จิตสำนึกประชาธิปไตยสู่ความเป็นพลเมือง
Download
Report
Transcript จิตสำนึกประชาธิปไตยสู่ความเป็นพลเมือง
จิตสำนึกประชำธิปไตยสูค่ วำมเป็ นพลเมือง
ศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน์
ผู้อำนวยกำรสำนักส่ งเสริมกำรเมืองภำคพลเมือง
สถำบันพระปกเกล้ ำ
1
ความคาดหวัง
ความกลัว
2
Expectation between the two persons
ความคาดหวังที่ต่างกันระหว่ าง
นักการเมืองกับประชาชน?
Expectation and the real situation
ความคาดหวังกับความเป็ นจริง
TRUST Vs. MISTRUST
ความไว้วางใจ Vs. ความไม่ไว้วางใจ
EXPECTATION & BEHAVIOR
ความคาดหวัง & พฤติกรรม
พฤติกรรมที่ต่ากว่ าความคาดหวัง = ความไม่ ไว้ วางใจ
นักการเมืองแก้ปัญหาความยากจน หนี้สิ้น
เศรษฐกิจ สังคม จราจร ยาเสพติด ความ
ปลอดภัย และความขัดแย้ง
หนุ่มนัดสาว สาวนัดหนุ่ม
พฤติกรรมที่ตรงกับความคาดหวัง = ความไว้ วางใจที่พอรับได้
พฤติกรรมที่ดีเกินความคาดหวัง = ความไว้ วางใจที่ยงั่ ยืน
พฤติกรรมที่เกินความคาดหวัง + ความสั มพันธ์ ที่
เกือ้ หนุนกัน = ความไว้ วางใจที่จงรักภักดี
หนุ่มนัดสาว และมีของมาฝากด้ วยมอบแหวน
Leader asks What and Why:
Doing the right things ทาในสิ่ งที่ถูกต้อง
What and Why
Manager
how and to
when
How,asksHow
Doing things right ทาสิ่ งนั้นให้ถูกต้อง
ชุมชนเข้ มแข็ง และมีจติ สานึก
นโยบายสาธารณะ
บ้ าน โรงเรี ยน ชุมชน สังคม ประเทศ
ประชาชนจะเข้ าไปมีส่วนร่ วมอย่ างไรได้ บ้าง
ประชาธิปไตย
8
แนวคิดของความเป็ นพลเมือง
“จิตสานึก” “สาธารณะ” “การมีส่วนร่ วม”
เริ่มต้ นจากตัวเอง ขยายต่ อชุมชน และสังคมเพื่อให้ เกิด
พลเมืองที่เข้ มแข็ง มีคุณภาพและเข้ ามีส่วนร่ วมในชุมชน
แล้
ว
เราจะท
าอย่
า
งไรได้
บ
้
า
ง
มนุ ษย์ไม่ได้เกิดมาพร้อมกับความเป็ นพลเมือง
ต้ องร่ วมกันทุกคน ไม่ สามารถทาได้ โดยคนใดคนหนึ่ง
แต่เราสามารถทาให้เกิดความเป็ นพลเมืองได้
9
เราจะเข้ าไปมีส่วนร่ วมเรื่ องอะไรบ้ าง
“การริเริ่ม เสนอ และกาหนดนโยบายสาธารณะ”?
“จังหวัด”?
“ชุมชน”?
“โรงเรี ยน”?
การให้ ความรู้ เรื่ องกระบวนการมีส่วนร่ วมในการกาหนด
นโยบายสาธารณะ ผ่ าน 6 ขัน้ ตอน ด้ วยการศึกษา ค้ นคว้ า
หาข้ อมูลข้ อเท็จจริง ของปั ญหาและแนวทางแก้ ไขปั ญหา
10
78 ปี แห่งประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยคืออะไร?
พื้ นฐานความรูค้ วามเข้าใจ?
เป้าหมายที่เราต้องการคืออะไร?
เผด็จการคืออะไร?
