
71
5
65
6
60
7
55
8 ปี ขึน้ ไป
50
“จานวนปี ที่ถือครอง” หมายถึง จานวนปี นับตั้งทต่ ปีที่ได้ กรรมสิ ทธีิ์
หรือสิ ทธีิครอบครอง ถ้ าเกิน 10 ปี ให้ นับเพียง 10 ปี ทละเศษของปี ให้
นับเป็ น 1 ปี
Slide 168
สรุป ; การหักภาษี ณ ที่จ่าย การขายทั่วไป
1. พืชผลทางการเกษตร 8 ชนิด
ยางทผ่น /มันสาปะหลัง / ผลปาล์มนา้ มัน /
การขายทรัพย์ สิน
หรือสิ นค้ า โดยทั่วไป
เมล็ดกาทฟ / ปอ /อ้อย / ข้ าวโพด / ข้ าว
ไม่ หัก
2. ขายอสั งหาริมทรัพย์
หักร้ อยละ 0.75
คานวณหัก ตามอัตราภาษี
หรือ ร้ อยละ 1 ทล้วทต่ กรณี
Slide 169
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 5 , 6 , 7 ทละ 8
ทต่ ไม่ รวมถึงการจ่ ายซื้อพืชผลทางการเกษตร
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
รัฐบาล องค์ การของ
รัฐบาล เทศบาลฯ
นาส่ งสรรพากร
ผู้รับเงิน
ม.50(4)
ตั้งทต่ 10,000 บาทขึน้ ไป
บุคคลธีรรมดา ร้ อยละ 1
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
เงินได้ ทจี่ ่ ายในการประกวดหรือทข่ งขันให้ คานวณหักตามอัตราภาษีเงินได้
Slide 170
ภาษีหัก ณ ทีจ่ ่ าย เงินได้ ทุกประเภท
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
รัฐบาล องค์ การของ
รัฐบาล เทศบาลฯ
นาส่ งสรรพากร
ผู้รับเงิน
ม.69 ทวิ
ตั้งทต่ 500 บาทขึน้ ไป
บริษทั หรือห้ างฯ ร้ อยละ 1
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
Slide 171
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 2 , 3 , 4 , 5 , 6
ผู้จ่ายเงิน
บริษทั หรือห้ างฯ
ท.ป.4 ข้ อ 3/1(2)
จ่ ายเงินได้
ท.ป.4 ข้ อ 3/2(2)
ท.ป.4 ข้ อ4(3)(ข)
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ท.ป.4 ข้ อ5
ท.ป.4 ข้ อ6(3)
มูลนิธีิ หรือสมาคมฯ ท.ป.4 ข้อ7(2)
ผู้รับเงิน
ไม่ รวมถึงมูลนิธีิฯ เพือ่
ร้ อยละ 10
การกุศลสาธีารณะฯ
ตั้งทต่ 1,000 บาทขึน้ ไป
นาส่ งสรรพากร
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
“ค่ าโฆษณา” หัก ณ ทีจ่ ่ าย ร้ อยละ 2 ตาม ท.ป.4 ข้ อ 10
Slide 172
“รางวัลในการประกวด การแข่ งขัน การชิงโชคฯ” หัก ร้ อยละ 5 ตาม ท.ป.4 ข้ อ 9(1)
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 2 , 3 , 4 , 5 , 6
ข้ อหารือ
การจัดฝึ กอบรมเข้ าลักษณะเป็ นการรับจ้ างทาของ บริ ษัท
หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลซึ่งเป็ น ผู้จ่ายเงินได้ พงึ ประเมิน
เฉพาะทีเ่ ป็ นค่ าจ้ างทาของ ให้ แก่ ผ้ ูรับซึ่งเป็ นสมาคม ผู้จ่ายไม่ มี
หน้ าทีต่ ้ องหัก ภาษี ณ ทีจ่ ่ าย ตามข้ อ 8(2) ตามคาสั่ ง
กรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528ฯ (กค 0706/2082 ลว. 16 กุมภาพันธ์
2550)
Slide 173
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินได้ ประเภทที่ 2 , 3 , 4 , 5 , 6
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายเงินได้
หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
ทุกคน
นาส่ งสรรพากร
ผู้รับเงิน
ม.70
บริษัทหรือห้ างฯ ที่
ร้ อยละ
ตั้งขึน้ ตามกฎหมาย
ต่ างประเทศ มิได้
10 หรือ 15
ประกอบกิจการในไทย
นาภาษีทถี่ ูกหักไปเครดิต
Slide 174
www.rd.go.th
ภาษีเงินไดนิ
ต
บ
ิ
ค
ุ
คล
้
Corporate Income Tax :
CIT
Slide 175
ผู้มีหน้ าที่เสี ยภาษี : “บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล” ได้ ทก่ ...
(มาตรา 39)
1. บริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล ทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายไทย (มาตรา 65 และ 66
วรรคแรก)
2. บริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล ทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายของต่ างประเทศ ได้ แก่
(ก) บ.หรือ หสน.ฯ ต่ างประเทศนั้น กระทากิจการในทีอ่ นื่ ๆ รวมทั้งใน
ประเทศไทย (มาตรา 66 วรรคสอง)
(ข) บ.หรือ หสน.ฯ ต่ างประเทศนั้น กระทากิจการในทีอ่ นื่ ๆ รวมทั้งใน
ประเทศไทย และกิจการทีก่ ระทานั้นเป็ นกิจการขนส่ งระหว่ างประเทศ (มาตรา 67)
(ค) บ.หรือ หสน.ฯ ต่ างประเทศนั้น มิได้ ประกอบกิจการในประเทศไทย
แต่ ได้ รับเงินได้ พงึ ประเมินตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5) หรือ (6) ทีจ่ ่ ายจากหรือในประเทศ
ไทย (มาตรา 70)
(ง) บ.หรือ หสน.ฯ ต่ างประเทศนั้น มิได้ เข้ ามาทากิจการในประเทศไทย
โดยตรง หากแต่ มีลูกจ้ าง หรือผู้ทาการแทน หรือผู้มาทาการติดต่ อ ในการประกอบ
Slide 176
กิจการในไทย ซึ่งเป็ นเหตุให้ ได้ รับเงินได้ หรือผลกาไรในไทย (มาตรา 76ทวิ)
ผู้มีหน้ าที่เสี ยภาษี : “บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล” ได้ ทก่ ...
(มาตรา 39)
3. กิจการซึ่งดาเนินการเป็ นทางค้ า หรือหากาไรโดยรัฐบาลต่ างประเทศ
องค์ การของรัฐบาลต่ างประเทศ หรือนิติบุคคลอืน่ ทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายของ
ต่ างประเทศ
4. กิจการร่ วมค้ า (Joint Venture : JV) กิจการทีด่ าเนินการร่ วมกันเป็ น
ทางค้ าหรือหากาไร ระหว่ าง
(ก) บริษัท กับ บริ ษทั
(ข) บริษัท กับ ห้ างห้ ุนส่ วนนิติบุคคล
(ค) ห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล กับ ห้ างห้ ุนส่ วนนิติบุคคล
(ง) บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล กับ บุคคลธรรมดา
(จ) บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล กับ คณะบุคคลทีม่ ิใช่ นิติบุคคล
(ฉ) บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล กับ ห้ างห้ ุนส่ วนสามัญ
Slide 177
(ช) บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล กับ นิติบุคคลอื่น
ผู้มีหน้ าที่เสี ยภาษี : “บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล” ได้ ทก่ ...
(มาตรา 39)
5. มูลนิธิหรือสมาคมทีป่ ระกอบกิจการซึ่งมีรายได้
แต่ ไม่ รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคมทีร่ ัฐมนตรีประกาศ
กาหนดให้ เป็ นองค์ การหรือสถานสาธารณกุศล
6. นิตบิ ุคคลทีอ่ ธิบดีกาหนดโดยอนุมตั ริ ัฐมนตรีและ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้ เป็ นบริษทั หรือห้ าง
หุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล (ยังไม่ มีการกาหนด)
Slide 178
คาถาม : นิตบิ ุคคลต่ อไปนีเ้ สี ยภาษีเงินได้ หรือไม่
1. กรมสรรพากร
2. การรถไฟ
3. สหกรณ์
4.หอการค้ า
5. พรรคการเมือง
6. ม. วงษ์ ชวลิตกุล
7. มทส.
8. กลุ่มเกษตรกร
9. ธนาคารออมสิ น
10. ธนาคารกรุงไทย
11.บริษัทการบินไทย
12.บริษัท ทศท.
13. วัด
Slide 179
นิตบิ ุคคลทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีเงินได้
นิตบิ ุคคลบางประเภทเข้ าลักษณะเป็ น “บริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วน
นิตบิ ุคคล” ตามมาตรา 39 แห่ งประมวลรัษฎากร แต่ ได้ รับยกเว้ นตาม
กฎหมายต่ างๆ เช่ น
(1) บ. หรือ หสน. ตามข้ อผูกพันทีป่ ระเทศไทยมีอยู่ตามสั ญญาว่ า
ด้ วยความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ หรือทางเทคนิคระหว่ างรัฐบาลไทย
กับรัฐบาลต่ างประเทศ (พรฎ. ฉบับที่ 9)
(2) บริษทั จากัดที่ได้ รับการยกเว้ นภาษีเงินได้ ตามกฎหมายว่ าด้ วย
การส่ งเสริมการลงทุน
(3) บ. หรือ หสน. ทีอ่ ยู่ในประเทศทีม่ ีอนุสัญญาว่ าด้ วยการเว้ น
การเก็บภาษีซ้อน ตามเงือ่ นไขทีก่ าหนดในอนุสัญญา (พรฎ. ฉบับSlide
ที่ 18)
180
ฐานภาษี ของภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล
(1) กาไรสุทธิ (มาตรา 65 , 66 และ 76ทวิ)
(2) ยอดรายได้ ก่อนหักรายจ่ าย (มาตรา 67
และบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (2)(จ) และ พรฎ.(ฉบับ250))
(3) เงินได้ ที่จ่ายจากหรือในประเทศ
ไทย (มาตรา 70)
(4) การจาหน่ ายเงินกาไรออกไปจาก
ประเทศไทย (มาตรา 70 ทวิ)
Slide 181
รอบระยะเวลาบัญชี (มาตรา 65)
(1) รอบระยะเวลาบัญชีโดยทัว่ ไป เท่ ากับ 12 เดือน
(2) รอบระยะเวลาบัญชีซึ่งน้ อยกว่ า 12 เดือน
ก. บริษัทหรือห้ างฯ เริ่มตั้งใหม่
ข. บริษัทหรือห้ างฯอาจยืน่ คาร้ องขอเปลีย่ นวันสุ ดท้ ายของรอบฯ
ค. บริษัทหรือห้ างฯทีเ่ ลิกกัน (มาตรา 72 วรรคสอง)
ง. บริษัทหรือห้ างฯควบเข้ ากัน (มาตรา 73)
(3) รอบระยะเวลาบัญชีมากกว่ า 12 เดือน
ในกรณีทบี่ ริษัทหรือห้ างฯเลิกกิจการ หากผู้ชาระบัญชี และผู้จัดการ
ไม่ สามารถยืน่ แบบฯได้ ภายในกาหนด ถ้ าได้ ยนื่ คาร้ องต่ ออธิบดี
ภายใน 30 วันนับแต่ วนั ทีเ่ จ้ าพนักงานรับจดทะเบียนเลิก อธิบดีฯ
อาจพิจารณาอนุมัติให้ ขยายรอบฯออกไปได้ (มาตรา 72 วรรคสาม)
Slide 182
ฐานกาไรสุ ทธีิ : ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษี
(1) บ. หรือ หสน. ทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายไทย (กรณีที่ บ. หรือ หสน.ไทยมีสาขาไม่
ว่ าจะอยู่ในหรือนอกประเทศไทย จะต้ องนากาไรสุ ทธิของสาขามารวมกาไรสุ ทธิของ
สานักงานใหญ่ ) (มาตรา 65 และ 66 วรรคแรก)
(2) บ. หรือ หสน. ทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายของต่ างประเทศ ได้ แก่
(ก) บ. หรือ หสน. ต่ างประเทศและกระทากิจการในทีอ่ นื่ ๆ รวมทั้งใน
ประเทศไทย (นากาไรสุ ทธิ เฉพาะ ทีไ่ ด้ จากการกระทากิจการในประเทศไทยมาเสี ย
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล) (มาตรา 66 วรรคสอง)
(ข) บ. หรือ หสน. ต่ างประเทศมีลูกจ้ างหรือผู้ทาการแทน หรือผู้ทาการ
ติดต่ อในการประกอบกิจการในไทย ซึ่งเป็ นเหตุให้ ได้ รับเงินได้ หรือผลกาไรในไทย
(มาตรา 67 ทวิ)
(3) กิจการซึ่งดาเนินการเป็ นทางการค้ าหรือหากาไร โดยรัฐบาล องค์ การของ
รัฐบาลหรือนิตบิ ุคคลต่ างประเทศ
Slide 183
(4) กิจการร่ วมค้ า
ฐานกาไรสุ ทธีิ
การคานวณภาษี
มาตรา 65
กาไรสุ ทธีิ = รายได้ - รายจ่ าย
เงินได้ ที่ต้องเสี ยภาษี คือ กาไรสุ ทธิ ซึ่งคานวณได้ จากรายได้ จาก
กิจการ หรือเนื่องจากกิจการ ที่กระทาในรอบระยะเวลาบัญชีหักด้ วยรายจ่ าย
ตามเงือ่ นไขที่ระบุไว้ ในมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี ...
การคานวณรายได้ และรายจ่ ายให้ ใช้ เกณฑ์ สิทธิ โดยให้ นารายได้ ที่
เกิดขึน้ ในรอบระยะเวลาบัญชีใด แม้ ว่าจะยังไม่ ได้ รับชาระในรอบระยะเวลา
บัญชีน้ัน มารวมคานวณเป็ นรายได้ ในรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน และให้ นา
รายจ่ ายทั้งสิ้นที่เกีย่ วกับรายได้ น้ัน แม้ จะยังมิได้ จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน
มารวมคานวณเป็ นรายจ่ ายของรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน
ในกรณีจาเป็ น ผู้มเี งินได้ จะขออนุมตั ติ ่ ออธิบดีเพือ่ เปลีย่ นแปลงเกณฑ์ สิทธิ์
Slide 184
และวิธีการทางบัญชี ก็ได้ (มาตรา 65)
ฐานกาไรสุ ทธีิ (ภาษีสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี)
(มาตรา 65 , 65 ทวิ , 65 ตรี , 66 และ 76 ทวิ)
รอบระยะเวลาบัญชี = 12 เดือน : คานวณโดยใช้ เกณฑ์ สิทธีิ
กาไรสุ ทธิ (ตามหลักบัญชี) = รายได้ - รายจ่ าย
บวก + รายได้ ที่ประมวลรัษฎากรกาหนด
+ รายจ่ ายต้ องห้ าม
+ รายจ่ ายที่หักเกิน
ปรับปรุง
ตามมาตรา 65 ทวิ , ตรี หัก - รายได้ ที่ประมวลรัษฎากร ยกเว้ น
- รายจ่ ายที่ประมวลรัษฎากรให้ หักได้
กาไรสุ ทธิ (ตามประมวลรัษฎากร) X อัตราภาษี 30% (คงที)่
ยืน่ ทบบ ภ.ง.ด. 50 ภายใน 150 นับทต่ วนั สุ ดท้ ายของรอบระยะเวลาบัญชี
Slide 185
(มาตรา 68 , 68 ทวิ ทละ 69)
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล คานวณจากกาไรสุ ทธีิ
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ
การคานวณกาไรสุ ทธีิเพือ่ เสี ยภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล จะต้ อง
เป็ นไปตามเงือ่ นไขทีบ่ ัญญัตติ ามมาตรา 65 ทวิ ซึ่งมีราย ละเอียดดังนี้
(1) รายการทีร่ ะบุไว้ ในมาตรา 65 ตรีไม่ ให้ ถือเป็ นรายจ่ าย
(รายจ่ ายต้ องห้ าม จะอธีิบายในลาดับถัดไป)
(2) ค่ าสึ กหรอทละค่ าเสื่ อมราคาของทรัพย์ สินให้ หักได้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีีการ เงือ่ นไขทละอัตราที่กาหนดโดย พระราชกฤษฎีกา
ฯ (ฉบับที่ 145 )
Slide 186
Slide 187
Slide 188
ค่ าเสื่ อม : อัตรา SMEs
SMEs คือ บ.หรือ หสน. ที่มีสินทรัพย์ ถาวรซึ่งไม่ รวมที่ดนิ ไม่ เกิน 200 ล้านบาท
และมีการจ้ างแรงงานไม่ เกิน 200 คน
หักเบือ้ งต้ นในวันทีไ่ ด้ มาในอัตราร้ อย
1. คอมพิวเตอร์ , อุปกรณ์ และ
ละ 40 ส่ วนที่เหลือทยอยหัก 3 รอบฯ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
(มาตรา 4 จัตวา(2))
2. อาคารโรงงาน
หักเบือ้ งต้ นในวันทีไ่ ด้ มาในอัตราร้ อย
ละ 25 ส่ วนที่เหลือทยอยหัก 20 รอบ
ฯ (มาตรา 4 เบญจ)
3. เครื่องจักรและอุปกรณ์ ของ
เครื่องจักร
หักเบือ้ งต้ นในวันที่ได้ มาในอัตราร้ อย
ละ 40 ส่ วนที่เหลือทยอยหัก 5 รอบฯ
Slide 189
(มาตรา 4 ฉ)
พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ ๕๓๗ พ.ศ. ๒๕๕๕
การหักค่ าสึ กหรอและค่ าเสื่ อมราคาของทรัพย์ สินประเภทเครื่องจักรที่
ใช้ ในการผลิตสิ นค้ าหรือให้ บริการรับจ้ างผลิตสิ นค้ า ที่บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วน
นิติบุคคล ซึ่งอยู่ในพืน้ ทีท่ ที่ างราชการประกาศให้ เป็ นพืน้ ทีท่ เี่ กิดอุทกภัย และ
ได้ รับความเสี ยหายจากอุทกภัยในระหว่ างวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึง
วันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ ซื้อหรือได้ รับโอนกรรมสิ ทธิ์ เพื่อมีไว้ ในการ
ประกอบกิจการของตนเอง ให้ หักค่ าสึ กหรอและค่ าเสื่ อมราคาเบือ้ งต้ นในวันทีไ่ ด้
ทรัพย์ สินนั้นมาในอัตราร้ อยละ ๔๐ ของมูลค่ าต้ นทุน สาหรับมูลค่ าต้ นทุนส่ วนที่
เหลือให้ ทยอยหัก 5 รอบฯ
ทั้งนี้ เฉพาะทรัพย์ สินทีไ่ ด้ มาและอยู่ในสภาพพร้ อมทีจ่ ะใช้ งานได้ ตาม
ประสงค์ ต้งั แต่ วนั ที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ.