ผ้ ูมีอานาจไม่ รับฟั ง
ประชาชนกลัวที่จะพดู
ผลลัพธ์ : ไม่ ไว้ วางใจกัน
ไม่ มีความคิดสร้ างสรรค์
ทุกคนเรียกร้ องหาประชาธิปไตย
ภาค
ประชาชน
ปั ญหาต่ างๆ
เยาวชน
ประชาธิ
ปไตย
คนด้ อย
โอกาส
ภาคประชา
สังคม
คนยากจน
ภาคเอกชน
ผู้ชาย ผู้หญิง
13
ถามว่ าประชาธิปไตยเรียกร้ องหาพวกเราทุกคนไหม
ภาค
ประชาชน
ปั ญหาต่ างๆ
เยาวชน
ประชาธิ
ปไตย
คนด้ อย
โอกาส
ภาคประชา
สังคม
คนยากจน
ภาคเอกชน
ผู้ชาย ผู้หญิง
14
การศึกษา
ประสบการณ์
วิถวี ฒ
ั นธรรม ประเพณี
เศรษฐกิจ สังคม
การเมือง ฯลฯ
3 มิติของประชาธิปไตย
เชิงโครงสร้ าง
เชิงกระบวนการ วิถีประชาธิปไตย
การเลือกตัง้ (Majority rule
ค่ านิยมอะไรในการ
การปกครอง 3 ฝ่ าย
เสียงข้ างมาก)
บริหาร นิตบิ ัญญัติ และ
ดาเนินชีวติ
Absolute Majority (ข้างมากเกินกึง่ หนึ่ง)
ตุลาการ
การเคารพความแตกต่ าง
การลงประชามติ
พรรคการเมือง
การเคารพกฎหมาย
ประชาพิจารณ์
ระบบตัวแทน
การเคารพสิทธิของผู้อ่ ืน
สานเสนวนาหาทางออก
ของ โดย เพื่อ ประชาชน
ประโยชน์ ส่วนรวม
การถอนถอน
“แข็งตัวเกินไป”
อารยะขัดขืน
“รากฐานที่สาคัญ”
การปิ ดถนน สนามบิน ประชุม
NATO NIMBY
อาเซียน
“ไม่ สมดุล”
ค่ านิยม
1. ประโยชน์ สาธารณะ Public Good
2. สิทธิบุคคล Individual rights
3. ความยุตธิ รรม Justice
4. ความเสมอภาค Equality
5. ความหลากหลาย Diversity
6. ความสัตย์ จริง Truth
7. ความจงรักภักดีแต่ ชาติ Patriotism
ความเชื่อพื้ นฐานในความ
แตกต่างของมนุ ษย์
มนุษย์มกั จะมองผล
ประโยชน์และสิง่ ที่ตวั เองสนใจ
มนุ ษย์มกั จะมองผลประโยชน์
และสิง่ ที่ตวั เองสนใจ
เหตุใด? ทาไม?
ต้องสร้างจิ ตสานึกพลเมือง
ทาไมต้องสร้างจิ ตสานึกพลเมือง/ เป้าหมาย
ประชาธิปไตยคืออะไร
ความยุติธรรม สิทธิ
เสรีภาพ อานาจหน้าที่
ความเป็ นส่วนตัว
เป็ นต้น
ความขัดแย้งและ
ความรุนแรง
(“ของ”และ “โดย”
ไม่ค่อยมีปัญหาแต่
“เพือ่ ” ใคร
ทาอย่ างไร: ต้ องนาหัวใจสาคัญ
หลักประชาธิปไตยมาใช้ ?
ดูเหมือนง่ าย แต่ ทาได้ อยาก
ทีส่ ุ ด?
ACTIVE
LISTENING
การฟังอย่างตัง้ ใจ
การฟังกันและกัน
การฟังกับการได้ยนิ ?
รัฐธรรมนูญฉบับแรก
วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้ าอยู่หัวรัชกาลที่ 7 ได้ ทรงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่ ง ราชอาณาจักรไทย
พระราชทานเป็ นกฎหมายสู งสุ ดเพือ่ เป็ นหลักในการปกครองประเทศ รัฐธรรมนูญ "ฉบับแรกอันเป็ นฉบับถาวร" ซึ่งมีพระราชดารัสในวัน
พระราชทานรัฐธรรมนูญดังนี้ " ข้ าพเจ้ ามีความเต็มใจทีจ่ ะสละอานาจอันเป็ นของข้ าพเจ้ าอยู่แต่ เดิมให้ แก่ ราษฎร
โดยทัว่ ไป แต่ ข้าพเจ้ าไม่ ยนิ ยอมยกอานาจทั้งหลายของข้ าพเจ้ าให้ แก่ ผ้ ูใด คณะใด โดยเฉพาะเพือ่ ใช้ อานาจนั้นโดย
สิ ทธิขาด และโดยไม่ ฟังเสี ยงอันแท้ จริงของประชาราษฎร"
ฟังอย่างตัง้ ใจทาได้
อย่างไร
การฟังอย่างตัง้ ใจเป็น
อย่างไร
1. ไม่พูดขณะฟัง
2. สบตา
3. พยักหน้า , ส่งเสียง เออ! ออ!
4. PARAPHRASING (Substance + Feeling) การกล่าวทวน (เนื้ อหา
และความรูส้ ึก)
5. ถามคาถาม / ตอบคาถาม
มุมมองของประชาชนต่ อการเมือง
• ถูกขับไล่ ให้ ออกจากการเมืองโดยผู้ทเี่ ข้ ามายึดครองทีไ่ ม่ เป็ นมิตร
• คาดหวังจะเห็นการเมืองที่ดี แต่ ผดิ หวัง จึงโกรธ ขาดความไว้ วางใจ
• ผู้แทนทีแ่ ท้ จริงกับเป็ นนักล็อบบี้ เพือ่ ผลประโยชน์ ส่วนตัว ไม่ ฟังเสี ยงประชาชน
• ประชาชนถูกผลักให้ ห่างออกไป
• กลายเป็ นพลเมืองทีไ่ ร้ ซึ่งผู้แทน (ตัดขาดการสื่ อสารซึ่งกันและกัน) ถึงทางตัน
• การดิน้ รนเพือ่ จะกลับเข้ ามาใหม่
• การเมืองภาคพลเมือง ความต้ องการ “พลเมือง”
ยืนดูท่าที
60%
มีจิตอาสา
ยืนดูท่าที
ชอบป่ วนทุกเรือ่ ง
มีจิตอาสา
20%
ชอบป่ วนทุกเรื่ อง
20%
2475 2485
2495
2505
2535
2545
2555?
เราจะปลูกต้นจิ ตสานึกอย่างไรให้
เจริญงอกงามเสียที?
จิตสานึกและจิตใต้ สานึก
จิตใต้ สานึก 90 ส่ วน
จิตใจทีอ่ ยู่เหนือเหตุผล รับข้ อมูลมาจาก
ประสบการณ์ จดจาเรื่องดีและไม่ ดีไว้ ใน
ใจ จนเกิดเป็ นนิสัยของแต่ ละคน
ทาโดยอัตโนมัติไม่ ต้องนึกคิด
จิตสานึก
10 ส่ วน
จิตใจระดับเหตุผล แสดง
ออกมาโดยพฤติกรรมว่ าจะทา
หรือไม่ ทา
บทบาทหน้าที่ของพลเมืองต่อการพัฒนาประเทศ
หน้ าที่พลเมือง
Passive
Active
เป็ นหูเป็ นตา
รักษากฎ
เคารพสิ ทธิ
กล้ าประเมิน
แนบชิดกติกา
เดินหน้ าร้ อง
ทาหน้ าที่
ปกป้ องสิ ทธิ
ปรับกติกา
สั งคมพัฒนา : อย่างมีพลวัตร
ประชาธิปไตยและสังคมที่เป็นธรรม
และสันติส ุขจะเกิดขึ้นได้อย่างไร
ต้ องเป็ นธรรม
มีศักดิ์ศรีความเป็ นคน
ประโยชน์
+
สุ
ข
เสมอภาคทางกฎหมายและโอกาส
ร่ วมแรงร่ วมใจ
1. เคารพหลักการพื้นฐานของประชาธิปไตย เช่น ไฟแดง ต่อแถว
จอดรถ จูงหมาไปอี
2. มีสว่ นร่วมในท ุกระดับตัง้ แต่ครอบครัว ช ุมชน สังคม
การเปลีย่ นของประชาชน
สู่ ความเป็ นพลเมือง
ต้ นทางการปกครองทีด่ ี
การเคารพกฎหมาย
และสิ ทธิ
ความสานึก
รับผิดชอบ
พลเมือง
พละ
+
ผู้เป็ นพลังหรือ
เป็ นกาลังให้ แก่ บ้านเมือง
เมือง
การเมืองภาคพลเมือง (พละ+เมือง)
คนที่มีศกั ดิ์ศรีแห่งความเป็ นคน มีอิสระ มีการรวมตัวกันทาเรือ่ งดีๆ มีส่วนร่ วมในการกาหนด
นโยบาย ในการวางแผนการพัฒนาในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ทั้งนี้ ตามที่รฐั ธรรมนู ญบัญญัติ
ไว้
ประชาชน People? พลเมือง Citizen สาธารณะ Public?