๒๕๕๕ และต้ องไม่ มีลกั ษณะต้ องห้ ามฯ
Slide 190
พระราชกฤษฎีกาฯ ฉบับที่ ๕๓๖ พ.ศ. ๒๕๕๕
ให้ ยกเว้ นภาษีเงินได้ นิติบุคคล ให้ แก่บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล
ซึ่งอยู่ในพืน้ ทีท่ ที่ างราชการประกาศให้ เป็ นพืน้ ทีท่ เี่ กิดอุทกภัยและได้ รับความ
เสี ยหายจากอุทกภัยในระหว่ างวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓๑
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สาหรับเงินได้ เท่ าทีจ่ ่ ายในระหว่ างระยะเวลาดังกล่าวเพือ่
เป็ นค่ าใช้ จ่ายในการได้ มาซึ่งทรัพย์ สินประเภทเครื่องจักรทีใ่ ช้ ในการผลิตสิ นค้ า
หรือให้ บริการรับจ้ างผลิตสิ นค้ าเป็ นจานวนร้ อยละ ๒๕ ของค่ าใช้ จ่ายนั้น
ต้ องเป็ นค่ าใช้ จ่ายทีไ่ ด้ จ่ายไปจริง ตั้งแต่ วนั ที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๕๕๔ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ และต้ องมีใบเสร็จรับเงินทีผ่ ู้รับเงิน
ได้ ออกให้ เป็ นหลักฐานเพือ่ การได้ มาซึ่งเครื่องจักรดังกล่าว
ต้ องหักค่ าสึ กหรอและค่ าเสื่ อมราคาเป็ นระยะเวลาไม่ น้อยกว่ า ๕ ปี นับแต่
วันทีท่ รัพย์ สินนั้นอยู่ในสภาพพร้ อมทีจ่ ะใช้ งานได้ ตามประสงค์
ต้ องจัดทารายงานแสดงรายละเอียดการได้ มาซึ่งทรัพย์ สินประเภท
เครื่องจักรทีใ่ ช้ ผลิตสิ นค้าหรือให้ บริการรับจ้ างผลิตสิ นค้า โดยต้ องมีรายการและ
Slide 191
ข้ อความอย่ างน้ อยตามแบบที่แนบท้ ายประกาศ
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
(3) การตีราคาทรัพย์ สิน
ราคาทรัพย์ สินที่ไม่ ใช่ สินค้ าคงเหลือ ให้ ถือตามราคาที่พงึ
ซื้อทรัพย์ สินนั้นได้ ตามปกติ ทละในกรณีที่มีการตีราคาทรัพย์ สิน
เพิม่ ขึน้ ห้ ามนาราคาที่ตีราคาเพิม่ ขึน้ มารวมคานวณกาไรสุ ทธีิหรือ
ขาดทุนสุ ทธีิ สาหรับทรัพย์ สินรายการใดมีสิทธีิหักค่ าสึ กหรอทละ
ค่ าเสื่ อมราคา ก็ให้ หักค่ าสึ กหรอทละค่ าเสื่ อมราคาในการคานวณกาไร
สุ ทธีิ หรือขาดทุนสุ ทธีิตามหลักเกณฑ์ วิธีีการ เงื่อนไข ทละอัตราเดิม
ที่ใช้ อยู่ก่อนตีราคาทรัพย์ สินเพิม่ ขึน้ โดยให้ หักเพียงเท่ าที่ระยะเวลา
ทละมูลค่ าต้ นทุนที่เหลืออยู่สาหรับทรัพย์ สินนั้นเท่ านั้น
Slide 192
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
(4) การโอนทรัพย์ สิน ให้ บริการ หรือให้ ก้ ยู มื เงิน โดย
ไม่ มคี ่ าตอบททน
ในกรณีโอนทรัพย์ สิน ให้ บริการ หรือให้ ก้ ยู มื เงิน โดย
ไม่ มคี ่ าตอบททน ค่ าบริการ หรือดอกเบีย้ หรือมีค่าตอบททน
ค่ าบริการ หรือดอกเบีย้ ตา่ กว่ าราคาตลาดโดยไม่ มเี หตุอนั
สมควร เจ้ าพนักงานประเมินมีอานาจประเมินค่ าตอบททน
ค่ าบริการ หรือดอกเบีย้ นั้น ตามราคาตลาดในวันที่โอน
ให้ บริการหรือให้ ก้ ยู มื เงิน
Slide 193
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
(5) เงินตรา ทรัพย์ สินหรือหนีส้ ิ นซึ่งมีค่าหรือราคาเป็ นเงินตราต่ างประเทศ ที่
เหลืออยู่ในวันสุ ดท้ ายของรอบฯ ให้ คานวณค่ าหรือราคาเป็ นเงินตราไทย ดังนี้
(ก) กรณีบริษัทหรือห้ างฯ นอกจาก (ข) ให้ คานวณค่ าหรือราคาของ
เงินตรา หรือทรัพย์ สินเป็ นเงินตราไทย ตามอัตราถัวเฉลีย่ ที่ธีนาคารพาณิชย์ รับซื้อ ซึ่ง
ธีนาคารทห่ งประเทศไทยได้ คานวณไว้ ทละให้ คานวณค่ า หรือราคาของหนีส้ ิ นเป็ นเงินตรา
ไทยตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธีนาคารพาณิชย์ ขาย ซึ่งธีนาคารทห่ งประเทศไทยได้ คานวณไว้
(ข) กรณีธีนาคารพาณิชย์ หรือสถาบันการเงินอืน่ ตามที่รัฐมนตรีกาหนด ให้ คานวณ
ค่ าหรือราคาของเงินตรา ทรัพย์ สินหรือหนีส้ ิ นเป็ นเงินตราไทยตามอัตราถัวเฉลีย่ ระหว่ าง
อัตราซื้อ ทละอัตราขายของธีนาคารพาณิชย์ ที่ธีนาคารทห่ งประเทศไทยได้ คานวณไว้
เงินตรา ทรัพย์ สินหรือหนีส้ ิ น ซึ่งมีค่าหรือราคาเป็ นเงินตราต่ างประเทศที่รับมา
หรือจ่ ายไปในระหว่ างรอบฯ ให้ คานวณค่ า หรือราคาเป็ นเงินตราไทยตามราคาตลาดในวันที่
รับมาหรือจ่ ายไปนั้น
Slide 194
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
(6) ราคาสิ นค้ าคงเหลือในวันสุ ดท้ ายของรอบฯ ให้ คานวณตามราคาทุนหรือ
ราคาตลาด ทล้วทต่ อย่ างใดจะน้ อยกว่ า ทละให้ ถือราคานีเ้ ป็ นราคาสิ นค้ าคงเหลือยก
มาสาหรับรอบฯใหม่ ด้วย
การคานวณราคาทุนตามวรรคก่อน เมื่อได้ คานวณตามหลักเกณฑ์ ใด ตาม
วิชาการบัญชี ให้ ใช้ หลักเกณฑ์ น้ันตลอดไป เว้ นทต่ จะได้ รับอนุมัติจากอธีิบดีจึงจะ
เปลีย่ นหลักเกณฑ์ ได้
(7) การคานวณราคาทุนของสิ นค้ าทีส่ ่ งเข้ ามาจากต่ างประเทศนั้น เจ้ า
พนักงานประเมินมีอานาจประเมินโดยเทียบกับราคาทุนของสิ นค้ าประเภททละ
ชนิดเดียวกันทีส่ ่ งเข้ าไปในประเทศอืน่ ได้
Slide 195
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
(8) ถ้ าราคาทุนของสิ นค้ าเป็ นเงินตราต่ างประเทศ ให้ คานวณเป็ นเงินตรา
ไทยตามอัตราทลกเปลีย่ นในท้ องตลาดของวันทีไ่ ด้ สินค้ านั้นมา เว้ นทต่ เงินตรา
ต่ างประเทศนั้น จะทลกได้ ในอัตราทางราชการ ก็ให้ คานวณเป็ นเงินตราไทยตาม
อัตราทางราชการนั้น
(9) การจาหน่ ายหนีส้ ู ญจากบัญชีลกู หนี้ จะกระทาได้ ต่อเมื่อเป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ วิธีีการทละเงื่อนไขทีก่ าหนดโดยกฎกระทรวง (ฉบับที่ 186) ทต่ ถ้า
ได้ รับชาระหนีใ้ นรอบฯใด ให้ นามาคานวณเป็ นรายได้ ในรอบฯ นั้น
หนีส้ ู ญรายใดได้ นามาคานวณเป็ นรายได้ ทล้ว หากได้ รับชาระในภายหลังก็
มิให้ นามาคานวณเป็ นรายได้ อกี
Slide 196
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
หนีส้ ู ญทีจ่ ะจาหน่ ายจากบัญชีลูกหนีต้ ้ องเป็ นหนีท้ ี่มีลกั ษณะ
ดังต่ อไปนี้
(1) ต้ องเป็ นหนีจ้ ากการประกอบกิจการหรือเนื่องจากการ
ประกอบกิจการ หรือหนีท้ ี่ได้ รวมเป็ นเงินได้ ในการคานวณกาไรสุ ทธิ
ทั้งนี้ ไม่ รวมหนีท้ ผี่ ู้เป็ น หรือเคยเป็ นกรรมการหรือหุ้นส่ วนผู้จดั การเป็ น
ลูกหนี้ ไม่ ว่าหนีน้ ้ันจะเกิดขึน้ ก่ อนหรือในขณะทีผ่ ู้น้ันเป็ นกรรมการหรือ
หุ้นส่ วนผู้จดั การ
(2) ต้ องเป็ นหนีท้ ยี่ งั ไม่ ขาดอายุความและมีหลักฐานโดย
ชัดแจ้ งทีส่ ามารถฟ้องลูกหนีไ้ ด้
Slide 197
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
การดาเนินการก่ อนการจาหน่ ายหนี้ แยกเป็ น 3 ระดับ
1. การจาหน่ ายหนีส้ ู ญจาก
1.1 บัญชีลูกหนีข้ องธนาคาร หรือบริษัทเงินทุนฯ มีจานวนไม่ เกิน
200,000 บาท
1.2 บัญชีลูกหนีข้ องบริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลอืน่ ที่มิใช่ ธนาคาร
หรือบริษัทเงินทุนดังกล่าว มีจานวนไม่ เกิน 100,000 บาท (ลูกหนีร้ ายเล็ก)
2. การจาหน่ ายหนีส้ ู ญ มีจานวนไม่ เกิน 500,000 บาท (ลูกหนีร้ ายกลาง)
3. การจาหน่ ายหนีส้ ู ญ มีจานวนเกิน 500,000 บาทขึน้ ไป (ลูกหนีร้ ายใหญ่ )
Slide 198
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
ระดับที่ 1 (ลูกหนีร้ ายเล็ก)
การจาหน่ ายหนีส้ ู ญจาก
1. บัญชีลูกหนีข้ องธนาคาร หรือบริษัทเงินทุนฯ มีจานวนไม่ เกิน
200,000 บาท
2. บัญชีลกู หนีข้ องบริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลอืน่ ทีม่ ิใช่
ธนาคารหรือบริษัทเงินทุนดังกล่าว มีจานวนไม่ เกิน 100,000 บาท
ต้ องดาเนินการ ดังนี้
มีหลักฐานการติดตามทวงถามให้ ชาระหนีต้ ามสมควรแก่กรณี
แล้วแต่ ไม่ ได้ รับชาระหนี้ และหากจะฟ้องลูกหนีจ้ ะต้ องเสี ยค่ าใช้ จ่ายไม่ คุ้มกับหนีท้ ี่
จะได้ รับชาระ
Slide 199
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
ระดับที่ 2 , 3 (ลูกหนีร้ ายกลางและรายใหญ่ )
การจาหน่ ายหนีส้ ู ญจากบัญชีลูกหนี้ ในกรณีหนีข้ องลูกหนีแ้ ต่ ละรายมี
จานวนไม่ เกิน 500,000 บาท และ เกิน 500,000 บาท ขึน้ ไป ต้ องดาเนินการ
(1) ให้ ติดตามทวงถามให้ ชาระหนีต้ ามสมควรแก่กรณี โดยมีหลักฐานการ
ติดตามทวงถามอย่ างชัดแจ้ งและไม่ ได้ รับชาระหนี้ โดยปรากฏว่ า
(ก) ลูกหนีถ้ ึงแก่ความตาย เป็ นคนสาบสู ญ หรือมีหลักฐานว่ าหาย
สาบสู ญไป และไม่ มีทรัพย์ สินใด ๆ จะชาระหนีไ้ ด้
(ข) ลูกหนีเ้ ลิกกิจการ และมีหนีข้ องเจ้ าหนีร้ ายอืน่ มีบุริมสิ ทธิ
เหนือทรัพย์ สินทั้งหมดของลูกหนีอ้ ยู่ในลาดับก่อนเป็ นจานวนมากกว่ าทรัพย์ สิน
Slide 200
ของลูกหนี้
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
ระดับที่ 2 (ลูกหนีร้ ายกลาง) ต้อง
ดาเนินการ...
(2) ได้ ฟ้องลูกหนีใ้ นคดี
แพ่งและศาลได้ มีคาสั่ งรับคาฟ้อง
นั้นแล้ วหรือได้ ยนื่ คาขอเฉลีย่ หนีใ้ น
คดีทลี่ ูกหนีถ้ ูกเจ้ าหนีร้ ายอืน่ ฟ้องใน
คดีแพ่งและศาลได้ มีคาสั่ งรับคาขอ
นั้นแล้ ว
(3) ได้ ฟ้องลูกหนีใ้ นคดี
ล้ มละลายและศาลได้ มคี าสั่ งรับคา
ฟ้องนั้นแล้ วหรือได้ ยนื่ คาขอรับ
ชาระหนีใ้ นคดีทถี่ ูกเจ้ าหนีร้ ายอืน่
ฟ้องในคดีล้มละลาย และศาลได้ มี
คาสั่ งรับคาขอรับชาระหนีน้ ้ันแล้ ว
ระดับที่ 3 (ลูกหนีร้ ายใหญ่ ) ต้องดาเนินการ...
(2) ได้ ฟ้องลูกหนีใ้ นคดีแพ่งหรือได้ ยนื่
คาขอเฉลีย่ หนีใ้ นคดีทลี่ ูกหนีถ้ ูกเจ้ าหนีร้ ายอืน่
ฟ้องในคดีแพ่ง และในกรณีน้ัน ๆ ได้ มีคาบังคับ
หรือคาสั่ งของศาลแล้ วแต่ ลูกหนีไ้ ม่ มีทรัพย์ สิน
ใด ๆ จะชาระหนีไ้ ด้
(3) ได้ ดาเนินการฟ้องลูกหนีใ้ นคดี
ล้ มละลายหรือได้ ยนื่ คาขอรับชาระหนีใ้ นคดีที่
ลูกหนีถ้ ูกเจ้ าหนีร้ ายอืน่ ฟ้องในคดีล้มละลาย และ
ในกรณีน้ัน ๆ ได้ มีการประนอมหนีก้ บั ลูกหนี้
โดยศาลมีคาสั่ งเห็นชอบด้ วยกับการประนอมหนี้
นั้น หรือลูกหนีถ้ ูกศาลพิพากษาให้ เป็ นบุคคล
ล้ มละลายและได้ มกี ารแบ่ งทรัพย์ สินของลูกหนี้
Slide 201
ครั้งแรกแล้ ว
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
มาตรา 82/11 ในกรณีทผี่ ู้ประกอบการจดทะเบียนขายสิ นค้ า หรือให้ บริการ
และได้ นาภาษีขายไปรวม คานวณเพือ่ เสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 82/3 แล้ว
ต่ อมาหากมีหนีส้ ู ญเกิดขึน้ จากการขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการและการจาหน่ าย
หนีส้ ู ญดังกล่าว ได้ เป็ นไปตามจานวน หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทีอ่ ธิบดี
กาหนด ให้ ผู้ประกอบการจดทะเบียนนาภาษีขายทีค่ านวณจากส่ วนของ หนีส้ ู ญ
ดังกล่าวมาหักออกจาก ภาษีขายของตนในเดือนภาษีทไี่ ด้ มีการจาหน่ ายหนีส้ ู ญ
การคานวณส่ วนของหนีส้ ู ญ เพือ่ นามาหักออกจากภาษีขายตามวรรค
หนึ่ง ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทีอ่ ธิบดีกาหนด
หนีส้ ู ญรายใดทีไ่ ด้ จาหน่ ายไปตามวรรคหนึ่งแล้ว ถ้ าผู้ประกอบการจด
ทะเบียนได้ รับชาระในภายหลัง ให้ นาภาษีขายทีค่ านวณจากส่ วนของหนีส้ ู ญตาม
วรรคหนึ่ง ที่ได้ รับชาระดังกล่าวมารวมเป็ นภาษีขายในเดือนภาษีที่ได้ รับชาระ
Slide 202
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
ในกรณีทผี่ ้ ปู ระกอบการจดทะเบียนขายสิ นค้ าหรือให้ บริการ ซึ่งได้ ออกใบกากับภาษีเมื่อ
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ และได้ นาภาษีขายไปรวมคานวณเพือ่ เสี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ แล้ ว ให้ มสี ิ ทธินาภาษีขายทีค่ านวณจากส่ วนของหนีส้ ู ญมาหักออกจากภาษีขาย
ในเดือนภาษีทไี่ ด้ มกี ารจาหน่ ายหนีส้ ู ญ
หนีจ้ ากการขายสิ นค้ าหรือให้ บริการ ต้ องเป็ นหนีท้ มี่ ีลกั ษณะดังนี้
(1) เป็ นหนีจ้ ากการประกอบกิจการทีไ่ ด้ นาไปรวมคานวณเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ แล้ว
(2) เป็ นหนีท้ เี่ กิดจากการขายสิ นค้ าหรือให้ บริการแก่ ผ้ ทู ไี่ ม่ ใช่ ผ้ ูประกอบการจด
ทะเบียนทีค่ านวณภาษีมูลค่ าเพิม่
(3) เป็ นหนีท้ เี่ กิดจากการขายสิ นค้ าหรือให้ บริการ ซึ่งได้ ออกใบกากับภาษีแบบเต็มรู ป
(4) เป็ นหนีท้ ยี่ งั ไม่ ขาดอายุความ และมีหลักฐานโดยชัดแจ้ งทีส่ ามารถฟ้องลูกหนีไ้ ด้
หนีด้ งั กล่ าว ไม่ รวมถึงหนีจ้ ากการขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการที่ผ้ ูเป็ นหรือเคย
เป็ นกรรมการหรือหุ้นส่ วนผู้จัดการเป็ นลูกหนี้ ไม่ ว่าหนีน้ ้ันจะเกิดขึน้ ก่ อนหรือในขณะทีผ่ ้ นู ้ัน
เป็ นกรรมการหรือหุ้นส่ วนผู้จัดการ
การคานวณหาภาษีขายจากส่ วนของหนีส้ ู ญ ให้ นาส่ วนของหนีส้ ู ญนั้นคูณด้ วย
Slide 203
อัตราภาษีมูลค่ าเพิม่ หารด้ วยร้ อยบวกด้ วยอัตราภาษีมูลค่ าเพิม่
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
(10) สาหรับบริษัทจากัดทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายไทย ให้ นาเงินปันผลที่ได้
จากบริษัทจากัดทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายไทย กองทุนรวม หรือสถาบันการเงินทีม่ ี
กฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตั้งขึน้ สาหรับให้ ก้ยู มื เงินเพือ่ ส่ งเสริม
เกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม ทละเงินส่ วนทบ่ งกาไรทีไ่ ด้ จาก
กิจการร่ วมค้ า มารวมคานวณเป็ นรายได้ เพียงกึง่ หนึ่งของจานวนที่ได้ เว้ นทต่
บริษัทจากัดทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายไทยดังต่ อไปนี้ ไม่ ต้องนาเงินปันผลทีไ่ ด้ จาก
บริษัทจากัดทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายไทย กองทุนรวม หรือสถาบันการเงินทีม่ ี
กฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตั้งขึน้ สาหรับให้ ก้ยู มื เงินเพือ่ ส่ งเสริม
เกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม ทละเงินส่ วนทบ่ งกาไรทีไ่ ด้ จาก
กิจการร่ วมค้ า มารวมคานวณเป็ นรายได้
Slide 204
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
(ก) บริษัทจดทะเบียน
(ข) บริษัทจากัดนอกจาก (ก) ซึ่งถือหุ้นในบริษทั จากัดผู้จ่ายเงินปันผลไม่ น้อย
กว่ าร้ อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดทีม่ ีสิทธีิออกเสี ยงในบริษทั จากัดผู้จ่ายเงินปันผล ทละ
บริษทั จากัดผู้จ่ายเงินปันผลไม่ ได้ ถอื หุ้นในบริษทั จากัดผู้รับเงินปันผลไม่ ว่าโดย
ทางตรงหรือโดยทางอ้ อม
ความในวรรคหนึ่งมิให้ ใช้ บังคับ ในกรณีทบี่ ริษัทจากัดหรือบริ ษัทจดทะเบียน มี
เงินได้ ทเี่ ป็ นเงินปันผลทละเงินส่ วนทบ่ งกาไรดังกล่ าว โดยถือหุ้นหรือหน่ วยลงทุนที่
ก่ อให้ เกิดเงินปันผลทละเงินส่ วนทบ่ งกาไรนั้นไว้ ไม่ ถึงสามเดือนนับทต่ วนั ทีไ่ ด้ ห้ ุนหรือ
หน่ วยลงทุนนั้นมาถึงวันมีเงินได้ ดงั กล่ าว หรือได้ โอนหุ้นหรือหน่ วยลงทุนนั้นไปก่ อน
สามเดือนนับทต่ วนั ทีม่ เี งินได้
เงินปันผลทีไ่ ด้ จากการลงทุนของกองทุนสารองเลีย้ งชีพตามมาตรา 65 ตรี (2)
ไม่ ให้ ถือเป็ นเงินปันผลหรือเงินส่ วนทบ่ งกาไร ตามความในวรรคสอง
Slide 205
ยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล : เงินปันผลฯ (ม. 65 ทวิ (10))
(1) - บริษัทตั้งตาม กม.ไทย
(2) - บริษัทตั้งตาม กม.ไทย
(3) - บริษัทตั้งตาม กม.ไทย
เงื่อนไขพิเศษ
รับโอนหุ้นมา
รับเงินปันผล
3 เดือน
3 เดือน
กึง่ หนึ่ง
- บริษัทตั้งตาม กม.ไทย
ไม่ จดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์
ทั้งหมด
- บริษัทตั้งตาม กม.ไทย
จดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์
- บริษัทตั้งตาม กม.ไทย
ทั้งหมด
ไม่ จดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์ แต่ ต้อง
ถือหุ้นผู้จ่ายเงินปันผล
ไม่
น
้
อ
ยกว่
า
ร้
อ
ยละ
25
โอนหุ้นไป
Slide 206
ยกเว้ นภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล : เงินปันผลฯ
พรฎ.ฉบับที่ 263
พ.ศ.2536
กองทุนรวม ทีต่ ้งั ขึน้ ตาม
พ.ร.บ. หลักทรัพย์ ทละตลาด
หลักทรัพย์ พ.ศ.2535
กึง่
หนึ่ง
บริษัทไทย
ทั้งจานวน
บริษัทจดทะเบียน
วันทีไ่ ด้ รับ
ถือก่ อน ถึง 3 เดือน ถือต่ อ 3 เดือนขึน้ ไป
พรฎ.ฉบับที่ 10 พ.ศ.2500 มาตรา 5 ทวิ
(เพิม่ เติมตาม พรฎ.ฉบับที่ 108 พ.ศ.2524)
กิจการร่ วมค้ า
ทั้งจานวน
บ.หรือ หสน.
ไทย
บ.หรือ หสน.
ตปท. ทละ
ประกอบการ
ในไทย
Slide 207
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ทวิ (ต่ อ)
(13) มูลนิธิหรือสมาคมทีป่ ระกอบกิจการซึ่งมีรายได้ ไม่ ต้อง
นาเงินค่ าลงทะเบียน หรือค่ าบารุงทีไ่ ด้ รับจากสมาชิก หรือเงิน หรือ
ทรัพย์ สินที่ได้ รับจากการรับบริจาค หรือจากการให้ โดยเสน่ หา
แล้ วแต่ กรณี มารวมคานวณเป็ นรายได้
(14) ภาษีขายซึ่งบริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลที่เป็ น
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่ ได้ รับหรือพึงได้ รับ และ
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ซึ่งได้ รับคืนเนื่องจากการขอคืน ไม่ ต้องนามารวม
คานวณเป็ นรายได้
Slide 208
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ตรี
มาตรา 65 ตรี รายการต่ อไปนี้ ไม่ ให้ ถือเป็ นรายจ่ ายในการคานวณ
กาไรสุ ทธีิ
(1) เงินสารองต่ าง ๆ นอกจาก
(ก) เงินสารองจากเบีย้ ประกันภัยเพือ่ สมทบทุนประกันชีวติ ทีก่ นั ไว้ ก่อน
คานวณกาไร เฉพาะส่ วนทีไ่ ม่ เกินร้ อยละ 65 ของจานวนเบีย้ ประกันภัยที่ได้ รับใน
รอบระยะเวลาบัญชีหลังจากหักเบีย้ ประกันภัยซึ่งเอาประกันต่ อออกทล้ ว
ในกรณีต้องใช้ เงินตามจานวนซึ่งเอาประกันภัยสาหรับกรมธีรรม์ ประกัน
ชีวติ รายใดไม่ ว่าเต็มจานวนหรือบางส่ วน เงินทีใ่ ช้ ไปเฉพาะส่ วนทีไ่ ม่ เกินเงินสารอง
ตามวรรคก่ อนสาหรับกรมธีรรม์ ประกันชีวติ รายนั้น จะถือเป็ นรายจ่ ายไม่ ได้
ในกรณีเลิกสั ญญาตามกรมธีรรม์ ประกันชีวติ รายใด ให้ นาเงินสารองตาม
วรรคทรก จานวนทีม่ ีอยู่สาหรับกรมธีรรม์ ประกันชีวติ รายนั้น กลับมารวมคานวณ
เป็ นรายได้ ในรอบระยะเวลาบัญชีทเี่ ลิกสั ญญา
Slide 209
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ตรี (ต่ อ)
(ข) เงินสารองจากเบีย้ ประกันภัยเพือ่ สมทบทุนประกันภัยอืน่ ที่กนั ไว้ ก่อนคานวณกาไร
เฉพาะส่ วนทีไ่ ม่ เกินร้ อยละ 40 ของจานวนเบีย้ ประกันภัยที่ได้ รับในรอบฯหลังจากหักเบีย้
ประกันภัยซึ่งเอาประกันต่ อออกทล้วถือเป็ นรายจ่ ายได้
เงินสารองทีก่ นั ไว้ นี้ จะต้ องถือเป็ นรายได้ ในการคานวณกาไรสุ ทธีิเพือ่ เสี ยภาษีในรอบฯ
ปี ถัดไป
(ค) เงินสารองทีก่ นั ไว้ เป็ นค่ าเผือ่ หนีส้ ู ญหรือหนีส้ งสั ยจะสู ญ สาหรับหนีจ้ ากการให้
สิ นเชื่อทีธี่ นาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ได้ กนั
ไว้ ตามกฎหมายฯ ทั้งนี้ เฉพาะส่ วนทีต่ ้งั เพิม่ ขึน้ จากเงินสารองประเภทดังกล่าวทีป่ รากฏในงบ
ดุลของรอบฯก่ อน
เงินสารองส่ วนที่ต้ังเพิม่ ขึน้ ตามวรรคหนึ่ง ทละได้ นามาถือเป็ นรายจ่ ายในการคานวณ
กาไรสุ ทธีิหรือขาดทุนสุ ทธีิไปทล้ วในรอบฯใด ต่ อมาหากมีการตั้งเงินสารองประเภทดังกล่ าว
ลดลง ให้ นาเงินสารองส่ วนทีต่ ้ังลดลงซึ่งได้ ถือเป็ นรายจ่ ายไปทล้ วนั้น มารวมคานวณเป็ น
Slide 210
รายได้ ในรอบฯทีต่ ้งั เงินสารองลดลงนั้น
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ตรี (ต่ อ)
(2) เงินกองทุน เว้ นแต่ กองทุนสารองเลีย้ งชีพซึ่ง เป็ นไป
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทีก่ าหนดโดยกฎกระทรวง ฉบับ
ที่ 183
(3) รายจ่ ายอันมีลกั ษณะเป็ นการส่ วนตัว การให้ โดยเสน่ หา
หรือการกุศลเว้ นแต่ รายจ่ ายเพือ่ การกุศลสาธารณะ หรือเพือ่ การ
สาธารณะประโยชน์ ตามทีอ่ ธิบดีกาหนดโดยอนุมัตริ ัฐมนตรี(ฉบับที่
44) ให้ หักได้ ในส่ วนที่ไม่ เกินร้ อยละ 2 ของกาไรสุ ทธิ และรายจ่ ายเพือ่
การศึกษาหรือเพือ่ การกีฬาตามทีอ่ ธิบดีกาหนดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี
Slide 211
ให้ หักได้ อกี ในส่ วนที่ไม่ เกินร้ อยละ 2 ของกาไรสุ ทธิ
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ตรี (ต่ อ)
(4) ค่ ารับรองหรือค่ าบริการส่ วนทีไ่ ม่ เป็ นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 143
ค่ ารับรองฯทีจ่ ะถือเป็ นรายจ่ ายได้ ต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนด ดังนี้
ข้ อ 1 ค่ ารับรองฯนั้น ต้ องเป็ นค่ ารับรองฯอันจาเป็ นตามธีรรมเนียมประเพณีทางธีุรกิจ
ทัว่ ไป ทละบุคคลซึ่งได้ รับการรับรองฯต้ องมิใช่ ลูกจ้ างของบริษัทหรือห้ างฯ เว้ นทต่ ลูกจ้ าง
ดังกล่าวจะมีหน้ าที่เข้ าร่ วมในการรับรองฯนั้นด้ วย
ข้ อ 2 ค่ ารับรองหรือค่ าบริการ ต้ อง
(1) เป็ นค่ าใช้ จ่ายอันเกีย่ วเนื่องโดยตรงกับการรับรองฯที่จะอานวยประโยชน์ ทก่ กจิ การ
เช่ น ค่ าทีพ่ กั ค่ าอาหาร ค่ าเครื่องดืม่ ค่ าดูมหรสพ ค่ าใช้ จ่าย เกีย่ วกับการกีฬา เป็ นต้ น หรือ
(2) เป็ นค่ าสิ่ งของทีใ่ ห้ ทก่ บุคคลซึ่งได้ รับการรับรองฯไม่ เกิน คนละ 2,000 บาท ในทต่
ละคราวที่มกี ารรับรองฯ
ข้ อ 3 จานวนเงินค่ ารับรองฯให้ นามาหักเป็ นรายจ่ ายได้ เท่ ากับจานวนทีต่ ้ องจ่ าย ทต่ รวมกัน
ต้ องไม่ เกินร้ อยละ 0.3 ของจานวนเงินยอดรายได้ หรือยอดขายที่ต้องนามารวมคานวณกาไร
สุ ทธีิก่อนหักรายจ่ ายใด ในรอบฯหรือของจานวนเงินทุนทีไ่ ด้ รับชาระทล้ วถึงวันสุ ดท้ ายของ
รอบฯ ทล้วทต่ จานวนใดจะมากกว่ า ทั้งนีร้ ายจ่ ายที่จะนามาหักได้ จะต้ องมีจานวนสู งสุ ดSlide
ไม่ เกิ212
น
10 ล้านบาท
ค่ ารับรอง
1. จาเป็ นตามธีรรมเนียม/ประเพณีทางธีุรกิจ
2. รับรองต่ อบุคคลภายนอก
3. อานวยประโยชน์ ทางธีุรกิจ
4. หากเป็ นสิ่ งของต้ องไม่ เกิน 2,000 บาท
เงินทุนชาระทล้ว ณ สิ้นรอบบัญชี
ยอดขาย / รายได้ ก่อนหักรายจ่ าย
เลือกจานวนทีม่ ีค่ามากกว่ า คูณด้ วย 0.3%
ทต่ ไม่ เกิน 10 ล้านบาท
Slide 213
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ตรี (ต่ อ)
(5) รายจ่ ายอันมีลกั ษณะเป็ นการลงทุน หรือรายจ่ ายในการต่ อเติม
เปลีย่ นแปลงขยายออกหรือทาให้ ดีขึน้ ซึ่งทรัพย์ สิน แต่ ไม่ ใช่ เป็ นการซ่ อมแซมให้
คงสภาพเดิม
(6) เบีย้ ปรับและหรือเงินเพิม่ ภาษีอากร ค่ าปรับทางอาญา ภาษีเงินได้ ของ
บริษัทหรือห้ างฯ
(6 ทวิ) ภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีช่ าระหรือพึงชาระ และภาษีซื้อของบริษัทหรือ
ห้ างฯทีเ่ ป็ นผู้ประกอบการจดทะเบียน เว้ นแต่ ภาษีมูลค่ าเพิม่ และภาษีซื้อของ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งต้ องเสี ยภาษีตามมาตรา 82/16 ภาษีซื้อทีต่ ้ องห้ าม
นามาหักในการคานวณภาษีมูลค่าเพิม่ ตามมาตรา 82/5 (4) (ภาษีซื้อจากรายจ่ าย
เพือ่ การรับรองฯ) หรือภาษีซื้ออืน่ ตามทีก่ าหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่
243)
Slide 214
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ตรี (ต่ อ)
(7) การถอนเงินโดยปราศจากค่ าตอบททนของผู้เป็ นหุ้นส่ วนในห้ างฯ
(8) เงินเดือนของผู้ถอื หุ้นหรือผู้เป็ นหุ้นส่ วนเฉพาะส่ วนทีจ่ ่ ายเกินสมควร
(9) รายจ่ ายซึ่งกาหนดขึน้ เองโดยไม่ มีการจ่ ายจริง หรือรายจ่ ายซึ่งควรจะ
ได้ จ่ายในรอบฯอืน่ เว้ นทต่ ในกรณีทไี่ ม่ สามารถจะลงจ่ ายในรอบระยะเวลา
บัญชีใดก็อาจลงจ่ ายในรอบฯทีถ่ ัดไปได้
(10) ค่ าตอบททนทก่ทรัพย์ สินซึ่งบริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลเป็ น
เจ้ าของเองทละใช้ เอง
(11) ดอกเบีย้ ทีค่ ดิ ให้ สาหรับเงินทุน เงินสารองต่ างๆ หรือเงินกองทุนของ
ตนเอง
(12) ผลเสี ยหายอันอาจได้ กลับคืน เนื่องจากการประกันหรือสั ญญาคุ้ม
กันใดๆ หรือผลขาดทุนสุ ทธีิในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนๆ เว้ นทต่ ผลขาดทุน
Slide 215
สุ ทธีิ ยกมาไม่ เกินห้ าปี ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบัน
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ตรี (ต่ อ)
(13) รายจ่ ายซึ่งมิใช่ รายจ่ ายเพือ่ หากาไรหรือเพือ่ กิจการโดยเฉพาะ
(14) รายจ่ ายซึ่งมิใช่ รายจ่ ายเพือ่ กิจการในประเทศไทยโดยเฉพาะ
(15) ค่ าซื้อทรัพย์ สินทละรายจ่ ายเกีย่ วกับการซื้อหรือขายทรัพย์ สินใน
ส่ วนที่เกินปกติ โดยไม่ มเี หตุผลอันสมควร
(16) ค่ าของทรัพยากรธีรรมชาติที่สูญหรือสิ้นไปเนื่องจากกิจการที่ทา
(17) ค่ าของทรัพย์ สินนอกจากสิ นค้ าที่ตีราคาต่าลง ทั้งนี้ ภายใต้ บังคับ
มาตรา 65 ทวิ
(18) รายจ่ ายซึ่งผู้จ่ายพิสูจน์ ไม่ ได้ ว่าใครเป็ นผู้รับ
(19) รายจ่ ายใดๆ ที่กาหนดจ่ ายจากผลกาไรที่ได้ เมือ่ สิ้นสุ ดรอบ
ระยะเวลาบัญชีทล้ ว
Slide 216
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ตรี (ต่ อ)
(20) รายจ่ ายทีม่ ีลกั ษณะทานองเดียวกับทีร่ ะบุไว้ ใน (1) ถึง (19) ตามที่จะได้
กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ปัจจุบันมีพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 315)
1. มูลค่ าต้ นทุนของทรัพย์ สินประเภทรถยนต์ นั่งทละรถยนต์ โดยสารที่มี
ที่นั่งไม่ เกินสิ บคนตามกฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต
เฉพาะส่ วนที่เกิน คันละหนึ่งล้านบาท ทั้งนี้ ไม่ รวมถึงกรณีที่(ยกเว้ น)
(ก) บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลซึ่งประกอบธีุรกิจซื้อขายหรือ ให้
เช่ าซื้อรถยนต์ ประเภทดังกล่าวไว้ เพือ่ เป็ นสิ นค้ า หรือ
(ข) บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลซึ่งประกอบธีุรกิจให้ เช่ ารถยนต์ มี
รถยนต์ ประเภทดังกล่าวไว้ เพือ่ การให้ เช่ า เฉพาะมูลค่ าต้ นทุนส่ วนที่
เหลือหลังจากหักค่ าสึ กหรอทละค่ าเสื่ อมราคาตามมาตรา 65 ทวิ
(2)
Slide 217
เงือ่ นไขการคานวณกาไรสุ ทธีิตามมาตรา 65 ตรี (ต่ อ)
(20) รายจ่ ายทีม่ ลี กั ษณะทานองเดียวกับทีร่ ะบุไว้ ใน (1) ถึง (19) ตามทีจ่ ะได้ กาหนดโดยพระราช
กฤษฎีกา (ปัจจุบัน ฉบับที่ 315) (ต่ อ)
2. ค่ าเช่ าทรัพย์สินประเภทรถยนต์ นั่งทละรถยนต์ โดยสารทีม่ ี ทีน่ ั่งไม่ เกินสิ บคนตาม
กฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต เฉพาะส่ วนทีเ่ กินคันละ 36,000.-บาทต่ อเดือนใน
กรณีทเี่ ช่ าเป็ นรายเดือนหรือรายปี หรือค่ าเช่ าส่ วนทีเ่ กินคันละ 1,200.- บาทต่ อวันในกรณีทเี่ ช่ า
เป็ นรายวัน เศษของเดือนให้ คดิ เป็ นวัน หากเช่ า ไม่ ถึงหนึ่งวัน ให้ คานวณค่ าเช่ าตามส่ วนของ
ระยะเวลาทีเ่ ช่ า ทั้งนี้ โดยรวมภาษีมูลค่ าเพิม่ ด้ วย (ทต่ ไม่ ใช้ บังคับกับรายจ่ ายทีเ่ กิดจากการเช่ า
ทรัพย์สินประเภทรถยนต์ นั่งทละรถยนต์ โดยสารทีม่ ีที่นั่งไม่ เกินสิ บคนตามกฎหมายว่ าด้ วยพิกดั
อัตราภาษีสรรพสามิต ในกรณีทบี่ ริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลซึ่งประกอบธีุรกิจให้ เช่ า
รถยนต์ ได้ เช่ ารถยนต์ ประเภทดังกล่าวไว้ เพือ่ การให้ เช่ า ตาม พ.ร.ฎ. ฉบับที่ 504 พ.ศ.2553)
ใช้ บังคับกับรายจ่ ายทีเ่ ป็ นมูลค่ าต้ นทุนของ หรือค่ าเช่ าทรัพย์ สินประเภทรถยนต์ นั่ง
ทละรถยนต์ โดยสารทีม่ ีที่นั่งไม่ เกินสิ บคนตามกฎหมายว่ า ด้ วยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิต ทีเ่ กิด
จากการซื้อ การเช่ าซื้อ หรือการเช่ าทีไ่ ด้ ทาสั ญญา ตั้งทต่ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2539Slide 218
รายจ่ ายที่หักได้ มากกว่ า 1 เท่ า เช่ น
1. หัก 2 เท่ าของรายจ่ าย กรณีเป็ น
- รายจ่ ายในการส่ งลูกจ้ างเข้ ารับการศึกษา หรือฝึ กอบรมในสถานศึกษา
หรือสถานฝึ กอบรมฝี มือแรงงานทีท่ างราชการจัดตั้งขึน้ หรือที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการคลังประกาศกาหนด
- รายจ่ ายในการฝึ กอบรมให้ แก่ลูกจ้ างตามหลักเกณฑ์ ทอี่ ธิบดี
กรมสรรพากรประกาศกาหนด (พรฎ.437)
2. หัก 2 เท่ าของรายจ่ ายทีใ่ ช้ ในการฝึ กเตรียมเข้ าทางานเพือ่ ประโยชน์ ของ
กิจการผู้ดาเนินการฝึ ก (พรฎ.437)
3. หัก 2 เท่ าของรายจ่ ายค่ าจ้ างทาการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทจี่ ่ ายให้ แก่
หน่ วยงานของรัฐหรือเอกชนตามที่รัฐมนตรีว่า การกระทรวงการคลังประกาศ
กาหนด (พรฎ.297)
Slide 219
รายจ่ ายที่หักได้ มากกว่ า 1 เท่ า เช่ น
4. รายจ่ ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษาฯ : หัก 2 เท่ าของเงินหรือมูลค่ าของ
ทรัพย์ สินทีจ่ ่ ายฯ แต่ ต้องไม่ เกินร้ อยละ 10 ของกาไรสุ ทธิก่อนหักรายจ่ ายเพือ่ การกุศล
สาธารณะหรือเพือ่ การสาธารณะประโยชน์ และเพือ่ การศึกษาหรือเพือ่ การกีฬา
(พรฎ.420)
5. รายจ่ ายในการจัดสร้ างและการบารุงรักษาสนามเด็กเล่ น สวนสาธารณะหรือ
สนามกีฬาฯ : หัก 2 เท่ าของรายจ่ าย แต่ เมื่อรวมกับรายจ่ ายทีจ่ ่ ายไปเป็ นค่ าใช้ จ่ายเพือ่
สนับสนุนการศึกษาสาหรับโครงการทีก่ ระทรวงศึกษาธิการให้ ความเห็นชอบแล้ ว ต้ องไม่
เกินร้ อยละ 10 ของกาไรสุ ทธิก่อนหักรายจ่ ายเพือ่ การกุศลสาธารณะหรือเพือ่ การ
สาธารณประโยชน์ และรายจ่ ายเพือ่ การศึกษาหรือเพือ่ การกีฬา (พรฎ.428)
6. รายจ่ ายในการจัดตั้งสถานรับเลีย้ งเด็กตามกฎหมายว่ าด้ วยการคุ้มครองเด็ก
เพือ่ เป็ นสวัสดิการของลูกจ้ างสาหรับสถานประกอบการของบริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิติ
บุคคล : หัก 2 เท่ าของรายจ่ าย เฉพาะในส่ วนทีไ่ ม่ เกิน 1 ล้ านบาท (พรฎ.526) Slide 220
รายจ่ ายที่หักได้ มากกว่ า 1 เท่ า เช่ น
7. ค่ าจ้ างคนพิการเข้ าทางานในสถานประกอบการ : หัก 2 เท่ าของรายจ่ ายใน
การจ้ างคนพิการทีม่ ีบัตรประจาตัวคนพิการตามกฎหมายว่ าด้ วยการส่ งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวติ คนพิการเข้ าทางานเข้ าทางานในสถานประกอบการ (พรฎ.499)
8. ค่ าจ้ างคนพิการเข้ าทางานในสถานประกอบการเกินกว่ าร้ อยละ 60 ของ
ลูกจ้ างในสถานประกอบการ และมีการจ้ างงานเกินกว่ า 180 วันในรอบระยะเวลาบัญชี :
หัก 3 เท่ าของรายจ่ ายในการจ้ างคนพิการทีม่ ีบตั รประจาตัวคนพิการตามกฎหมายว่ าด้ วย
การส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการเข้ าทางานในสถานประกอบการเกินกว่ า
ร้ อยละ 60 ของลูกจ้ างในสถานประกอบการ และมีการจ้ างงานเกินกว่ า 180 วันในรอบ
ระยะเวลาบัญชี (พรฎ.519)
9. รายจ่ ายสาหรับอุปกรณ์ สิ่ งอานวยความสะดวก หรือบริการสาหรับคนพิการ
: หัก 2 เท่ าของรายจ่ าย สาหรับอุปกรณ์ สิ่ งอานวยความสะดวกหรือบริการอืน่ ๆ เพือ่ ให้
คนพิการเข้ าถึงและใช้ ประโยชน์ ไม่ ว่าจะเป็ นอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ ง
หรือบริการสาธารณะอืน่ ๆ (พรฎ.499)
Slide 221
รายจ่ ายที่หักได้ มากกว่ า 1 เท่ า เช่ น
10. รายจ่ ายในการจัดหาหนังสื อหรือสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ส่ งเสริ มการอ่ าน
สาหรับหอสมุดหรือห้ องสมุดของบริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล : หัก 2 เท่ าของ
รายจ่ าย เฉพาะส่ วนทีไ่ ม่ เกิน 50,000 บาทในแต่ ละรอบระยะเวลาบัญชี (พรฎ. 515)
11. รายจ่ ายในการจัดหาหนังสื อหรือสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ส่ งเสริ มการอ่ าน
สาหรับโรงเรียน สถานศึกษา สถาบันอุดมศึกษา ทั้งของทางราชการและเอกชน : หัก 2 เท่ า
ของรายจ่ าย แต่ ไม่ เกินร้ อยละ 10 ของกาไรสุ ทธิก่อนหักรายจ่ ายเพือ่ การกุศลสาธารณะหรือ
เพือ่ การสาธารณประโยชน์ และรายจ่ ายเพือ่ การศึกษาหรือเพือ่ การกีฬา (พรฎ.515)
12. รายจ่ ายทีจ่ ่ ายให้ องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นในการจัดตั้งหรือสนับสนุนการ
ดาเนินงานของศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็กในสั งกัดองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิน่ : หัก 2 เท่ าของ
รายจ่ าย แต่ ไม่ เกินร้ อยละ 10 ของกาไรสุ ทธิก่อนหักรายจ่ ายเพือ่ การกุศลสาธารณะหรือเพือ่
Slide 222
การสาธารณะประโยชน์ และรายจ่ ายเพือ่ การศึกษา/เพือ่ การกีฬา (พรฎ.526)
รายจ่ ายที่หักได้ มากกว่ า 1 เท่ า เช่ น
13. รายจ่ ายค่ าทรัพย์ สินประเภทเครื่องจักรทีใ่ ช้ ใน การผลิตสิ นค้ าหรือ
ให้ บริการรับจ้ างผลิตสิ นค้า : หัก 1.25 เท่ าของรายจ่ าย สาหรับทรัพย์ สินประเภท
เครื่องจักรทีใ่ ช้ ในการผลิตสิ นค้ าหรือให้ บริการรับจ้ างผลิตสิ นค้ า ให้ แก่บริษัทหรือ
ห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลทีอ่ ยู่ในพืน้ ทีท่ ที่ างราชการประกาศให้ เป็ นพืน้ ทีท่ เี่ กิดอุทกภัย
และได้ รับความเสี ยหายจากอุทกภัยในระหว่ างวันที่ 25 ก.ค. 2554 ถึงวันที่ 31 ธ.ค.