พลเมือง Citizen ยึดมันในหลั
่
กคุณธรรมของความเป็ นพลเมือง ปฏิบตั ิหน้าทีข่ องพลเมือง
ตามที่กฎหมายกาหนด ต้องมีคุณธรรมหรือจริยธรรมของความเป็ นพลเมือง เช่น มีความซื่อสัตย์ มีวินยั
เคารพกฎหมาย ไม่ซื้อสิทธิขายเสียง ต้องเข้าใจในเรือ่ งสิง่ สาคัญเช่นเรือ่ งสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย เป็ น
สิทธิตามที่กฎหมายกาหนดให้ตอ้ งปฏิบตั ิ เช่น การเสียภาษี การเป็ นทหาร การเลือกตั้ง, ภาคพลเมือง
ต้องกระตุน้ ให้นกั การเมืองมีจิตสานึกสาธารณะ คือจะต้องมีจิตใจที่มุ่งถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็ น
หลัก ตัดสินการดารงชีวิตของตนได้เอง
สาธารณะ Public? การสร้างความเป็ นสาธารณะ? How?
ตระหนักถึงส่ วนรวม
รู้ จักและเคารพสิ ทธิ
หน้ าที่
รักษากติกา
• รู้ → ไม่ สานึก → ไม่ ทา
• รู้ → สานึก → ไม่ ทา
• ไม่ ร้ ู → ไม่ สานึก →ไม่ ทา
• รู้ → สานึก → ทา ♫
ตารางมาตรวัดความเป็ นพลเมือง
Citizenship Measure Table
ความรู้
สานึก
การกระทา
Knowledge
Conscious
Action
ผลลัพธ์
Result
เป็ นพลเมือง
อาจไม่ต่อเนื่อง, เสี่ ยงเป็ นวาย
ร้าย
เพียงผูเ้ ฝ้ ามอง,เฉื่ อยาา
เพียงผูเ้ ฝ้ ามอง,เฉื่ อยาา
อาจไม่เกิดผล
ได้แต่แค่เจ็บใจ
ได้แค่ผตู ้ าม
ระดับการมีส่วนร่ วมทางการเมืองต่ อบทบาท
ความเป็ นพลเมือง
100%
มีส่วนร่ วม
ปกป้อง
รักษา
รู้
0%
• ระดับยิ่งสูง ยิ่งมีระดับความเป็ นพลเมืองมาก
แนวทางการขับเคลือ่ นการสร้ างสานึกพลเมืองของ สสม.
•ขยายเครือข่ าย :
เยาวชน (ผ่ านศูนย์
หรือผู้นาท้ องถิ่น)
ข้ าราชการ
• ต่ อเนื่องกิจกรรม
โครงการสร้ าง
สานึกพลเมือง
•สร้ างหลักสู ตร :
ผสานชุ ดความรู้
และเครื่องมือ
• สะสมองค์
ความรู้ : พลเมือง,
การมีส่วนร่ วม,
สิ ทธิ, สานเสวนา
แนวทางการระเบิดสานึกพลเมือง
บอกปัญหา
กาหนดความเป็ นเจ้ าของ
สร้ างสั ญญา
แนะนาช่ องทาง
ลองแฟชั่น
ลงมือทา
หวัน่ ผลกระทบ
input
ปัญหา/ความรู้
/ความเข้ าใจ/ความ
เห็นอกเห็นใจ
+
tool
ความรู้
+
า่องทาง
+
หนุนเสริ ม
สานึก
ticker
กระตุน้
Output
รางวัล/ประโยชน์ /
Impactบางอย่ าง
ลงมือทา
feedback
ผลสะท้อนกลับ
outco
me
สานึกร่ วม
สานึก
พลเมือง
เส้ นทางการยกระดับประชาธิปไตยสู่ ความเป็ นพลเมืองดี
พลเมือง
ประชาชน
ราษฎร์
?