2555 (ทรัพย์ สินต้ องไม่ มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามทีก่ ฎหมายกาหนด) (พรฎ.536)
14. เงินหรือทรัพย์ สินทีบ่ ริจาคเพือ่ ช่ วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยตั้งแต่ วนั ที่ 1
ก.ย. 2554 ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 2554 : หัก 1.5 เท่ าของเงินหรือทรัพย์ สินทีบ่ ริจาค เมื่อ
รวมกับรายจ่ ายเพือ่ การกุศลสาธารณะหรือการสาธารณะประโยชน์ ตามมาตรา 65 ตรี
(3) แห่ งประมวลรัษฎากรแล้วต้ องไม่ เกินร้ อยละ 2 ของกาไรสุ ทธิ (พรฎ.529)Slide 223
รายจ่ ายที่หักได้ มากกว่ า 1 เท่ า เช่ น
15. รายจ่ ายค่ าทรัพย์ สินประเภทวัสดุอุปกรณ์ หรือเครื่องจักรทีม่ ีผลต่ อการ
ประหยัดพลังงาน (รวมค่ าติดตั้ง) ไม่ รวมถึงยานพาหนะ และวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร
ทีใ่ ช้ กบั ยานพาหนะ : หัก 1.25 เท่ าของรายจ่ าย สาหรับวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรทีม่ ี
สภาพพร้ อมใช้ งาน และไม่ เคยผ่ านการใช้ งานมา ซึ่งต้ องได้ มาและใช้ งานภายในวันที่ 31
ธ.ค. 2555 (พรฎ.532)
16. เงินได้ ทบี่ ริจาคให้ แก่ โครงการฝึ กอบรมอาชีพและการจัดกิจกรรมที่เกีย่ วข้ อง
กับการบาบัด แก้ ไข ฟื้ นฟู และสงเคราะห์ เด็กและเยาวชนของสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก
และเยาวชนหรือศูนย์ ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ในกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยาวชน กระทรวงยุตธิ รรม : หัก 2 เท่ าของรายจ่ ายทีบ่ ริจาค แต่ เมื่อรวมกับรายจ่ ายทีจ่ ่ าย
เป็ นค่ าใช้ จ่ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษา และรายจ่ ายทีจ่ ่ ายเป็ นค่ าใช้ จ่ายในการจัดสร้ างและ
การบารุงรักษาสนามเด็กเล่ น สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬาของเอกชนทีเ่ ปิ ดให้ ประชาชน
ใช้ เป็ นการทัว่ ไปโดยไม่ เก็บค่ าบริการใด ๆ หรือสนามเด็กเล่ น สวนสาธารณะ หรื อสนาม
กีฬาของทางราชการแล้ วต้ องไม่ เกินร้ อยละ 10 ของกาไรสุ ทธิก่อนหักรายจ่ ายเพือ่ การกุศล
สาธารณะหรือเพือ่ การสาธารณประโยชน์ และรายจ่ ายเพือ่ การศึกษาหรือเพือ่ การกีฬา
Slide 224
(พรฎ.541)
รายจ่ ายที่หักได้ มากกว่ า 1 เท่ า เช่ น
17. หัก 2 เท่ าของรายจ่ ายที่ได้ จ่ายเป็ นค่ าเช่ าพืน้ ที่ ค่ าก่ อสร้ าง
สถานที่จัดแสดง ค่ าประกันภัย ค่ าระวาง หรือค่ าขนส่ งสิ นค้ าและอุปกรณ์ ที่
ใช้ ในการเข้ าร่ วมงานออกร้ าน งานนิทรรศการ หรืองานแสดงสิ นค้ าใน
ประเทศ ที่ได้ จดั ขึน้ ในระหว่ างวันที่ 1 มกราคม 2555 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน
2555 ทั้งนี้ เฉพาะกรณีทบี่ ริษทั หรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคลมีหนังสื อรับรอง
จากหน่ วยงานของรัฐว่ าได้ เข้ าร่ วมงานจริง (พรฎ.545).
ฯลฯ
Slide 225
3 อัตราภาษี : มาตรการภาษีเพือ่ ส่ งเสริม SMEs
ให้ ลดอัตราภาษีเงินได้ เฉพาะบริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลทีม่ ที ุน
ทีช่ าระแล้วในวันสุ ดท้ ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่ เกิน 5 ล้านบาท
กาไรสุ ทธิ
1 – 150,000
150,001 – 1,000,000
1,000,001 – 3,000,000
3,000,001 ขึน้ ไป
อัตราภาษี
ยกเว้ น
15 %
25 %
30 %
ให้ ใช้ บังคับแก่ กาไรสุ ทธิของบริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิตบิ ุคคล ทีเ่ กิดขึน้ ในรอบ
ระยะเวลาบัญชีซึ่งเริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงรอบฯ ปี 2554 (พรฎ.471/2551)
Slide 226
ลดอัตราภาษี ให
: พระราชกฤษฎี
้ลดอัตราภาษีเงิกนาได(ฉบั
้ บ
นิตบ
ิ ุคคล
และคงจั
บในอัตรา
ที่ 530)ดเก็
พ.ศ.2554
ดังตอไปนี
้ เป็ นเวลา 3 รอบระยะเวลา
่
บัญชีตอเนื
่ ่องกัน
(๑) ร้อยละ 23 ของกาไร
สุทธิของบริษท
ั หรือห้างหุ้นส่วนนิตบ
ิ ุคคล
สาหรับหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชีแรกทีเ่ ริม
่
ในหรือหลังวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.
๒๕๕๕
(๒) ร้อยละ 20 ของกาไร
สุทธิของบริษท
ั หรือห้างหุ้นส่วนนิตบ
ิ ุคคล
Slide 227
สาหรับสองรอบระยะเวลาบัญชีถด
ั มาทีเ่ ริม
่
อัตราภาษี : มาตรการภาษีเพือ่ ส่ งเสริม SMEs
บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล ทีม่ ีทุนจดทะเบียนชาระแล้วในวัน
สุ ดท้ ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่ เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้ จากการขายสิ นค้ า
และให้ บริการไม่ เกิน 30 ล้านบาท ในรอบระยะเวลาบัญชี ตั้งแต่ รอบระยะเวลา
บัญชีปี 2555 เป็ นต้ นไป(พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 530) พ.ศ.2554)
รอบระยะเวลาบัญชีปี 2555 รอบระยะเวลาบัญชีปี 2556
กาไรสุ ทธิ(บาท)
อัตราภาษี (ร้ อยละ)
อัตราภาษี (ร้ อยละ)
1 - 150,000
150,001 - 1,000,000
1,000,001 บาทขึน้ ไป
ยกเว้ น
ยกเว้ น
15
15
23
20
Slide 228
ตัวอย่ าง
2. ฐานภาษี
3. อัตราภาษี
รอบระยะเวลาบัญชี = 12 เดือน : คานวณโดยใช้ เกณฑ์ สิทธิ
1,000,000
= 2,000,000 -
ปรับปรุง
บวก + ให้ กรรมการกู้ยมื เงินโดยไม่ คดิ ดอกเบีย้ 10,000
+ จ่ ายเงินช่ วยงานแต่ งงาน กก.ผู้จัดการ 10,000
+ จ่ ายค่ าเช่ าสานักงานของรอบฯ ปี ก่อน 40,000
หัก - รายได้ เงินปันผล 20,000 (ยกเว้ นกึง่ หนึ่ง)(10,000)
กาไรสุ ทธิทางบัญชี
ตามมาตรา 65 ทวิ , ตรี
=
รายได้
-
1,000,000
รายจ่ าย
1,050,000 X 30% = 315,000
กาไรสุ ทธิทางภาษี
x อัตราภาษี (คงที)่ = ภาษีเงินได้ นิติบุคคล
ยืน่ แบบ ภ.ง.ด. 50 ภายใน 150 นับแต่ วนั สุ ดท้ ายของรอบระยะเวลาบัSlide
ญชี 229
การคานวณภาษีครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี
การคานวณเงินได้ นิตบิ ุคคลครึ่งรอบระยะเวลาบัญชีน้ัน ได้ มีบัญญัติไว้ ใน
มาตรา 67 ทวิ และ 67 ตรี แห่ งประมวล รัษฎากรดังนี้
(1) ในกรณีบริษัทหรือห้ างฯ นอกจากทีก่ ล่ าวใน (2) ให้ จัดทาประมาณการ
กาไรสุ ทธิฯ และคานวณภาษีจากกึง่ หนึ่งของประมาณการกาไรสุ ทธิในรอบฯนั้น
(2) ในกรณีบริษทั จดทะเบียน ธีนาคารพาณิชย์ ฯ หรือ บริษทั เงินทุน
บริษัทหลักทรัพย์ หรือ บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ หรือ บริษัทหรือห้ างฯ ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีีการ ทละเงือ่ นไขทีอ่ ธีิบดีกาหนดให้ คานวณภาษีจากกาไรสุ ทธีิของ
รอบระยะเวลาหกเดือนนับทต่ วนั ทรกของรอบฯตามเงือ่ นไขทีร่ ะบุไว้ ในมาตรา 65
ทวิ ทละ 65 ตรี
จะต้ องยืน่ ทบบทสดงรายการพร้ อมชาระภาษี(ถ้ ามี) ตามทบบ ภ.ง.ด.51
ภายใน 2 เดือนนับจากวันสุ ดท้ ายของทุกเดือนทรกของรอบฯ
กรณีมีรอบฯทรกหรือรอบฯสุ ดท้ าย น้ อยกว่ า 12 เดือน ไม่ ต้องยื่นทบบฯ
Slide 230
ครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี (ภ.ง.ด.51)
ฐานกาไรสุ ทธีิ (ภาษีครึ่งรอบระยะเวลาบัญชี) (มาตรา 67 ทวิ ทละ ตรี)
บริษัทหรือห้ างฯ โดยทัว่ ไป
ให้ จัดทาประมาณการกาไรสุ ทธีิฯ
บริษัทจดทะเบียน , ธีนาคารพาณิชย์ ฯ , บริษัท
เงินทุน , บริษัทหลักทรัพย์ , บริษัท
เครดิตฟองซิเอร์ , บริษัทหรือห้ างฯ ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีีการ ทละเงือ่ นไขทีอ่ ธีิบดีกาหนด
คานวณภาษีจากกึง่ หนึ่งของ
ประมาณการกาไรสุ ทธีิ
ให้ คานวณภาษีจากกาไรสุ ทธีิของรอบระยะเวลา
หกเดือนนับทต่ วนั ทรกของรอบฯ ตามเงือ่ นไข ที่
ระบุไว้ ในมาตรา 65 ทวิ ทละ 65 ตรี
ยืน่ ทบบ ภ.ง.ด. 51 ภายใน 2 เดือน
นับทต่ วนั สุ ดท้ ายของ 6 เดือนทรกของรอบระยะเวลาบัญชี
Slide 231
ตัวอย่ าง
บริษัทหรือห้ างฯ โดยทัว่ ไป
ให้ จัดทาประมาณการกาไรสุ ทธีิฯ
คานวณภาษีจากกึง่ หนึ่งของ
ประมาณการกาไรสุ ทธีิ
ตัวอย่ าง
บริษทั โคราช จากัด ทุนจดทะเบียนชาระทล้ ว
10 ล้ านบาท ประกอบกิจการรับเหมาก่ อสร้ าง
ในรอบฯ ปี 2554 ได้ ประมาณการกาไรสุ ทธีิ
2,000,000 บาท
ภาษีครึ่งรอบฯ = 1,000,000 x 30%
= 300,000 บาท
ยืน่ ทบบ ภ.ง.ด. 51 ภายใน 2 เดือน
นับทต่ วนั สุ ดท้ ายของ 6 เดือนทรกของรอบระยะเวลาบัญชี
Slide 232
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล : ฐานยอดรายได้ ก่อนหักรายจ่ าย
มาตรา 67
บัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (2)(จ) ทละ พรฎ.(ฉบับ250)
บ.หรือ หสน.ฯ ต่ างประเทศนั้น กระทา
กิจการในประเทศไทย และกิจการทีก่ ระทา
นั้นเป็ นกิจการขนส่ งระหว่ างประเทศ
(1) กรณีรับขนคนโดยสาร รายได้ ทเี่ รียกเก็บใน
ประเทศไทย ร้ อยละ 3
(2) กรณีรับขนของ รายได้ ทเี่ รียกเก็บ เนื่องใน
การรับขนของออกจากประเทศไทย ร้ อยละ 3
มูลนิธีิหรือสมาคม
ที่ประกอบกิจการมีรายได้
(1) เงินได้ ประเภทที่ 8 ร้ อยละ 2
(2) เงินได้ อนื่ ๆ
ร้ อยละ 10
รายได้ ทไี่ ด้ รับการยกเว้ น (ม.65 ทวิ(13))
(ก) ค่ าลงทะเบียนหรือค่ าบารุ ง
(ข) เงิน/ทรัพย์สินที่รับบริจาค
(ค) เงิน/ทรัพย์สินที่รับจากการให้
ยืน่ ทบบ ภ.ง.ด. 52
ยืน่ ทบบ ภ.ง.ด. 55
ภายใน 150 นับทต่ วนั สุ ดท้ ายของรอบระยะเวลาบัญชี
Slide 233
มาตรา 67
ตัวอย่ าง
บ.หรือ หสน.ฯ ต่ างประเทศนั้น กระทา
กิจการในประเทศไทย ทละกิจการทีก่ ระทา
นั้นเป็ นกิจการขนส่ งผ่ านประเทศต่ าง ๆ
(1) กรณีรับขนคนโดยสาร รายได้ ทเี่ รียกเก็บใน
ประเทศไทย ร้ อยละ 3
(2) กรณีรับขนของ รายได้ ทเี่ รียกเก็บ เนื่องใน
การรับขนของออกจากประเทศไทย ร้ อยละ 3
ตัวอย่ าง
บริษัท เอบีซี จากัด ตั้งขึน้ ตามกฎหมายของ
ต่ างประเทศ มีสาขาในประเทศไทย ประกอบ
กิจการขนส่ งระหว่ างประเทศ มีรายได้ ในรอบฯ
ปี 2554 ดังนี้
- ค่ าโดยสาร เรียกเก็บในประเทศไทย 2 ล้ าน
- ค่ าโดยสาร เรียกเก็บนอกประเทศไทย 3 ล้ าน
- ค่ าระวางส่ งสิ นค้ าออกจากประเทศไทย 4 ล้ าน
- ค่ าระวางนาสิ นค้ าเข้ ามาในประเทศไทย 5 ล้ าน
ภาษี = 6,000,000 x 3%
= 180,000 บาท
ยืน่ ทบบ ภ.ง.ด. 52
ภายใน 150 นับทต่ วนั สุ ดท้ ายของรอบระยะเวลาบัญชี
Slide 234
ตัวอย่ าง
บัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (2)(จ) ทละ พรฎ.(ฉบับ250)
มูลนิธีิหรือสมาคม ที่ประกอบกิจการมีรายได้
มิได้ ถูกประกาศให้ เป็ นองค์ กรสาธีารณกุศล
(1) เงินได้ ประเภทที่ 8 ร้ อยละ 2
(2) เงินได้ อนื่ ๆ
ร้ อยละ 10
รายได้ ทไี่ ด้ รับการยกเว้ น (ม.65 ทวิ(13))
(ก) ค่ าลงทะเบียนหรือค่ าบารุ ง
(ข) เงิน/ทรัพย์สินที่รับบริจาค
(ค) เงิน/ทรัพย์สินที่รับจากการให้
ตัวอย่ าง
สมาคมชาวไร่ มีรายได้ ในรอบฯ ปี 2554 ดังนี้
- ค่ าลงทะเบียนทีไ่ ด้ รับจากสมาชิก 50,000 บาท
- เงินบริจาค
60,000 บาท
- ดอกเบีย้ เงินฝาก
70,000 บาท
- ค่ าขายหนังสื อ
80,000 บาท
รายได้ รวมทั้งสิ้น................................. 260,000 บาท
มีรายจ่ าย รวมทั้งสิ้น............................ 300,000 บาท
ภาษี = (70,000 x 10%) + (80,000 x 2%)
= 8,600 บาท
ยืน่ ทบบ ภ.ง.ด. 55
ภายใน 150 นับทต่ วนั สุ ดท้ ายของรอบระยะเวลาบัญชี
Slide 235
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล : ฐานเงินได้ ทจี่ ่ ายจากหรือในประเทศไทย
มาตรา 70 ทละบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (2)(ข)(ค)
จ่ ายเงินได้ ประเภทที่
2 , 3 , 4 , 5 หรือ 6
ผู้จ่ายเงิน
หักภาษี ณ ทีจ่ ่ าย
ทุกคน
นาส่ งสรรพากร
ยืน่ แบบ ภ.ง.ด.54 ภายใน 7 วัน
นับแต่ วนั สิ้นเดือนของเดือนทีจ่ ่ าย
ผู้รับเงิน
• บริษัทหรือห้ างฯ ที่ต้งั ขึน้
ตามกฎหมายต่ างประเทศ
• มิได้ ประกอบกิจการใน
ไทย
ร้ อยละ 15
ยกเว้ น
เงินปันผล
ร้ อยละ 10
ให้ บริษัทหรือห้ างฯ ทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายต่ างประเทศ
เสี ยภาษี โดยให้ ผ้ จู ่ ายหักภาษีจากเงินได้ พงึ ประเมิน
มาตรา 40 (2) – (6) ทีจ่ ่ าย ตามอัตราภาษีทกี่ ฎหมาย
Slide 236
กาหนด แล้วนาส่ งสรรพากรพร้ อมกับยืน่ แบบ ภ.ง.ด.54
ตัวอย่ างที่ 1
บริษัท เอ จากัด ตั้งขึน้ ตามกฎหมายของประเทศบราซิล และมิได้ ประกอบ
กิจการในประเทศไทย ได้ รับดอกเบีย้ เงินกู้ยมื 100,000 บาท จากบริษัท
นครราชสี มาการโรงแรม จากัด กรณีนี้ บริษัท เอ จากัด มีหน้ าทีต่ ้ องเสี ยภาษีเงินได้
นิติบุคคล โดยให้ ผู้จ่าย คือ บริษัท นครราชสี มาการโรงแรม จากัด มีหน้ าทีห่ ักภาษี
จากเงินได้ พงึ ประเมินทีจ่ ่ าย ดังนี้
1. เงินได้ พงึ ประเมิน (ดอกเบีย้ เป็ นเงินได้ ประเภทที่ 4 (ก) 100,000
2. ต้ องหักภาษีในอัตราร้ อยละ 15 (100,000 x 15%)
= 15,000
บริษัท นครราชสี มาการโรงแรม จากัด ต้ องยืน่ นาส่ งภาษีเงินได้ นิติบุคคล
ด้ วยแบบ ภ.ง.ด.54 ภายใน 7 วันนับแต่ วนั สิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้ พงึ
ประเมิน ณ สานักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ าขาท้ องที่ หรือยืน่ แบบฯ ผ่ านเครือข่ าย
Slide 237
อินเทอร์ เน็ต www.rd.go.th (มาตรา 70 และบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (2)(ข))
ตัวอย่ างที่ 2
บริษัท ปากช่ อง จากัด ประกอบกิจการผลิตเครื่องจักร ได้ จ่ายค่ าลิขสิ ทธิ์ให้
บริษัท เอ จากัด ซึ่งตั้งขึน้ ตามกฎหมายของประเทศบราซิล มิได้ ประกอบกิจการใน
ประเทศไทย จานวนเงิน 1,000,000 บาท กรณีนี้ บริษัท เอ จากัด มีหน้ าที่ต้องเสี ย
ภาษีเงินได้ นิติบุคคล โดยให้ ผู้จ่าย คือ บริษัท ปากช่ อง จากัด มีหน้ าทีห่ ักภาษีจาก
เงินได้ พงึ ประเมินทีจ่ ่ าย ดังนี้
1. เงินได้ พงึ ประเมิน (ค่ าลิขสิ ทธิ์ เป็ นเงินได้ ประเภทที่ 3)
1,000,000
2. ต้ องหักภาษี ในอัตราร้ อยละ 15 (1,000,000 x 15%) =
150,000
บริษัท ปากช่ อง จากัด ต้ องยืน่ นาส่ งภาษีเงินได้ นิติบุคคลด้ วยแบบ ภ.ง.ด.54
ภายใน 7 วันนับแต่ วนั สิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้ พงึ ประเมิน ณ สานักงาน
สรรพากรพืน้ ทีส่ าขาท้ องที่ หรือยืน่ แบบฯ ผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต www.rd.go.th
Slide 238
(มาตรา 70 และบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (2)(ข))
ตัวอย่ างที่ 3
บริษัท บี จากัด ตั้งขึน้ ตามกฎหมายของประเทศบราซิล และมิได้ ประกอบ
กิจการในประเทศไทย ได้ รับเงินปันผล 100,000 บาท จากบริษัท โคราช จากัด
กรณีนี้ บริษัท บี จากัด มีหน้ าทีต่ ้ องเสี ยภาษีเงินได้ นิติบุคคล โดยให้ ผู้จ่าย คือ
บริษัท โคราช จากัด มีหน้ าทีห่ ักภาษีจากเงินได้ พงึ ประเมินที่จ่าย ดังนี้
1. เงินได้ พงึ ประเมิน (เงินปันผล เป็ นเงินได้ ประเภทที่ 4 (ข) 100,000
2. ต้ องหักภาษีในอัตราร้ อยละ 10 (100,000 x 10%)
= 10,000
บริษัท โคราช จากัด ต้ องยืน่ นาส่ งภาษีเงินได้ นิติบุคคลด้ วยแบบ ภ.ง.ด.54
ภายใน 7 วันนับแต่ วนั สิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้ พงึ ประเมิน ณ สานักงาน
สรรพากรพืน้ ทีส่ าขาท้ องที่ หรือยืน่ แบบฯ ผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
Slide 239
www.rd.go.th (มาตรา 70 และบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (2)(ค))
ภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคล : ฐานการจาหน่ ายกาไรไปนอกประเทศ
มาตรา 70 ทวิ ทละบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (2)(ง)
ผู้จาหน่ ายกาไร
ส่ งออกกาไร
ผู้รับกาไร
ร้ อยละ 10
บริษทั หรือ หสน.
ต่ างประเทศ
หักภาษีนาส่ งสรรพากร
จาหน่ ายเงินกาไรหรือเงิน ประเภทอืน่ ใดทีก่ นั ไว้
จากกาไรหรือทีถ่ ือได้ ว่าเป็ นเงินกาไร ออกไปจาก
ประเทศไทย ให้ เสี ยภาษีเงินได้ โดยหักภาษีจาก
จานวนเงินทีจ่ าหน่ าย
ยืน่ แบบ ภ.ง.ด 54 ภายใน 7 วัน
นับแต่ วนั สิ้นเดือนของเดือนทีจ่ ่ าย
Slide 240
ตัวอย่ าง
บริษัท ซี จากัด เป็ นสาขาของบริษัทต่ างประเทศทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายของ
ประเทศบราซิล และประกอบกิจการในประเทศไทย บริษัทฯ ต้ องการจาหน่ ายเงิน
กาไรไปให้ กบั บริษัทฯ สานักงานใหญ่ ที่ประเทศบราซิล 500,000 บาท กรณีนี้
บริษัทฯ สาขาในประเทศไทย ต้ องหักภาษีจากกาไรทีจ่ าหน่ ายออกไป ดังนี้
1. กาไรที่จาหน่ ายออกไปนอกประเทศ
500,000
2. ต้ องหักภาษีจากกาไรทีจ่ าหน่ าย ในอัตราร้ อยละ 10
= 50,000
บริษัท ซี จากัด สาขาในประเทศไทย ทีจ่ าหน่ ายเงินกาไร ต้ องยื่นแบบ
ภ.ง.ด.54 ภายใน 7 วันนับแต่ วนั สิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้ พงึ ประเมิน ณ
สานักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ าขาท้ องที่ หรือยืน่ แบบฯ ผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
Slide 241
www.rd.go.th (มาตรา 70 ทวิ และบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (2)(ง))
www.rd.go.th
[email protected]
e-Revenue
ภาษีมล
ู คาเพิ
ม
่
่
Value Added Tax :
Slide 242
ภาษีมูลค่ าเพิม่
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่
ด้ านการซื้อ
ด้ านการขาย
เรียกใบกากับภาษีซื้อ
ออกใบกากับภาษีขาย
การให้ บริการ ไม่ ต้องจัดทา
รายงานภาษีซื้อ
รายงานสิ นค้ าฯ รายงานภาษีขาย
กรอกรายการในแบบ ภ.พ. 30
ภาษีทตี่ ้ องชาระ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ
ยืน่ แบบ ภ.พ. 30 (เป็ นรายเดือนภาษี)
ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
Slide 243
1. ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
2. กิจการที่ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
3. กิมีจรการที
รับนยกเว้
่
ายรัไ่ บด้เกิ
กวา่ นภาษีมูลค่ าเพิม
1. ผู้ประกอบการขายสิ นค้ าหรือ
1.8 ลานบาท
้
ให้ บริการในทางธุรกิจ หรือ
ตอปี
ต้องยืน
่ คา
่
วิชาชีพ ในราชอาณาจักร
ขอจดทะเบียน
ภาษีมล
ู คาเพิ
่
่ ม
ภายใน 30 วัน
นับแตวั
่ ี
่ นทีม
รายรับเกินกวา่
1.8 ลานบาท
้
ตอปี
่
ยกเว้ น VAT : เช่ น พืชผล /สั ตว์ /ปุ๋ ย/อาหารสั
ตว์ /ยารักษาพืชหรือสั ตว์ /หนังสื อ
* มาตรา 82 , 77/2 , 85/1 , 81*
/การขนส่ ง/การให้ เช่ าบ้ าน เป็ นต้ น
2. ผู้นาเข้ า
Slide 244
1. ผู้มหี น้ าทีเ่ สี ยภาษี (ต่ อ)
มาตรา 77/2 การกระทากิจการดังต่ อไปนีใ้ นราชอาณาจักร
ให้ อยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามบทบัญญัติในหมวดนี้
(1) การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการโดยผู้ประกอบการ
(2) การนาเข้ าสิ นค้ าโดยผู้นาเข้ า
การให้ บริการในราชอาณาจักร ให้ หมายถึง บริการที่ทาใน
ราชอาณาจักร โดยไม่ คานึงว่ าการใช้ บริการนั้นจะอยู่ในต่ างประเทศ
หรือในราชอาณาจักร
การให้ บริการที่ทาในต่ างประเทศและได้ มีการใช้ บริ การนั้นใน
ราชอาณาจักร ให้ ถือว่ าการให้ บริการนั้นเป็ นการให้ บริการใน
ราชอาณาจักร
Slide 245
2. กิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
(1) การขายสิ นค้ าในราชอาณาจักร
มาตรา 77/1 (8) " ขาย " หมายความว่ า จาหน่ าย จ่ าย โอนสิ นค้ า
ไม่ ว่าจะมีประโยชน์ หรือค่ าตอบททนหรือไม่ ทละให้ หมายความรวมถึง
(ก) สั ญญาให้ เช่ าซื้อสิ นค้ า สั ญญาซื้อขายผ่ อนชาระที่
กรรมสิ ทธีิ์ในสิ นค้ ายังไม่ โอนไปยังผู้ซื้อเมื่อได้ ส่งมอบสิ นค้าให้ ผ้ซู ื้อทล้ว หรือ
สั ญญาจะขายสิ นค้ าทีเ่ ป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ทละเงื่อนไขที่อธีิบดีกาหนดโดย
อนุมัติรัฐมนตรี
(ข) ส่ งมอบสิ นค้ าให้ ตัวททนเพือ่ ขาย
(ค) ส่ งสิ นค้ าออกนอกราชอาณาจักร
(ง) นาสิ นค้ าไปใช้ ไม่ ว่าประการใดๆ เว้ นทต่ การนาสิ นค้ าไปใช้
เพือ่ การประกอบกิจการของตนเอง โดยตรงตามหลักเกณฑ์ วิธีีการ ทละ
Slide 246
เงื่อนไขที่อธีิบดีกาหนด
2. กิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(1) การขายสิ นค้ าในราชอาณาจักร (ต่ อ)
มาตรา 77/1 (8) " ขาย " หมายความว่ า จาหน่ าย จ่ าย โอนสิ นค้ า
ไม่ ว่าจะมีประโยชน์ หรือค่ าตอบททนหรือไม่ ทละให้ หมายความรวมถึง (ต่ อ)
(จ) มีสินค้ าขาดจากรายงานสิ นค้ าทละวัตถุดิบตามมาตรา 87
(3) หรือมาตรา 87 วรรคสอง
(ฉ) มีสินค้ าคงเหลือทละหรือทรัพย์ สินทีผ่ ู้ประกอบการ มีไว้ ใน
การประกอบกิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ ทต่ ไม่ รวมถึงสิ นค้ าคงเหลือ
ทละหรือทรัพย์ สินดังกล่าวของผู้ประกอบการซึ่งได้ ควบเข้ ากัน หรือได้ โอน
กิจการทั้งหมดให้ ทก่กนั ทั้งนี้ ผู้ประกอบการใหม่ อนั ได้ ควบเข้ ากัน หรือผู้รับ
โอนกิจการต้ องอยู่ในบังคับทีต่ ้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 82/3
(ช) กรณีอนื่ ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
Slide 247
2. กิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) การให้ บริการในราชอาณาจักร
มาตรา 77/1 (10) " บริการ " หมายความว่ า การกระทาใด ๆ อัน
อาจหาประโยชน์ อนั มีมูลค่ าซึ่งมิใช่ เป็ นการขายสิ นค้ า ทละให้ หมายความ
รวมถึงการใช้ บริการของตนเอง ไม่ ว่าประการใดๆ ทต่ ท้งั นีไ้ ม่ รวมถึง
(ก) การใช้ บริการหรือการนาสิ นค้ าไปใช้ เพือ่ ประกอบกิจการ
ของตนเองโดยตรง ตามหลักเกณฑ์ วิธีีการ ทละเงื่อนไขทีอ่ ธีิบดีกาหนด
(ข) การนาเงินไปหาประโยชน์ โดยการฝากธีนาคารหรือซื้อ
พันธีบัตรหรือหลักทรัพย์
(ค) การกระทาตามทีอ่ ธีิบดีกาหนดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี Slide 248
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
(1) กิจการทีไ่ ม่ อยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
“มาตรา 77/3 นอกจากกรณีตามมาตรา 91/4 กิจการใดทีอ่ ยู่ใน
บังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/2 หรือได้ รับยกเว้ นภาษีธีุรกิจ
เฉพาะตามมาตรา 91/3 ย่ อมไม่ อยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ ตาม
หมวด 4 นี”้
1. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะตาม
มาตรา 91/2
2. กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีธีุรกิจเฉพาะตามมาตรา
91/3
Slide 249
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.1) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(1)
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการประเภทต่ าง ๆ
ดังต่ อไปนี้
(1) การขายสิ นค้ าที่มใิ ช่ การส่ งออก หรือการให้ บริการ ดังต่ อไปนี้
(ก) การขายพืชผลทางการเกษตร ไม่ ว่าจะเป็ น ลาต้ น กิง่ ใบ เปลือก
หน่ อ ราก เหง้ า ดอก หัว ฝัก เมล็ด หรือส่ วนอืน่ ๆ ของพืช และวัตถุพลอยได้ จากพืช
ทั้งนี้ ทีอ่ ยู่ในสภาพสดหรือรักษาสภาพไว้ เพือ่ มิให้ เสี ยเป็ นการชั่วคราวในระหว่ าง
ขนส่ ง ด้ วยการแช่ เย็น แช่ เย็นจนแข็งหรือด้ วยการจัดทา หรือปรุ งแต่ งโดยวิธีการอืน่
หรือรักษาสภาพไว้ เพือ่ มิให้ เสี ยเพือ่ การขายปลีก หรือขายส่ งด้ วยวิธีการแช่ เย็น แช่
เย็นจนแข็ง ทาให้ แห้ ง บด ทาให้ เป็ นชิ้น หรือด้ วยวิธีอนื่ ข้ าวสาร หรือผลิตภัณฑ์ ที่ได้
จากการสี ข้าว แต่ ไม่ รวมถึงไม้ ซุง ฟื น หรือผลิตภัณฑ์ ทไี่ ด้ จากการเลือ่ ยไม้ หรือ
ผลิตภัณฑ์ อาหารทีบ่ รรจุกระป๋ อง ภาชนะ หรือหีบห่ อทีท่ าเป็ นอุตสาหกรรม ตาม
Slide 250
ลักษณะ และเงื่อนไขที่อธิบดีกาหนด
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.1) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(1)
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการประเภทต่ าง ๆ
ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
(1) การขายสิ นค้ าที่มใิ ช่ การส่ งออก หรือการให้ บริการ ดังต่ อไปนี.้ ..(ต่ อ)
(ข) การขายสั ตว์ ไม่ ว่าจะมีชีวติ หรือไม่ มีชีวติ และในกรณีสัตว์ ไม่ มี
ชีวติ ไม่ ว่าจะเป็ นเนือ้ ส่ วนต่ างๆ ของสั ตว์ ไข่ น้านม และวัตถุพลอยได้ จากสั ตว์ ทั้งนี้
ทีอ่ ยู่ในสภาพสด หรือรักษาสภาพไว้ เพือ่ มิให้ เสี ยเป็ นการชั่วคราวในระหว่ างขนส่ ง
ด้ วยการแช่ เย็น แช่ เย็นจนแข็ง หรือด้ วยการจัดทาหรือปรุ งแต่ งโดยวิธีการอืน่ หรือ
รักษาสภาพไว้ เพือ่ มิให้ เสี ยเพือ่ การขายปลีก หรือขายส่ งด้ วยวิธีการแช่ เย็น แช่ เย็นจน
แข็ง ทาให้ แห้ ง บด ทาให้ เป็ นชิ้นหรือด้ วยวิธีอนื่ แต่ ไม่ รวมถึงผลิตภัณฑ์ อาหารที่
บรรจุกระป๋ อง ภาชนะ หรือหีบห่ อทีท่ าเป็ นอุตสาหกรรม ตามลักษณะ และเงื่อนไขที่
Slide 251
อธิบดีกาหนด
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.1) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(1)
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการประเภท
ต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
(1) การขายสิ นค้ าทีม่ ิใช่ การส่ งออก หรือการให้ บริการ ดังต่ อไปนี.้ .. (ต่ อ)
(ค) การขายปุ๋ ย
(ง) การขายปลาป่ น อาหารสั ตว์
(จ) การขายยาหรือเคมีภัณฑ์ ที่ใช้ สาหรับพืชหรือสั ตว์ เพือ่
บารุงรักษา ป้องกัน ทาลายหรือกาจัดศัตรูหรือโรคของพืชทละสั ตว์
(ฉ) การขายหนังสื อพิมพ์ นิตยสาร หรือตาราเรียน
Slide 252
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.1) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(1)
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการประเภท
ต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
(1) การขายสิ นค้ าทีม่ ิใช่ การส่ งออก หรือการให้ บริการ ดังต่ อไปนี.้ .. (ต่ อ)
(ช) การให้ บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ
สถานศึกษาตามกฎหมายว่ าด้ วย สถาบันอุดมศึกษาเอกชน หรือโรงเรียนเอกชน
ตามกฎหมายว่ าด้ วยโรงเรียนเอกชน
(ซ) การให้ บริการที่เป็ นงานทางศิลปะทละวัฒนธีรรมในสาขา
ทละลักษณะการประกอบกิจการทีอ่ ธีิบดีกาหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี
Slide 253
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.1) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(1)
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการประเภทต่ าง ๆ
ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
(1) การขายสิ นค้ าที่มใิ ช่ การส่ งออก หรือการให้ บริการ ดังต่ อไปนี.้ .. (ต่ อ)
(ฌ) การให้ บริการการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่ า
ความ หรือการประกอบวิชาชีพอิสระอืน่ ตามทีอ่ ธิบดีกาหนด โดยอนุมตั ิรัฐมนตรี
ทั้งนี้ เฉพาะวิชาชีพอิสระทีม่ กี ฎหมายควบคุม การประกอบวิชาชีพอิสระนั้น
(ญ) การให้ บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลตามกฎหมาย
ว่ าด้ วยสถานพยาบาล
(ฎ) การให้ บริการวิจัย หรือการให้ บริการทางวิชาการ ทั้งนี้ ใน
สาขา และลักษณะการประกอบกิจการทีอ่ ธิบดีกาหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี Slide 254
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.1) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(1)
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการประเภท
ต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
(1) การขายสิ นค้ าที่มิใช่ การส่ งออก หรือการให้ บริการ ดังต่ อไปนี.้ .. (ต่ อ)
(ฏ) การให้ บริการห้ องสมุด พิพธีิ ภัณฑ์ สวนสั ตว์
(ฐ) การให้ บริการตามสั ญญาจ้ างทรงงาน
(ฑ) การให้ บริการจัดทข่ งขันกีฬาสมัครเล่น
(ฒ) การให้ บริการของนักทสดงสาธีารณะ ทั้งนี้ เฉพาะบริการใน
สาขาทละลักษณะการประกอบกิจการตามทีอ่ ธีิบดีกาหนดโดยอนุมัตริ ัฐมนตรี
Slide 255
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.1) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(1)
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการประเภทต่ าง ๆ
ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
(1) การขายสิ นค้ าที่มใิ ช่ การส่ งออก หรือการให้ บริการ ดังต่ อไปนี.้ .. (ต่ อ)
(ณ) การให้ บริการขนส่ งในราชอาณาจักร
(ด) การให้ บริการขนส่ งระหว่ างประเทศ ซึ่งมิใช่ เป็ นการขนส่ ง
โดยอากาศยาน หรือเรือเดินทะเล
(ต) การให้ บริการเช่ าอสั งหาริมทรัพย์
(ถ) การให้ บริการของราชการส่ วนท้ องถิ่น ทั้งนี้ ไม่ รวมถึง
บริการที่เป็ นการพาณิชย์ของราชการส่ วนท้ องถิ่น หรือเป็ นการหารายได้ หรือ
ผลประโยชน์ ไม่ ว่าจะเป็ น กิจการสาธารณูปโภคหรือไม่ กต็ าม
Slide 256
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.1) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(1)
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการประเภท
ต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
(1) การขายสิ นค้ าทีม่ ิใช่ การส่ งออก หรือการให้ บริการ ดังต่ อไปนี.้ .. (ต่ อ)
(ท) การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการของกระทรวง ทบวง กรม
ซึ่งส่ งรายรับทั้งสิ้นให้ ทก่รัฐโดยไม่ หักรายจ่ าย
(ธี) การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการเพือ่ ประโยชน์ ทก่การ
ศาสนา หรือการสาธีารณกุศลภายในประเทศ ซึ่งไม่ นาผลกาไรไปจ่ ายในทางอืน่
(น) การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการตามที่กาหนดโดยพระราช
Slide 257
กฤษฎีกา ( ดูพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 239) พ.ศ. 2534 )
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
พรฎ.539
การประกอบกิจการขายบุหรี่ซิกาแรตทีผ่ ลิตโดยผู้ประกอบอุตสาหกรรม
ยาสู บทีเ่ ป็ นองค์ การของรัฐบาล โดยผู้ขายทีม่ ิใช่ ผ้ปู ระกอบอุตสาหกรรมยาสู บที่
ผลิตสิ นค้ าดังกล่าวได้ รับการยกเว้ นภาษีมูลค่าเพิม่ ตาม พรฎ 239 อันมีผลทาให้
การขายบุหรี่ในกรณีดังกล่าวมีภาระภาษีมูลค่ าเพิม่ ต่ากว่ าหรือแตกต่ างจากการขาย
สิ นค้ าบุหรี่ทคี่ ล้ายกันทีน่ าเข้ าจากต่ างประเทศ แต่ เพือ่ ให้ มีการดาเนินการตาม
พันธกรณีแห่ งความตกลงทัว่ ไปว่ าด้ วยพิกดั อัตราศุลกากรและการค้ า สมควร
ยกเลิกการยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการขายบุหรี่ซิกาแรตที่
ผลิตโดยผู้ประกอบอุตสาหกรรมยาสู บทีเ่ ป็ นองค์การของรัฐบาล เพือ่ ให้ ผู้ประกอบ
กิจการดังกล่าวต้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เช่ นเดียวกันกับผู้ประกอบกิจการขายบุหรี่ที่
นาเข้ าจากต่ างประเทศ
Slide 258
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.2) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(2)
มาตรา 81 ให้ ยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการประเภทต่ าง ๆ
ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
(2) การนาเข้ าสิ นค้ าดังต่ อไปนี้
(ก) สิ นค้าตาม (1) (ก) ถึง (ฉ)
(ข) สิ นค้ าจากต่ างประเทศทีน่ าเข้ าไปในเขตปลอดอากร ทั้งนี้
เฉพาะสิ นค้าที่ได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ าตามกฎหมายว่ าด้ วยการนั้น
(ค) สิ นค้ าที่จาแนกประเภทไว้ ในภาคว่ าด้ วยของทีไ่ ด้ รับยกเว้ น
อากร ตามกฎหมายว่ าด้ วยพิกดั อัตราศุลกากร
(ง) สิ นค้ าซึ่งนาเข้ าและอยู่ในอารักขาของศุลกากร แล้ วได้ ส่งกลับ
ออกไปต่ างประเทศ โดยได้ คนื อากรขาเข้ า ตามกฎหมายว่ าด้ วยศุลกากร Slide 259
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(2) กิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่
(2.3) การยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81/1
มาตรา 81/1 ผู้ประกอบการซึ่งประกอบกิจการขายสิ นค้ าหรือให้ บริการที่
อยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ ทละกิจการดังกล่าวมีมูลค่ าของฐานภาษีไม่ เกิน
มูลค่ าของฐานภาษีของกิจการขนาดย่ อมตามทีก่ าหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ให้
ได้ รับยกเว้ นไม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ...
(พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่ าด้ วยการกาหนดมูลค่ าของฐาน
ภาษีของกิจการขนาดย่ อมซึ่งได้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ (ฉบับที่ 432) พ.ศ. 2548
มาตรา 4 มูลค่ าของฐานภาษีของกิจการขนาดย่ อมตามมาตรา 81/1 ทห่ งประมวล
รัษฎากร จะต้ องไม่ เกิน 1,800,000 บาทต่ อปี
มาตรา 2 พระราชกฤษฎีกานีใ้ ห้ ใช้ บังคับตั้งทต่ วนั ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2548
Slide 260
เป็ นต้ นไป)
3. กิจการทีไ่ ม่ ต้องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
(3) กิจการได้ รับยกเว้ นภาษีมูลค่ าเพิม่ ทต่ ขอเข้ าสู่ ระบบได้ ตามมาตรา 81/3
มาตรา 81/3 ผู้ประกอบการซึ่งประกอบกิจการทีไ่ ด้ รับยกเว้น
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ดังต่ อไปนี้ มีสิทธิแจ้ งต่ ออธิบดีตามแบบทีอ่ ธิบดี กาหนดเพือ่ ขอ
จดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่ และเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามหมวดนีไ้ ด้ โดยต้ องคานวณ
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 82/3
(1) กิจการขายสิ นค้ าตามทีร่ ะบุไว้ ในมาตรา 81 (1) (ก) ถึง (ฉ)
(2) กิจการขนาดย่ อมตามมาตรา 81/1 (รายรับไม่ เกิน 1,800,000 บาทต่ อปี )
(3) กิจการอืน่ ตามทีก่ าหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 241) คือ การ
ให้ บริการขนส่ งในราชอาณาจักรโดยอากาศยาน , การให้ บริการขนส่ งนา้ มัน
เชื้อเพลิงทางท่ อในราชอาณาจักร ...
Slide 261
ภาษีมูลค่ าเพิม่
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่
ด้ านการซื้อ
4. ฐานภาษี
5. อัตราภาษี
6. ความรับผิด
ด้ านการขาย
เรียกใบกากับภาษีซื้อ
ออกใบกากับภาษีขาย
การให้ บริการ ไม่ ต้องจัดทา
รายงานภาษีซื้อ
รายงานสิ นค้ าฯ รายงานภาษีขาย
กรอกรายการในแบบ ภ.พ. 30
ภาษีทตี่ ้ องชาระ = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ
ยืน่ แบบ ภ.พ. 30 (เป็ นรายเดือนภาษี)
ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
Slide 262
เต็มรูป
อยางย
อ
่
่
4. ฐานภาษี
5. อัตราภาษี
6. ความรับผิด
(ขายปลีก/ให้บริการ
รายยอย)
่
ฐานภาษี
(ราคาสิ นค้ า/ค่ าบริการ)
ราภาษี
X อัต(7%)
ออกเมื่อใด
ขายสิ นค้ า : ส่ งมอบสิ นค้ า
ให้ บริการ : รับชาระราคา
Slide 263
4. ฐานภาษี
มาตรา 79 ภายใต้ บังคับมาตรา 79/1 ฐานภาษีสาหรับการ
ขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการ ได้ ทก่ มูลค่ าทั้งหมดทีผ่ ้ ูประกอบการ
ได้ รับหรือพึงได้ รับจากการขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการ รวมทั้ง
ภาษีสรรพสามิตตามที่กาหนดในมาตรา 77/1 (19) ถ้ ามี ด้ วย
มูลค่ าของฐานภาษีให้ หมายความถึง เงิน ทรัพย์ สิน
ค่ าตอบททน ค่ าบริการ หรือประโยชน์ ใด ๆ ซึ่งอาจคิดคานวณได้
เป็ นเงิน
มูลค่ าของฐานภาษีไม่ ให้ รวมถึง
Slide 264
4. ฐานภาษี (ต่ อ)
(1) ส่ วนลดหรือค่ าลดหย่ อน ทีผ่ ู้ประกอบการจดทะเบียนได้ ลดให้ ในขณะ
ขายสิ นค้ า หรือให้ บริการทละได้ หักส่ วนลดหรือค่ าลดหย่อนดังกล่าวออกจากราคา
สิ นค้ าหรือราคาค่ าบริการ โดยได้ ทสดงให้ เห็นไว้ ชัดทจ้ งว่าได้ มีการหักส่ วนลดหรือค่า
ลดหย่ อนไว้ ในใบกากับภาษีในทต่ ละครั้งทีอ่ อกทล้ว ทั้งนี้ เว้ นทต่ ส่วนลดหรือค่ า
ลดหย่ อนในการขายสิ นค้ า หรือให้ บริการของผู้ประกอบการจดทะเบียนทีม่ ีสิทธีิออก
ใบกากับภาษีอย่ างย่ อตามมาตรา 86/6 หรือมาตรา 86/7 ผู้ประกอบการจดทะเบียนจะ
ไม่ ทสดงส่ วนลดหรือค่ าลดหย่ อนดังกล่าว ให้ เห็นชัดทจ้ งไว้ ในใบกากับภาษีอย่ างย่ อก็
ได้
(2) ค่ าชดเชยหรือเงินอุดหนุนตามทีอ่ ธีิบดีกาหนดโดยอนุมัตริ ัฐมนตรี
(3) ภาษีขาย
(4) ค่ าตอบททนที่มีลกั ษณะ ทละเงื่อนไขตามทีอ่ ธีิบดีกาหนดโดยอนุมตั ิ
Slide 265
รัฐมนตรี (ประกาศอธีิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีมูลค่ าเพิม่ (ฉบับที่ 40))
4. ฐานภาษี (ต่ อ)
ข้ อยกเว้ นไม่ ถือเป็ นฐานภาษี (ค่ าตอบททน) (ประกาศอธีิบดี (ฉบับที่ 40))
(1) มูลค่ าของสิ นค้ าทีท่ ถมพร้ อมกับการขายสิ นค้า หรือการให้ บริการไม่ ว่าสิ นค้ าที่
ทถมนั้นจะเป็ นสิ นค้ าประเภท ทละชนิดเดียวกับสิ นค้ าทีข่ ายหรือบริ การทีก่ ระทา
หรือไม่ ทต่ มูลค่ าของสิ นค้ าทีท่ ถมจะต้ องไม่ เกินมูลค่ าของสิ นค้ าทีข่ ายหรือมูลค่ า
ของการให้ บริการ
(2) มูลค่ าของสิ นค้ าทีท่ จกหรือให้ เป็ นรางวัลกับผู้ซื้อสิ นค้ าหรือผู้รับบริการทีซ่ ื้อ
สิ นค้ าหรือรับบริการในทต่ ละวัน โดยมีมูลค่ ารวมกันตามทีผ่ ้ปู ระกอบการจด
ทะเบียนกาหนด ทต่ มูลค่ าของสิ นค้ าทีท่ จกหรือให้ เป็ นรางวัลต้ องมีมูลค่าไม่ เกิน
มูลค่ าของสิ นค้ าทีข่ ายหรือมูลค่ าของการให้ บริการ
(3) มูลค่ าของสิ นค้ าตัวอย่ างทีท่ จก เนื่องจากจัดกิจกรรมส่ งเสริมการขาย
Slide 266
4. ฐานภาษี (ต่ อ)
ข้ อยกเว้ นไม่ ถือเป็ นฐานภาษี (ค่ าตอบททน) (ประกาศอธีิบดี (ฉบับที่ 40)) (ต่อ)
(4) มูลค่ าของสิ นค้ าทีแ่ จกหรือให้ เป็ นของขวัญ เนื่องในพิธีหรือตามโอกาสแห่ ง
ขนบธรรมเนียมประเพณี เฉพาะสิ นค้ าทีเ่ ป็ นปฏิทนิ สมุดบันทึกประจาวัน
(Diary) ทีม่ ีชื่อผู้ประกอบการปรากฏอยู่ โดยต้ องเป็ นสิ่ งของทีพ่ งึ ให้ แก่กนั
ตามประเพณีทางธุรกิจทัว่ ไป และต้ องมีราคาหรือมูลค่ าไม่ เกินสมควร
(5) มูลค่ าของอาหารและเครื่องดื่มทีน่ ายจ้ างจัดหาให้ กบั พนักงานหรือลูกจ้ างใน
ระหว่ างเวลาปฏิบัติงาน ตามระเบียบเกีย่ วกับสวัสดิการของพนักงานหรือ
ลูกจ้ าง โดยมูลค่ าของอาหารและเครื่องดื่มดังกล่าวต้ องมีราคาไม่ เกินสมควร
(6) มูลค่ าของเครื่องแบบทีผ่ ู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งเป็ นนายจ้ างได้ มอบ
ให้ แก่ลูกจ้ างในจานวนคนละไม่ เกินสองชุ ดต่ อปี และเสื้อนอกในจานวนคน
Slide 267
ละไม่ เกินหนึ่งตัวต่ อปี ฯลฯ
5. อัตราภาษี
มาตรา 80 ให้ ใช้ อตั ราภาษีร้อยละ 10.0 ในการคานวณ
ภาษีมูลค่ าเพิม่ สาหรับการประกอบกิจการดังต่ อไปนี้ ทั้งนี้ เว้ นแต่ กรณีที่
กาหนดไว้ ในมาตรา 80/2
(1) การขายสิ นค้ า
(2) การให้ บริการ
(3) การนาเข้ า
อัตราภาษีตามวรรคหนึ่ง ให้ ลดลงได้ โดยตราเป็ นพระราช
กฤษฎีกา แต่ ต้องกาหนดอัตราภาษีให้ เป็ นอัตราภาษีเดียวกัน สาหรับการ
Slide 268
ขายสิ นค้ า การให้ บริการและการนาเข้ าทุกกรณี
5. อัตราภาษี (ต่ อ)
ให้ ลดอัตราภาษีมูลค่ าเพิม
่ ตามมาตรา 80 แห่ งประมวลรัษฎากร และ
คงจัดเก็บในอัตรา ดังนี้
(1) ร้ อยละ 6.3 สาหรับการขายสิ นค้ า การให้ บริการ หรื อ
การนาเข้ าทุกกรณี ซึ่งความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ ตั้งแต่ วนั ที่
1 ตุลาคม พ.ศ. 2553 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555
(2) ร้ อยละ 9 สาหรับการขายสิ นค้ า การให้ บริการ หรือ
การนาเข้ าทุกกรณีซึ่งความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ ตั้งแต่ วนั ที่ 1
ตุลาคม พ.ศ. 2555 เป็ นต้ นไป พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 507) พ.ศ. 2553
มติ ครม. เมือ่ 7 สิ งหาคม 2555 มีมติให้ คงอัตรา
ภาษีมูลค่ าเพิม่ 7 % (รวมภาษีท้องถิ่น) ออกไปอีก 2 ปี Slide 269
5. อัตราภาษี (ต่ อ)
มาตรา 80/1 ให้ ใช้ อตั ราภาษีร้อยละ 0 ในการคานวณภาษีมูลค่าเพิม่
สาหรับการประกอบกิจการประเภทต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้
(1) การส่ งออกสิ นค้ าทีม่ ิใช่ การส่ งออกสิ นค้ าซึ่งได้ รับยกเว้ น
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ตามมาตรา 81(3)
(2) การให้ บริการทีก่ ระทาในราชอาณาจักร และได้ มีการใช้ บริการนั้น
ในต่ างประเทศให้ รวมถึงการให้ บริการที่กระทาในราชอาณาจักรเพือ่ ใช้ ผลิตสิ นค้า
ในเขต ปลอดอากรเพือ่ ส่ งออก และการให้ บริการที่กระทาในเขตดังกล่าวเพื่อใช้ ผลิต
สิ นค้ าเพือ่ ส่ งออกด้ วย
การให้ บริการทีก่ ระทาในราชอาณาจักร และได้ มีการใช้ บริการนั้นใน
ต่ างประเทศให้ รวมถึง การให้ บริการที่กระทาในราชอาณาจักร เพือ่ ใช้ ผลิตสิ นค้ าใน
เขตปลอดอุตสาหกรรมส่ งออกเพือ่ ส่ งออก และการให้ บริการทีก่ ระทาในเขต
อุตสาหกรรมส่ งออก เพือ่ ใช้ ผลิตสิ นค้ าเพือ่ ส่ งออกด้ วย
Slide 270
5. อัตราภาษี (ต่ อ)
มาตรา 80/1 ให้ ใช้ อตั ราภาษีร้อยละ 0 ในการคานวณภาษีมูลค่าเพิม่
สาหรับการประกอบกิจการประเภทต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี้...
(3) การให้ บริการขนส่ งระหว่ างประเทศโดยอากาศยาน หรือเรือเดิน
ทะเลทีก่ ระทาโดยผู้ประกอบการทีเ่ ป็ นนิติบุคคล
(4) การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการกับกระทรวง ทบวง กรม ราชการ
ส่ วนท้ องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจตามโครงการเงินกู้หรือเงินช่ วยเหลือจากต่ างประเทศ
ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีีการ ทละเงื่อนไขทีอ่ ธีิบดีกาหนดโดย
อนุมัติรัฐมนตรี
(5) การขายสิ นค้ าหรือ การให้ บริการกับองค์ การสหประชาชาติ ทบวง
การชานัญพิเศษของสหประชาชาติ สถานเอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุ ล
ใหญ่ สถานกงสุ ล ทั้งนี้ เฉพาะการขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการทีเ่ ป็ นไปตาม
Slide 271
หลักเกณฑ์ วิธีีการ ทละเงื่อนไขทีอ่ ธีิบดีกาหนด
5. อัตราภาษี (ต่ อ)
มาตรา 80/1 ให้ ใช้ อตั ราภาษีร้อยละ 0 ในการคานวณภาษีมูลค่าเพิม่
สาหรับการประกอบกิจการประเภทต่ าง ๆ ดังต่ อไปนี.้ ..
(6) การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการระหว่ างคลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนกับ
คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนหรือระหว่ างผู้ประกอบการกับผู้ประกอบการทีป่ ระกอบกิจการ
ีีี่อยู่ในเขตปลอดอากรไม่ ว่าจะอยู่ในเขตเดียวกันหรือไม่ หรือระหว่ างคลังสิ นค้ า
ทัณฑ์ บนกับผู้ประกอบการทีป่ ระกอบกิจการอยู่ในเขตปลอดอากร ทั้งนี้ เฉพาะการ
ขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการที่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีีการ ทละเงื่อนไขทีอ่ ธีิบดี
กาหนด
คลังสิ นค้ าทัณฑ์ บนตามวรรคหนึ่ง ให้ หมายความถึงคลังสิ นค้ าทัณฑ์
บนตามกฎหมายว่ าด้ วยศุลกากร
Slide 272
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่
“มาตรา 82/4 ... ให้ ผู้ประกอบการจดทะเบียนเรียกเก็บ
ภาษีมูลค่ าเพิม่ จากผู้ซื้อสิ นค้ า หรือผู้รับบริการ เมื่อความรับผิดในการ
เสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ โดยคานวณจากฐานภาษีตามส่ วน 3 ทละ
อัตราภาษีตามส่ วน 4...”
1. กรณีการขายสิ นค้ า
มาตรา 78 ภายใต้ บังคับมาตรา 78/3 ความรับผิดในการเสี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีเ่ กิดจากการขายสิ นค้ า ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์
ดังต่ อไปนี้
Slide 273
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
1. กรณีการขายสิ นค้ า
(1) การขายสิ นค้ านอกจากทีอ่ ยู่ในบังคับตาม (2) (3) (4) หรือ (5)
ให้ ความรับผิดทั้งหมดเกิดขึน้ เมื่อส่ งมอบสิ นค้ า เว้ นทต่ กรณีที่ได้ มีการกระทา
ดังต่ อไปนีเ้ กิดขึน้ ก่อนส่ งมอบสิ นค้ าก็ให้ ถือว่ าความรับผิดเกิดขึน้ เมื่อได้ มีการ
กระทานั้น ๆ ด้ วย
(ก)โอนกรรมสิ ทธีิ์สินค้ า
(ข) ได้ รับชาระราคาสิ นค้ า หรือ
(ค) ได้ ออกใบกากับภาษี
ทั้งนี้ โดยให้ ความรับผิดเกิดขึน้ ตามส่ วนของการกระทานั้น ๆ
ทล้วทต่ กรณี
Slide 274
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
1. กรณีการขายสิ นค้ า (ต่ อ)
(2) การขายสิ นค้ าตามสั ญญาให้ เช่ าซื้อหรือสั ญญาซื้อขายผ่ อน
ชาระทีก่ รรมสิ ทธีิ์ในสิ นค้ ายัง ไม่ โอนไปยังผู้ซื้อเมื่อได้ ส่งมอบ ให้ ความรับผิด
เกิดขึน้ เมื่อถึงกาหนดชาระราคาตามงวดที่ถึงกาหนดชาระราคาทต่ ละงวด เว้ น
ทต่ กรณีทไี่ ด้ มีการกระทาดังต่ อไปนีเ้ กิดขึน้ ก่อนถึงกาหนดชาระราคาทต่ ละงวด
ก็ให้ ถือว่ าความรับผิดเกิดขึน้ เมื่อได้ มีการกระทานั้น ๆ ด้ วย
(ก) ได้ รับชาระราคาสิ นค้ า หรือ
(ข) ได้ ออกใบกากับภาษี
ทั้งนีโ้ ดยให้ ความรับผิดเกิดขึน้ ตามส่ วนของการกระทานั้น ๆ
ทล้วทต่ กรณี ......
Slide 275
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
2. กรณีการให้ บริการ
มาตรา 78/1 ภายใต้ บังคับมาตรา 78/3 ความรับผิดในการเสี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีเ่ กิดจากการให้ บริการให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่ อไปนี้
(1) การให้ บริการนอกจากทีอ่ ยู่ในบังคับตาม (2) (3) หรือ (4) ให้
ความรับผิดทั้งหมดเกิดขึน้ เมื่อได้ รับชาระราคาค่าบริการ เว้ นทต่ กรณีทไี่ ด้ มีการ
กระทาดังต่ อไปนีเ้ กิดขึน้ ก่อนได้ รับชาระราคาค่าบริการก็ให้ ถือว่ าความรับผิด
เกิดขึน้ เมื่อได้ มีการกระทานั้น ๆ ด้ วย
(ก) ได้ ออกใบกากับภาษี หรือ
(ข) ได้ ใช้ บริการไม่ ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอืน่
ทั้งนี้ โดยให้ ความรับผิดเกิดขึน้ ตามส่ วนของการกระทานั้น ๆ
ทล้วทต่ กรณี
Slide 276
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
2. กรณีการให้ บริการ (ต่ อ)
มาตรา 78/1 ภายใต้ บังคับมาตรา 78/3 ความรับผิดในการเสี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีเ่ กิดจากการให้ บริการให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่ อไปนี.้ ..
(2) การให้ บริการตามสั ญญาทีก่ าหนดค่ าตอบททนตามส่ วนของ
บริการที่ทา ให้ ความรับผิดตามส่ วนของบริการเกิดขึน้ เมื่อได้ รับชาระราคา
ค่ าบริการตามส่ วนของบริการทีส่ ิ้นสุ ดลง เว้ นทต่ กรณีทไี่ ด้ มีการกระทา
ดังต่ อไปนีเ้ กิดขึน้ ก่อนได้ รับชาระราคาค่าบริการตามส่ วนของบริการทีส่ ิ้นสุ ดลง
ก็ให้ ถือว่ าความรับผิดเกิดขึน้ เมื่อได้ มีการกระทานั้น ๆ ด้ วย
(ก) ได้ ออกใบกากับภาษี หรือ
(ข) ได้ ใช้ บริการไม่ ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอืน่
ทั้งนี้ โดยให้ ความรับผิดเกิดขึน้ ตามส่ วนของการกระทานั้น ๆ
Slide 277
ทล้วทต่ กรณี
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
2. กรณีการให้ บริการ (ต่ อ)
มาตรา 78/1 ภายใต้ บังคับมาตรา 78/3 ความรับผิดในการ
เสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีเ่ กิดจากการให้ บริการให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์
ดังต่ อไปนี.้ ..
(3) การให้ บริการทีท่ าในต่ างประเทศทละได้ มีการใช้
บริการนั้นในราชอาณาจักร ให้ ความรับผิดทั้งหมดหรือบางส่ วนเกิดขึน้
เมื่อได้ มีการชาระราคาค่ าบริการทั้งหมดหรือบางส่ วนทล้ วทต่ กรณี ....
Slide 278
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
3. กรณีการนาเข้ าสิ นค้ า
มาตรา 78/2 ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีเ่ กิด
จากการนาเข้ า ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ดงั ต่ อไปนี้
(1) การนาเข้ านอกจากทีอ่ ยู่ในบังคับตาม (2) (3) หรือ
(4) ให้ ความรับผิดเกิดขึน้ เมื่อชาระอากรขาเข้ า วางหลักประกันอากร
ขาเข้ า หรือจัดให้ มีผ้ ูคา้ ประกันอากรขาเข้ า เว้ นทต่ กรณีที่ไม่ ต้องเสี ย
อากรขาเข้ า หรือได้ รับยกเว้ นอากรขาเข้ า ก็ให้ ถือว่ าความรับผิดเกิดขึน้
ในวันทีม่ ีการออกใบขนสิ นค้ าตามกฎหมายว่ าด้ วยศุลกากร ....
Slide 279
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
3. กรณีกาหนดโดยกฎกระทรวงฉบับที่ 189
มาตรา 78/3 ให้ ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ สาหรับการขายสิ นค้ า
หรือการให้ บริการในกรณีดังต่ อไปนี้ เป็ นไปตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
(1) การขายสิ นค้ าทีไ่ ม่ มีรูปร่ าง เช่ น สิ ทธิในสิ ทธิบัตร กู๊ดวิลล์ การขาย
กระแสไฟฟ้าการขายสิ นค้ าทีม่ ีลกั ษณะทานองเดียวกัน หรือการขายสิ นค้ าบาง
ชนิดทีต่ ามลักษณะของสิ นค้ าไม่ อาจกาหนดได้ แน่ นอนว่ ามีการส่ งมอบเมื่อใด
(2) การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการด้ วยเครื่องอัตโนมัติ โดยวิธีการชาระ
ราคาด้ วยการหยอดเงิน ใช้ เหรียญหรือบัตร หรือในลักษณะทานองเดียวกัน
(3) การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการโดยการชาระราคาด้ วยการใช้ บัตร
เครดิต หรือในลักษณะทานองเดียวกัน....
Slide 280
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
3. กรณีกาหนดโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 189 (ต่ อ)
ข้ อ 1 การขายกระแสไฟฟ้า นา้ ประปา หรือสิ นค้ าที่มีลกั ษณะ
ทานองเดียวกันให้ ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ เมื่อได้ รับ
ชาระราคาสิ นค้ า หรือได้ มีการออกใบกากับภาษีก่อนได้ รับชาระราคา
สิ นค้ า แล้ วแต่ กรณี ทั้งนี้ โดยให้ ความรับผิดเกิดขึน้ ตามส่ วนของการ
กระทานั้น ๆ
ข้ อ 2 การขายสิ นค้ าทีไ่ ม่ มีรูปร่ าง เช่ น สิ ทธิในสิ ทธิบัตร กู๊ดวิลล์
เครื่องหมายการค้ า ลิขสิ ทธิ์ สั มปทาน ค่ าสิ ทธิ หรือสิ นค้ าที่มีลกั ษณะ
ทานองเดียวกันให้ ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ เมื่อได้ รับ
Slide 281
ชาระราคาสิ นค้ า เว้ นแต่ ...
6. ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
3. กรณีกาหนดโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 189 (ต่ อ)
ข้ อ 3 การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการด้ วยเครื่องอัตโนมัติโดยชาระราคา
ด้ วยวิธีการหยอดเงิน เหรียญ บัตร หรือด้ วยวิธีการในลักษณะทานองเดียวกัน ให้
ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ทั้งหมดเกิดขึน้ เมื่อได้ นาเงินเหรียญ บัตร หรือ
สิ่ งอืน่ ในลักษณะทานองเดียวกันออกจากเครื่องอัตโนมัติ
ข้ อ 4 การขายสิ นค้ าโดยการชาระราคาด้ วยการใช้ บตั รเครดิตหรือใน
ลักษณะทานองเดียวกัน ให้ ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ เมื่อส่ งมอบ
สิ นค้ า เว้ นแต่ ...
ข้ อ 5 การให้ บริการโดยการชาระราคาด้ วยการใช้ บัตรเครดิตหรือใน
ลักษณะทานองเดียวกัน ให้ ความรับผิดในการเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ เมื่อมีการ
ออกหลักฐานการใช้ บัตรเครดิต เว้ นแต่ กรณีที่ได้ มีการออกใบกากับภาษีก่อนการ
ออกหลักฐานการใช้ บัตรเครดิตก็ให้ ความรับผิดเกิดขึน้ เมื่อได้ มกี ารออกใบกากับ
Slide 282
ภาษีน้ัน ...
ใบกากับภาษีเต็มรู ป
7. วิธีเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
1. คาว่ า “ใบกากับภาษี” ทีเ่ ห็นได้ ชัดเจน
2. ชื่อ ทีอ่ ยู่ และ เลขประจาตัวผู้เสี ยภาษี ของผู้ออกใบกากับภาษี
3. ชื่อ ทีอ่ ยู่ ของผู้ซื้อสิ นค้ าหรือผู้รับบริการ
4. หมายเลขลาดับของใบกากับภาษี และลาดับของเล่ม (ถ้ ามี)
5. ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่ าสิ นค้ าหรือบริการ
6. จานวนภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีเ่ รียกเก็บ ให้ แยกออกจากมูลค่ าของสิ นค้ า
หรือบริการอย่างชัดแจ้ ง
7. วัน เดือน ปี ทีอ่ อกใบกากับภาษี
8. ข้ อความอืน่ ตามที่อธิบดีกาหนด
(มาตรา 86/4)
8.1 เอกสารออกเป็ นชุ ด (ถ้ าเอกสารฉบับแรกไม่ ใช่ ใบกากับภาษี)
8.2 สาขาทีอ่ อก ระบุสาขา....(ถ้ าเอาใบกากับภาษีของสานักงานใหญ่ มาใช้ )
8.3 มีเลขทะเบียนรถยนต์ (ถ้ าผู้ออกเป็ นสถานีบริการนา้ มัน)
ส่ วนที่ไม่ มีการบังคับ
ยอดเงินรวม,จานวนเงินตัวอักษร,เบอร์ โทรศัพท์ ,ลายมือชื่อผู้ออกใบกากับ
รายการเหล่ านี้ แก้ ไข เขียนผิดได้ ไม่ มีปัญหา ไม่ เซ็นชื่อก็ได้
Slide 283
ใบกากับภาษีอย่ างย่ อ
7. วิธีเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
1. คาว่ า ใบกากับภาษีอย่ างย่ อ
(มาตรา 86/6)
2. ชื่อ หรือ ชื่อย่ อ และเลขประจาตัวผู้เสี ยภาษีของผู้ออก
3. หมายเลขลาดับของใบกากับภาษี และลาดับของเล่ ม (ถ้ ามี)
4. ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่ าของสิ นค้ าหรือบริการ
5. ราคาสิ นค้ าหรือราคาค่ าบริการ ต้ องมีข้อความที่ระบุว่า
ได้ รวมภาษีมูลค่ าเพิม่ แล้ ว
6. วัน เดือน ปี ทีอ่ อก
7. ข้ อความอืน่ ที่อธิบดีกาหนด
ผู้มีสิทธิออกใบกากับภาษีอย่ างย่ อ คือ ผู้ขายสิ นค้ าในลักษณะขายปลีก หรือ
ผู้ประกอบกิจการให้ บริการในลักษณะบริการรายย่ อยแก่บุคคลจานวนมาก
Slide 284
ไม่ ต้องออกใบกากับภาษี

7. วิธีเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
กรณีผู้ประกอบการรายย่ อย (มาตรา 86/8 และ ประกาศอธิบดีฯ (ฉบับที่ 154))
1. การขายสิ นค้ าหรือให้ บริการ
1.1 รายรับไม่ เกิน 300,000 บาท ในแต่ ละเดือน
1.2 มีสถานประกอบการแต่ ละแห่ งเป็ นรถเข็น แผงลอย
1.3 ให้ บริการแสดง การเล่ น การกีฬา การแข่ งขัน การประกวด
1.4 ให้ บริการโทรศัพท์ สาธารณะ
1.5 ให้ บริการทางพิเศษหรือทางหลวงสั มปทาน หรือ
1.6 ให้ บริการสนามบิน
1.7 การประกอบกิจการให้ บริการสาธารณะทีเ่ กีย่ วเนื่องกับกิจการขนส่ ง
มวลชน เช่ น การให้ บริการสถานทีจ่ อดรถหรือให้ บริการห้ องสุ ขาแก่
ประชาชนผู้มาใช้ บริการรถไฟฟ้า
2. แต่ ละครั้งทีข่ ายมูลค่ าไม่ เกิน 1,000 บาท
3. ให้ ผู้ประกอบการจดทะเบียนดังกล่ าวจัดทาใบกากับภาษีอย่ างย่ อรวบรวม
การขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการทีม่ ีมูลค่ าครั้งหนึ่งไม่ เกิน 1,000 บาท
Slideใน
285
หนึ่งวันทาการเพือ่ เป็ นเอกสารประกอบการลงรายการในรายงานภาษีขาย
ภาษีซื้อที่เครดิตไม่ ได้ (ภาษีซื้อต้ องห้ าม) เช่ น
(มาตรา 82/5 และประกาศอธิบดี VAT ฉบับที่ 42)
1. ไม่ มีใบกากับภาษี หรือมีแต่ ไม่ อาจแสดงได้
2. มีใบกากับภาษี แต่ รายการที่เป็ นสาระสาคัญไม่ ครบถ้ วน
3. ไม่ เกีย่ วข้ องโดยตรงกับการประกอบกิจการ
4. ภาษีซื้อเกิดจากรายจ่ ายเพือ่ การรับรอง
5. ออกโดยไม่ มีสิทธิออก
6. ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อ เช่ าซื้อ เช่ า หรือรับโอนรถยนต์ นั่ง และรถยนต์ โดยสาร
ที่มีทนี่ ั่งไม่ เกิน 10 คน และภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อสิ นค้ าหรือการรับบริการ
ที่เกีย่ วข้ องกับรถยนต์ ดังกล่าว
7. ภาษีซื้อตามใบกากับภาษีอย่ างย่ อ
8. ภาษีซื้อจากใบกากับภาษีเต็มรูปทีเ่ ป็ นสาเนา
9. ภาษีซื้อตามใบกากับภาษีเต็มรูป แต่ รายการทีเ่ ป็ นสาระสาคัญถูกแก้ ไขเปลีย่ นแปลง
Slide 286
ฯลฯ
7. วิธีีเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีหน้ าที่ ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
4. การยื่นทบบ (ต่ อ) กรณีการนาส่ งเงินภาษีมูลค่ าเพิม่ ภ.พ. 36
มาตรา 83/6 เมื่อมีการชาระราคาสิ นค้ าหรือ ราคาค่ าบริการให้ กับ
ผู้ประกอบการดังต่ อไปนี้ ให้ ผู้จ่ายเงินค่ าซื้อสิ นค้ า หรือค่ าบริการมีหน้ าทีน่ าส่ ง
เงินภาษีมูลเพิม่ ทีผ่ ู้ประกอบการมีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี
(1) ผู้ประกอบการทีอ่ ยู่นอกราชอาณาจักรซึ่งได้ เข้ ามาประกอบ
กิจการขายสิ นค้ า หรือให้ บริการในราชอาณาจักรเป็ นการชั่วคราว ทละไม่ ได้ จด
ทะเบียนภาษีมูลค่ าเพิม่ เป็ นการชั่วคราวตามมาตรา 85/3
(2) ผู้ประกอบการทีไ่ ด้ ให้ บริการในต่ างประเทศ ทละได้ มีการใช้
บริการนั้นในราชอาณาจักร
Slide 287
7. วิธีีเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีหน้ าที่ ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
4. การยืน่ ทบบ (ต่ อ) กรณีการนาส่ งเงินภาษีมูลค่ าเพิม่ ภ.พ. 36 (ต่ อ)
มาตรา 83/5 ในการขายทอดตลาด ให้ ผ้ ทู อดตลาดซึ่งขายทอดตลาดทรัพย์ สินของ
ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีหน้ าทีน่ าส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่ ที่ผ้ ปู ระกอบการจดทะเบียนมีหน้ าที่
ต้ องเสี ย
ให้ ผ้ มู หี น้ าทีน่ าส่ งตามวรรคหนึ่ง นาส่ งเงินภาษีมูลค่ าเพิม่ โดยยืน่ รายการตามทบบนาส่ ง
ภาษีทอี่ ธีิบดีกาหนด ณ สถานที่ ทละกาหนดเวลาตามที่บัญญัตไิ ว้ ในมาตรา 52 ทละให้ นามาตรา
54 ทละมาตรา 55 มาใช้ บังคับโดยอนุโลม
ให้ ผ้ ทู อดตลาดทีเ่ ป็ นส่ วนราชการออกใบเสร็จรับเงินให้ กบั ผู้ซื้อในการขายทอดตลาดทละ
จัดทาสาเนา ให้ กบั ผู้ประกอบการจดทะเบียนทีม่ หี น้ าทีต่ ้ องเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ ไว้ เพือ่ เป็ น
หลักฐาน
ในกรณีทสี่ ่ วนราชการขายทรัพย์ สินของผู้ประกอบการจดทะเบียนทีถ่ ูกยึดมาตามกฎหมาย
Slide 288
โดยวิธีีอนื่ นอกจากการขายทอดตลาด ให้ นาความในมาตรานีม้ าใช้ บังคับโดยอนุโลม..
7. วิธีีเสี ยภาษีมูลค่ าเพิม่ (ต่ อ)
ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีหน้ าที่ ดังต่ อไปนี้ (ต่ อ)
4. การยืน่ ทบบ (ต่ อ) กรณีการนาส่ งเงินภาษีมูลค่ าเพิม่ ภ.พ. 36 (ต่ อ)
มาตรา 83/7 ในการขายสิ นค้ าหรือการให้ บริการที่ได้ เสี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ ในอัตราร้ อยละ 0 ให้ ผู้รับโอนสิ นค้ าหรือ ผู้รับโอนสิ ทธีิ
ในบริการ มีหน้ าทีน่ าส่ งเงินภาษีมูลค่ าเพิม่ ทีต่ นมีหน้ าที่ต้องเสี ยตาม
มาตรา 82/12 ภายในสามสิ บวันนับทต่ วนั ที่ความรับผิดในการเสี ย
ภาษีมูลค่ าเพิม่ เกิดขึน้ ณ ทีว่ ่ าการอาเภอท้ องทีท่ บี่ ุคคลนั้นมีภูมิลาเนา...
Slide 289
การนาส่ งเงินภาษีมูลเพิม่ ทีผ่ ู้ประกอบการมีหน้ าทีเ่ สี ยภาษี (ภ.พ.36)
มาตรา 83/6
ผู้จ่ายเงิน
จ่ ายค่ าบริการ
ทุกคน
นาส่ งภาษีมูลค่ าเพิม่
ยืน่ แบบ ภ.พ.36 ภายใน 7 วัน
นับแต่ วนั สิ้นเดือนของเดือนทีจ่ ่ าย
ผู้รับเงิน
• ผู้ประกอบการ
ร้ อยละ 7
• ต่ างประเทศ
ผู้ประกอบการทีไ่ ด้ ให้ บริการในต่ างประเทศ
และได้ มีการใช้ บริการนั้นในราชอาณาจักร
Slide 290
เงินได้ ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย (ภ.ง.ด.54)
มาตรา 70
จ่ ายเงินได้ ประเภทที่
2 , 3 , 4 , 5 หรือ 6
ผู้จ่ายเงิน
หักภาษี ณ ทีจ่ ่ าย
ทุกคน
นาส่ งสรรพากร
ผู้รับเงิน
• บริษัทหรือห้ างฯ ที่ต้งั ขึน้
ตามกฎหมายต่ างประเทศ
• มิได้ ประกอบกิจการใน
ไทย
ร้ อยละ 15
ยกเว้ น
เงินปันผล
ร้ อยละ 10
ให้ บริษัทหรือห้ างฯ ทีต่ ้งั ขึน้ ตามกฎหมายต่ างประเทศ
เสี ยภาษี โดยให้ ผ้ จู ่ ายหักภาษีจากเงินได้ พงึ ประเมิน
ยืน่ แบบ ภ.ง.ด.54 ภายใน 7 วัน มาตรา 40 (2) – (6) ทีจ่ ่ าย ตามอัตราภาษีทกี่ ฎหมาย
Slide 291
นับแต่ วนั สิ้นเดือนของเดือนทีจ่ ่ าย กาหนด แล้วนาส่ งสรรพากรพร้ อมกับยืน่ แบบ ภ.ง.ด.54
Slide 292
[email protected]
ภาษีธุรกิจเฉพาะ
Specific Business Tax
Slide 293
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ
มาตรา 91/2 ภายใต้ บังคับมาตรา 91/4 (กิจการเฉพาะอย่ าง)
การประกอบกิจการดังต่ อไปนี้ ในราชอาณาจักร ให้ อยู่ในบังคับต้ อง
เสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะตามบทบัญญัตใิ นหมวดนี้
(1) การธีนาคาร ตามกฎหมายว่ าด้ วยการธีนาคาร
พาณิชย์ หรือกฎหมายเฉพาะ
(2) การประกอบธีุรกิจเงินทุน ธีุรกิจหลักทรัพย์ ธีุรกิจ
เครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมายว่ าด้ วยการประกอบธีุรกิจเงินทุน
ธีุรกิจหลักทรัพย์ ทละธีุรกิจเครดิตฟองซิเอร์
(3) การรับประกันชีวติ ตามกฎหมายว่ าด้ วยการประกัน
ชีวติ
Slide 294
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
มาตรา 91/2 ภายใต้ บังคับมาตรา 91/4 การประกอบกิจการ
ดังต่ อไปนี้ ในราชอาณาจักร ให้ อยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะตาม
บทบัญญัติในหมวดนี.้ ..(ต่ อ)
(4) การรับจานาตามกฎหมายว่ าด้ วยโรงรับจานา
(5) การประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธีนาคารพาณิชย์ เช่ น
การให้ ก้ ยู มื เงิน คา้ ประกัน ทลกเปลีย่ นเงินตรา ออก ซื้อ หรือขายตัว๋ เงิน
หรือรับส่ งเงินไปต่ างประเทศด้ วยวิธีีต่าง ๆ (ป.26/2534 ดู Slide ที่ 486)
(6) การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไร ไม่ ว่า
อสั งหาริมทรัพย์ น้ันจะได้ มาโดยวิธีีใดก็ตาม ทั้งนี้ เฉพาะที่เป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ วิธีีการ ทละเงื่อนไขตามที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกาฉบับ
Slide 295
ที่ 342 (ดู Slide ที่ 489)
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
มาตรา 91/2 ภายใต้ บังคับมาตรา 91/4 การประกอบ
กิจการดังต่ อไปนี้ ในราชอาณาจักร ให้ อยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจ
เฉพาะตามบทบัญญัตใิ นหมวดนี.้ ..(ต่ อ)
(7) การขายหลักทรัพย์ ตามกฎหมายว่ าด้ วยตลาด
หลักทรัพย์ ทห่ งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์
(8) การประกอบกิจการอืน่ ตามที่กาหนดโดยพระราช
กฤษฎีกา
ในกรณีทบี่ ุคคลอยู่นอกราชอาณาจักรประกอบกิจการ
โดยผ่ านสถานประกอบการหรือตัวททนของตนทีอ่ ยู่ในราชอาณาจักร
ให้ ถือว่ าประกอบกิจการ ในราชอาณาจักรตามมาตรานี้
Slide 296
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ประเด็น : การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไร
พระราชกฤษฎีกาออกตามความใน ประมวลรัษฎากร ว่ าด้ วย
การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไร (ฉบับที่ 342) พ.ศ.
2541......
ให้ การขายอสั งหาริมทรัพย์ เฉพาะที่ต้องจดทะเบียนสิ ทธีิทละ
นิติกรรมดังต่ อไปนี้ เป็ นการขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหา
กาไรทีต่ ้ องเสี ยภาษี ธีุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/2 (6) ทห่ งประมวล
รัษฎากร
Slide 297
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ประเด็น : การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไร
(1) การขายอสั งหาริมทรัพย์ ของผู้ซึ่งได้ รับอนุญาตให้ ทาการจัดสรร
ทีด่ ิน ตามกฎหมายว่ าด้ วยการควบคุมการจัดสรรทีด่ นิ
(2) การขายห้ องชุ ดของผู้ประกอบกิจการซึ่งเป็ นผู้ขอจดทะเบียน
อาคารชุ ด ตามกฎหมายว่ าด้ วยอาคารชุ ด
(3) การขายอสั งหาริมทรัพย์ ที่เป็ นอาคารทีส่ ร้ างขึน้ เพื่อขาย รวมถึง
การ ขายทีด่ ินอันเป็ นทีต่ ้งั ของอาคารดังกล่าว
(4) การขายอสั งหาริมทรัพย์ ที่ไม่ เข้ าลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3)
เฉพาะกรณีที่มีการทบ่ งขายหรือมีการทบ่ งทยกไว้ เพือ่ ขาย โดยได้ จัดทาถนน
หรือสิ่ ง สาธีารณูปโภคอืน่ หรือให้ คามั่นว่ าจะจัดให้ มีสิ่งดังกล่าว
Slide 298
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ประเด็น : การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไร
(5) การขายอสั งหาริมทรัพย์ ทผี่ ู้ขายมีไว้ ในการประกอบ
กิจการเฉพาะของ นิตบิ ุคคลตามมาตรา 77/1 ทห่ งประมวลรัษฎากร
(6) การขายอสั งหาริมทรัพย์ ที่ไม่ เข้ าลักษณะตาม (1) (2) (3)
(4) หรือ (5) ที่ได้ กระทาภายในห้ าปี นับทต่ วนั ที่ได้ มาซึ่ ง
อสั งหาริมทรัพย์ น้ัน เว้ นทต่
(ก) การขายหรือการถูกเวนคืนตามกฎหมายว่ าด้ วยการ
เวนคืน อสั งหาริมทรัพย์
(ข) การขายอสั งหาริมทรัพย์ ที่ได้ มาโดยทางมรดก
Slide 299
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ประเด็น : การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไร
(ค) การขายอสั งหาริมทรัพย์ ทใี่ ช้ เป็ นสถานทีอ่ ยู่อาศัยอันเป็ น
ทหล่ง สาคัญทีผ่ ู้ขายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้ านตามกฎหมายว่ าด้ วยการทะเบียน
ราษฎรเป็ นเวลา ไม่ น้อยกว่ าหนึ่งปี นับทต่ วนั ทีไ่ ด้ มาซึ่งอสั งหาริมทรัพย์ น้ัน
ในกรณีทที่ ดี่ ินทละอาคารหรือสิ่ งปลูกสร้ างตาม (ค) ได้ มาไม่ พร้ อมกัน
กาหนดเวลาห้ าปี ตามความใน (6) ให้ ถือตามระยะเวลาการได้ มาซึ่งที่ดินหรือ
อาคาร หรือสิ่ งปลูกสร้ างทีไ่ ด้ มาภายหลัง
(ง) การโอนกรรมสิ ทธีิ์หรือสิ ทธีิครอบครองในอสั งหาริมทรัพย์
โดย ไม่ มีค่าตอบททนให้ ทก่บุตรชอบด้ วยกฎหมายของตน ทต่ ไม่ รวมถึงบุตร
บุญธีรรม
Slide 300
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ประเด็น : การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไร
(จ) การโอนกรรมสิ ทธีิ์หรือสิ ทธีิครอบครองในอสั งหาริมทรัพย์ ทาง
มรดกให้ ทก่ทายาทโดยธีรรมหรือผู้รับพินัยกรรมซึ่งเป็ นทายาทโดยธีรรม
(ฉ) การโอนกรรมสิ ทธีิ์หรือสิ ทธีิครอบครองในอสั งหาริมทรัพย์ ให้ ทก่
ส่ วนราชการหรือองค์ การของรัฐบาลตามมาตรา 2 ทห่ งประมวลรัษฎากรโดย
ไม่ มีค่าตอบททน
(ช) การทลกเปลีย่ นกรรมสิ ทธีิ์หรือสิ ทธีิครอบครองในอสั งหาริมทรัพย์
กับส่ วนราชการหรือองค์ การของรัฐบาลตามมาตรา 2 ทห่ งประมวลรัษฎากร
เฉพาะใน กรณีที่ส่วนราชการหรือองค์ การของรัฐบาลนั้นมิได้ มีการจ่ าย
ค่ าตอบททนเป็ นอย่ างอืน่ นอกจากอสั งหาริมทรัพย์ ที่ทลกเปลีย่ นนั้น
Slide 301
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ประเด็น : การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไร
มาตรา 91/1 ในหมวดนี้ ....
(4) " ขาย " หมายความรวมถึงสั ญญาจะ
ขาย ขายฝาก ทลกเปลีย่ น ให้ ให้ เช่ าซื้อหรือ
จาหน่ ายจ่ ายโอน ไม่ ว่าจะมีประโยชน์ ตอบททน
หรือไม่
Slide 302
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ประเด็น : การขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไร
ข้ อหารือ
สหกรณ์ ออมทรัพย์ ข้าราชการ......จากัด ได้ ขายทีด่ นิ ซึ่งที่ดนิ
ดังกล่ าวสหกรณ์ ออมทรัพย์ ฯ ได้ ถอื ครองกรรมสิ ทธิ์อยู่ต้งั แต่ ปี
พ.ศ.2519 สหกรณ์ ออมทรัพย์ ฯ
แม้ จะมิใช่ การขายทีด่ นิ ภายใน 5 ปี นับแต่ วนั ที่ได้ มาซึ่งที่ดนิ
นั้น แต่ เป็ นการขายทีด่ นิ ทีผ่ ู้ขายมีไว้ ในการประกอบกิจการ ดังนั้น
รายได้ จากการขายทีด่ นิ ดังกล่ าวของสหกรณ์ ออมทรัพย์ ฯ จึงอยู่ใน
บังคับต้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
Slide 303
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ข้ อหารือ
1. กรณีบริษทั ฯ ได้ รับเงินค่ าทดแทนจากการถูกเวนคืนทีด่ นิ ตาม พ.ร.บ.ว่ า
ด้ วยการเวนคืนอสั งหาริมทรัพย์ ถือเป็ นการขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหา
กาไร ตามมาตรา 4(5) แห่ งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที3่ 42) จึงอยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษี
ธุรกิจเฉพาะ ตามมาตรา 91/2(6) แห่ งประมวลรัษฎากร โดยพนักงานเจ้ าหน้ าทีม่ ี หน้ าที่
ต้ องเรียกเก็บภาษีธุรกิจเฉพาะเพือ่ กรมสรรพากร ในขณะทีม่ ีการจดทะเบียนสิ ทธิและ
นิติกรรม ในอัตราร้ อยละ 3.0 ของรายรับจากค่ าทดแทน
2. กรณีทบี่ ริษัทฯ อ้ างคาพิพากษาฎีกา ระหว่ างบริษัท ม. กับกรมสรรพากร คา
พิพากษาหรือคาสั่ งใด ๆ ของศาล ในแต่ ละคดีย่อมผูกพันเฉพาะคู่ความในกระบวนการ
พิจารณาของศาลทีพ่ พิ ากษาหรือมีคาสั่ งเท่ านั้น ไม่ มีผลผูกพันบุคคลภายนอกซึ่งมิใช่
คู่ความในคดี ทั้งนี้ ตามมาตรา 145 วรรคหนึ่ง แห่ งประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความ
แพ่ง บริษัทฯ จึงไม่ อาจอ้ างประโยชน์ จากคาพิพากษาดังกล่ าวได้ และพระราชกฤษฎีกา
ฯ (ฉบับที่ 342) กาหนดไว้ ชัดเจนว่ า การขายอสั งหาริมทรัพย์ ทผี่ ู้ขายซึ่งเป็ นนิตบิ ุคคลมี
ไว้ ในการประกอบกิจการ เข้ าลักษณะเป็ นการขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ น ทางค้ าหรือหา
กาไรทีต่ ้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามมาตรา 91/2(6) (กค 0702/3734 ลงวันที่ 1 Slide 304
กรกฎาคม 2551)
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 295) พ.ศ. 2539 มาตรา 3 ความว่ า
ให้ ยกเว้ นภาษีเงินได้ นิติบุคคลตามส่ วน 3 หมวด 3 และภาษีธุรกิจเฉพาะ
ตามหมวด 5 ในลักษณะ 2 แห่ งประมวลรัษฎากร แก่บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติ
บุคคล สาหรับเงินได้ ทเี่ ป็ นเงินค่ าทดแทนตามกฎหมายว่ าด้ วยการเวนคืน
อสั งหาริมทรัพย์ เฉพาะทีด่ ินทีต่ ้ องเวนคืนและอสั งหาริมทรัพย์ อื่นบนที่ดนิ ที่ต้อง
เวนคืน ซึ่งได้ รับจากส่ วนราชการ องค์ การของรัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจที่มิใช่
บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล ทั้งนี้ เฉพาะกรณีทบี่ ริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติ
บุคคลนั้นไม่ ขอรับเงินค่าทดแทนดังกล่าว
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ
เนื่องจากการทีบ่ ริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคลไม่ ขอรับเงินค่าทดแทนในกรณีที่
อสั งหาริมทรัพย์ ของตนถูกเวนคืนตามกฎหมายว่ าด้ วยการเวนคืน
อสั งหาริมทรัพย์ โดยส่ วนราชการ องค์ การของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจที่มิใช่
บริษัทหรือห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล นับว่ าเป็ นประโยชน์ แก่ประเทศชาติและ
ประชาชนโดยส่ วนรวม สมควรยกเว้ นภาษีเงินได้ นิติบุคคลและภาษีธุรกิจเฉพาะ
Slide 305
สาหรับเงินค่ าทดแทนกรณีดังกล่าว จึงจาเป็ นต้ องตราพระราชกฤษฎีกานี้
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ประเด็น : การจดทะเบียนภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ภ.ธี.01)
มาตรา 91/12 บุคคลซึ่งประกอบกิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธีุรกิจ
เฉพาะ ตามมาตรา 91/2 โดยกิจการนั้นไม่ ได้ รับยกเว้ นตามมาตรา 91/3 ทละผู้
ประกอบกิจการไม่ ได้ รับยกเว้ นการจดทะเบียนภาษีธีุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/13
ต้ องจดทะเบียนภาษีธีุรกิจเฉพาะโดยให้ ยนื่ คาขอจดทะเบียนภาษีธีุรกิจเฉพาะภายใน
30 วันนับทต่ วนั เริ่มประกอบกิจการ
คาขอจดทะเบียนภาษีธีุรกิจเฉพาะตามวรรคหนึ่ง ให้ เป็ นไปตามทบบทีอ่ ธีิบดี
กาหนด(ภ.ธี.01)ทละให้ ยนื่ ณ ที่ว่าการอาเภอท้ องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
ถ้ าผู้กระทากิจการมีสถานประกอบการหลายทห่ งให้ ยนื่ คาขอจดทะเบียน
ภาษีธีุรกิจเฉพาะ ณ ทีว่ ่ าการอาเภอท้ องทีท่ สี่ ถานประกอบการทีเ่ ป็ นสานักงานใหญ่
Slide 306
ตั้งอยู่
2. กิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้ องเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
ประเด็น : การจดทะเบียนภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ภ.ธี.01)
มาตรา 91/13 ผู้ประกอบกิจการดังต่ อไปนี้ ไม่ ต้องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
(1) ผู้ประกอบกิจการขายหลักทรัพย์ ตามมาตรา 91/2 (7)
(2) ผู้ประกอบกิจการทีป่ ระกอบกิจการเป็ นการชั่วคราว...
ประกาศอธิบดี (ฉบับที่ 1) ได้ กาหนดให้ การประกอบกิจการดังต่ อไปนี้ เป็ น
การประกอบกิจการชั่วคราว
(1) การขายอสั งหาริมทรัพย์ ทผี่ ้ขู ายมีไว้ ในการประกอบกิจการตาม
มาตรา 4(5) ตามพรฎ. (ฉบับที่ 342) พ.ศ. 2541
(2) การขายอสั งหาริมทรัพย์ ตามมาตรา 4(6) ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 342)
(3) การให้ ก้ยู มื เงินของบริษัทหรือห้ างฯ ทีม่ ิใช่ ธีนาคารพาณิชย์ หรือ
บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ซึ่งให้ ก้ยู มื เงินเป็ น
Slide 307
ครั้งคราวมิใช่ การประกอบกิจการเป็ นปกติธีุระ
4. ฐานภาษี
มาตรา 91/1 ในหมวดนี้
(1) " รายรับ " หมายความว่ า เงิน ทรัพย์ สิน
ค่ าตอบททน หรือ ประโยชน์ ใด ๆ อันมีมูลค่ าทีไ่ ด้ รับหรือ
พึงได้ รับ ไม่ ว่าในหรือนอกราชอาณาจักรอันเนื่องมาจาก
การประกอบกิจการ...
Slide 308
ฐานภาษีทละอัตราภาษี
ฐานภาษีสาหรับการประกอบกิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ
ได้ แก่ รายรับก่ อนหักรายจ่ ายใด ๆ ทีผ่ ู้ประกอบกิจการได้ รับ หรือพึง
ได้ รับเนื่องจากการประกอบกิจการ
กิจการทีต่ ้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ จะต้ องเสี ยภาษีโดยคานวณจาก
ฐานภาษี ซึ่งได้ แก่ รายรับตามฐานภาษี ของแต่ ละประเภทกิจการ คูณ
ด้ วยอัตราภาษีที่กาหนดไว้ และจะต้ องเสี ยภาษีท้องถิ่นอีก ร้ อยละ 10
ของจานวนภาษี ธุรกิจเฉพาะดังกล่ าว (กานดไว้ ในกฎหมายท้ องถิ่น)
Slide 309
สรุป ; กิจการ , ฐานภาษี และอัตราภาษี
(มาตรา 91/2)
กิจการ
1. กิจการธนาคาร ,
ธุรกิจเงินทุน , ธุรกิจ
หลักทรัพย์ , ธุรกิจ
เครดิตฟองซิเอร์ และ
การประกอบกิจการเยี่ยง
ธนาคารพาณิชย์
2. กิจการรับประกันชีวติ
(มาตรา 91/5)
ฐานภาษี
- ดอกเบีย้ ส่ วนลด
ค่ าธรรมเนียม ค่ าบริการ
หรือกาไรก่อนหักรายจ่ าย
ใดๆ จากการซื้อหรือขายตั๋ว
เงินหรือ ตราสารแสดงสิ ทธิ
ในหนีใ้ ด ๆ
- กาไรก่อนหักรายจ่ ายใดๆ
จากการ แลกเปลีย่ นหรือซื้อ
ขายเงินตรา การออกตั๋วเงิน
หรือการส่ งเงินไป
ต่ างประเทศ
ดอกเบีย้ ค่ าธรรมเนียม
ค่ าบริการ ฯ
(มาตรา 91/6)
อัตราภาษีร้อยละ
3.0
3.0
2.5
Slide 310
สรุป ; กิจการ , ฐานภาษี และอัตราภาษี (ต่ อ)
(มาตรา 91/2)
กิจการ
3. กิจการโรงรับจานา
(มาตรา 91/5)
(มาตรา 91/6)
ฐานภาษี
อัตราภาษีร้อยละ
ดอกเบีย้ ค่ าธรรมเนียม
2.5
- เงิน ทรัพย์ สิน ค่ าตอบแทน
หรือ ประโยชน์ ใดๆ อันมีมูลค่ าที่
ได้ รับ หรือพึงได้ รับจากการขาย
ของที่ จานาหลุดเป็ นสิ ทธิ
2.5
4. การขายอสั งหาริมทรัพย์
รายรับก่อนหักรายจ่ าย
3.0
5. การขายหลักทรัพย์ ใน
ตลาดหลักทรัพย์
รายรับก่อนหักรายจ่ าย
0.1(ยกเว้ น)
Slide 311
สรุป ; กิจการ , ฐานภาษี และอัตราภาษี (ต่ อ)
(มาตรา 91/2)
กิจการ
(มาตรา 91/5)
ฐานภาษี
6. การซื้อและการขายคืน
หลัก ทรัพย์ทไี่ ด้ รับอนุญาต
จากคณะกรรมการกากับ
หลักทรัพย์และ ตลาด
หลักทรัพย์
- กาไรก่อนหักรายจ่ ายใดๆ จากการ
ขายคืนหลักทรัพย์ แต่ ไม่ รวมถึง
ดอกเบีย้ เงินปันผล หรือประโยชน์
ใดๆ ทีไ่ ด้ จากหลักทรัพย์
7. ธุรกิจแฟ็ กเตอริง
- ดอกเบีย้ ส่ วนลด ค่ าธรรมเนียม
หรือค่ าบริการ
(มาตรา 91/6)
อัตราภาษีร้อยละ
3.0
3.0
ยืน่ แบบ ภ.ธ.40 ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ณ สานักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ าขาท้ องทีท่ ี่
สถานประกอบการตั้งอยู่ เว้ นแต่ การขายอสั งหาริมทรัพย์ ให้ ยนื่ ในขณะทีจ่ ดทะเบียนสิ ทธิ
และนิติกรรมเกีย่ วกับอสั งหาริมทรัพย์น้ัน พร้ อมกับชาระภาษีต่อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ผ้ รู ับจด
Slide 312
ทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรมนั้น ณ สานักงานที่ดนิ ฯ (มาตรา 91/10)
6. วิธีีเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ
มาตรา 91/10 ให้ ผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษียนื่ ทบบทสดงรายการภาษีตาม
ทบบที่อธีิบดีกาหนด (ภ.ธี.40) โดยให้ ยนื่ เป็ นรายเดือนภาษี พร้ อมกับชาระภาษี
ถ้ ามี ไม่ ว่าผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีจะมีรายรับในเดือนภาษีหรือไม่ กต็ าม
การยืน่ ทบบทสดงรายการภาษีทละการชาระภาษีสาหรับเดือนภาษีใด
ให้ ยนื่ ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป เว้ นทต่ อธีิบดีจะกาหนดเป็ นอย่ างอืน่
การยืน่ ทบบทสดงรายการภาษีทละการชาระภาษี ให้ ยนื่ ณ ที่ว่าการ
อาเภอท้ องทีท่ สี่ ถานประกอบการตั้งอยู่ ทั้งนี้ เว้ นทต่ อธีิบดีจะกาหนดเป็ นอย่ าง
อืน่
ถ้ าผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีมีสถานประกอบการหลายทห่ ง การยืน่ ทบบ
ทสดงรายการภาษีทละการชาระภาษีตามวรรคหนึ่ง ให้ ทยกยืน่ เป็ นรายสถาน
ประกอบการ ...
Slide 313
6. วิธีีเสี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะ (ต่ อ)
มาตรา 91/10 ...(ต่ อ)
ความในวรรคหนึ่งถึงวรรคสี่ มิให้ ใช้ บงั คับทก่การยืน่ ทบบทสดง
รายการภาษีทละการชาระภาษีของผู้มีหน้ าทีเ่ สี ยภาษีธีุรกิจเฉพาะสาหรับกิจการ
ขายอสั งหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้ าหรือหากาไรตามมาตรา 91/2(6) ทละให้ ผู้มี
หน้ าทีเ่ สี ยภาษีกรณีดังกล่าวยืน่ ทบบทสดงรายการภาษีตามทบบที่อธีิบดีกาหนด
(ภ.ธี.40) ในขณะจดทะเบียนสิ ทธีิทละนิติกรรมเกีย่ วกับอสั งหาริมทรัพย์ พร้ อม
กับชาระภาษีต่อพนักงานเจ้ าหน้ าทีผ่ ู้รับจดทะเบียนสิ ทธีิทละนิติกรรมนั้น
ในการชาระภาษีตามวรรคห้ าให้ กรมทีด่ ินเรียกเก็บภาษีธีุรกิจเฉพาะ
เพือ่ กรมสรรพากรทละห้ ามพนักงานเจ้ าหน้ าทีล่ งนามรับรู้ ยอมให้ ทาหรือบันทึก
ไว้ จนกว่ าจะได้ รับเงินภาษีทตี่ ้ องชาระให้ ครบถ้ วนถูกต้ องทล้ว
มาตรา 91/17 ภาษีตามหมวดนี้ ถ้ าในเดือนภาษีใดมีจานวนไม่ ถึง 100 บาทเป็ น
Slide 314
อันไม่ ต้องเสี ยสาหรับเดือนภาษีน้ัน
2. ฐานภาษี
ตัวอย่ างที่ 1
3. อัตราภาษี
บริษัท เงินสดทันใจ จากัด ประกอบกิจการให้ ก้ยู มื เงิน จดทะเบียนภาษีธุรกิจ
เฉพาะ ในเดือนภาษี เมษายน 2555 มีรายรับดอกเบีย้ ทีไ่ ด้ รับจากลูกค้ า 100,000
บาท ดังนี้ บริษัทฯ จะต้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ(รวมภาษีท้องถิ่นด้ วย) เป็ นเงิน
ดังนี้
1. รายรับดอกเบีย้ เดือนภาษี เม.ย.2555
100,000
2. ภาษีธุรกิจเฉพาะ (ร้ อยละ 3 ของรายรับก่อนหักรายจ่ าย) = 3,000
3. รายได้ ส่วนท้ องถิ่น (ร้ อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะ) = 300
4. รวมภาษีท้งั สิ้น (2. + 3.)
= 3,300
บริษัทฯ ต้ องยืน่ แบบ ภ.ธ.40 ภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2555 ณ
สานักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ าขาท้ องทีท่ สี่ ถานประกอบการตั้งอยู่ หรือยื่นแบบฯ
ผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต www.rd.go.th (มาตรา 91/10)
Slide 315
หมายเหตุ : ต้ องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะภายใน 30 วันนับแต่ วนั เริ่มประกอบกิจการ (มาตรา 91/12)
2. ฐานภาษี
ตัวอย่ างที่ 2
3. อัตราภาษี
บริษัท โคราชก่อสร้ าง จากัด ประกอบกิจการรับเหมาก่อสร้ าง ให้ กรรมการ
บริษัทกู้ยมื เงิน ในเดือนภาษี พฤษภาคม 2555 ได้ รับดอกเบีย้ จากกรรมการ 10,000
บาท กรณีนี้ บริษัทฯ จะต้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ(รวมภาษีท้องถิ่นด้ วย) เป็ นเงิน
ดังนี้
1. รายรับดอกเบีย้ เดือนภาษี พ.ค.2555
10,000
2. ภาษีธุรกิจเฉพาะ (ร้ อยละ 3 ของรายรับก่อนหักรายจ่ าย) = 300
3. รายได้ ส่วนท้ องถิ่น (ร้ อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะ) = 30
4. รวมภาษีท้งั สิ้น (2. + 3.)
= 330
บริษัทฯ ต้ องยืน่ แบบ ภ.ธ.40 ภายในวันที่ 15 มิถุนายน 2555 ณ
สานักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ าขาท้ องทีท่ สี่ ถานประกอบการตั้งอยู่ หรือยื่นแบบฯ
ผ่ านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต www.rd.go.th (มาตรา 91/10)
Slide 316
หมายเหตุ : ไม่ ต้องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ( ให้ ก้ ยู มื เงินเป็ นครั้งคราวมิใช่ การประกอบกิจการเป็ นปกติธุระ)
2. ฐานภาษี
ตัวอย่ างที่ 3
3. อัตราภาษี
บริษัท จัดสรรทีด่ ิน จากัด ประกอบกิจการจัดสรรที่ดินขาย จดทะเบียนภาษี
ธุรกิจเฉพาะ ในเดือนภาษี เมษายน 2555 มีรายรับจากการขายทีด่ ิน 1,000,000
บาท แต่ ราคาประเมินที่ใช้ จดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรม 700,000 ดังนี้ บริษัทฯ
จะต้ องเสี ยภาษีธุรกิจเฉพาะ(รวมภาษีท้องถิ่นด้ วย) เป็ นเงิน ดังนี้
1. รายรับจากการขายทีด่ ิน (ราคาทีส่ ู งกว่ า)
1,000,000
2. ภาษีธุรกิจเฉพาะ (ร้ อยละ 3 ของรายรับก่อนหักรายจ่ าย) = 30,000
3. รายได้ ส่วนท้ องถิ่น (ร้ อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะ) = 3,000
4. รวมภาษีท้งั สิ้น (2. + 3.)
= 33,000
บริษัทฯ ต้ องยืน่ แบบ ภ.ธ.40 ในขณะที่จดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรม
เกีย่ วกับอสั งหาริมทรัพย์ น้ัน พร้ อมกับชาระภาษีต่อพนักงานเจ้ าหน้ าทีผ่ ู้รับจด
ทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรมนั้น ณ สานักงานทีด่ ินฯ (มาตรา 91/10)
Slide 317
หมายเหตุ : ต้ องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะภายใน 30 วันนับแต่ วนั เริ่มประกอบกิจการ (มาตรา 91/12)
2. ฐานภาษี
ตัวอย่ างที่ 4
3. อัตราภาษี
บริษัท โคราชก่อสร้ าง จากัด ประกอบกิจการรับเหมาก่อสร้ าง ในเดือนภาษี
เมษายน 2555 ได้ ขายอาคารสานักงานพร้ อมทีด่ ินราคา 1,000,000 บาท แต่ ราคา
ประเมินที่ใช้ จดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรม 700,000 ดังนี้ บริษัทฯ จะต้ องเสี ยภาษี
ธุรกิจเฉพาะ(รวมภาษีท้องถิ่นด้ วย) เป็ นเงิน ดังนี้
1. รายรับจากการขายทีด่ ิน (ราคาทีส่ ู งกว่ า)
1,000,000
2. ภาษีธุรกิจเฉพาะ (ร้ อยละ 3 ของรายรับก่อนหักรายจ่ าย) = 30,000
3. รายได้ ส่วนท้ องถิ่น (ร้ อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะ) = 3,000
4. รวมภาษีท้งั สิ้น (2. + 3.)
= 33,000
บริษัทฯ ต้ องยืน่ แบบ ภ.ธ.40 ในขณะที่จดทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรม
เกีย่ วกับอสั งหาริมทรัพย์ น้ัน พร้ อมกับชาระภาษีต่อพนักงานเจ้ าหน้ าทีผ่ ู้รับจด
ทะเบียนสิ ทธิและนิติกรรมนั้น ณ สานักงานทีด่ ินฯ (มาตรา 91/10)
หมายเหตุ : ไม่ ต้องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ (ตามมาตรา 91/13)
Slide 318
การศึกษา
ประวัติ : นายอาทร ศรีเชียงสา
ผู้อานวยการส่ วนเทคโนโลยีสารสนเทศ
สานักงานสรรพากรภาค 9
 นิติศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยรามคาแหง
 รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
จาก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
ผ่านการอบรม 




การทางาน 





การสอน

[email protected]
www.dangatorn.com
โทร. 081 – 3600059
หลักสู ตร “วิชาว่ าความ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ”
หลักสู ตร “เทคนิคการเป็ นวิทยากร”
หลักสู ตร “การดาเนินคดีภาษีอากร ระดับผู้ปฏิบตั ิ”
หลักสู ตร “วิทยากรประจาภาค สาหรับนิติกร”
หลักสู ตร “นักบริหารระดับกลาง” ฯลฯ
ปี 2529 - 2533 ทนายความชั้น 1 สานักงาน อาทร ทนายความ
ปี 2534 - 2541 นักวิชาการสรรพากร 3 - 5
ปี 2542 นิติกร 6
ปี 2546 สรรพากรอาเภอ 7
ปี 2549 นักวิชาการสรรพากร 8ว
ปี 2551 ถึงปัจจุบนั นักวิชาการสรรพากรชานาญการพิเศษ
อาจารย์ พเิ ศษ สอนวิชา TAXATION มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
Slide 319
และ วิชา กฎหมายภาษีอากร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสี มา