พลเมืองดี
เข้ มแข็ง
มีจิตอาสา
60%
มีจิตอาสา
ยืนดูท่าที
ชอบป่ วนทุกเรือ่ ง
ชอบป่ วนทุกเรื่ อง
15%
ยืนดูท่าที
25%
Leader asks What and Why:
Doing the right things ทาในสิ่ งที่ถูกต้อง
What and Why
Manager
how and to
when
How,asksHow
Doing things right ทาสิ่ งนั้นให้ถูกต้อง
โครงการสร้ างสานึกพลเมือง
Project Citizen
59
แนวคิดของความเป็ นพลเมือง
“สาธารณะ” “การมีส่วนร่ วม”
เริ่มต้ นจากตัวเอง ขยายต่ อชุมชน และสังคมเพื่อให้ เกิด
พลเมืองที่เข้ มแข็ง มีคุณภาพและเข้ ามีส่วนร่ วมในชุมชน
แล้ วเราจะทาอย่ างไรได้ บ้าง
ต้ องร่ วมกันทุกคน ไม่ สามารถทาได้ โดยคนใดคนหนึ่ง
60
เราจะเข้ าไปมีส่วนร่ วมเรื่ องอะไรบ้ าง
“การริเริ่ม เสนอ และกาหนดนโยบายสาธารณะ”?
“จังหวัด”?
“ชุมชน”?
“โรงเรี ยน”?
การให้ ความรู้ เรื่ องกระบวนการมีส่วนร่ วมในการกาหนด
นโยบายสาธารณะ ผ่ าน 6 ขัน้ ตอน ด้ วยการศึกษา ค้ นคว้ า
หาข้ อมูลข้ อเท็จจริง ของปั ญหาและแนวทางแก้ ไขปั ญหา
61
แนวคิดของโครงการสร้ างสานึกพลเมือง
ความรู้
ทักษะ
เจตคติ
การสร้ างสานึกพลเมือง
การเตรียมการเป็นพลเมืองประชาธิปไตย
ความรู ้
ื่ มน
ความเชอ
่ั
ความสามารถ
ท ักษะ
มีความรู ้
และ
เหตุผล
เจตคติ
ความมุง
่ มน
่ั
63
เนื้อหาเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง
• ความรู้ : ตัวอย่ าง
– ทาไมเราต้ องการรัฐบาล?
– รั ฐธรรมนูญ
– โครงสร้ างรั ฐบาล
– แนวคิด หลักการ และค่ านิยมมูลฐานของระบบการเมือง เช่ น
• อานาจ ความยุตธิ รรม ความแตกต่ าง และกฎหมาย
– สิทธิส่วนบุคคล (ด้ านบุคคล การเมือง เศรษฐกิจ)
– ความรั บผิดชอบของพลเมือง
– บทบาทของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
– ประชาชนสามารถมีส่วนร่ วมในการตัดสินใจของชุมชนได้ อย่ างไร
64
เนื้อหาเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง (ต่อ)
• การจัดระเบียบพลเมือง : ตัวอย่ าง
การคิดแบบมีระบบระเบียบ
ความเป็ นระเบียบเรียบร้ อย
การช่ วยเหลือเกือ
้ กูล
การเคารพสิ ทธิของบุคคลอืน
่
ชาตินิยม
การเคารพกฎหมาย
ความกล้ าหาญ
ความซื่อสั ตย์
การอดทนต่ อความคลุมเครื อ
การคิดแบบเปิ ดกว้ าง
การคิดแบบมีวจ
ิ ารณญาณ
การเจรจาต่ อรองและการประนีประนอม
การดารงสภาพ
65
ไม่มีการปฏิสมั พันธ์
มีการ
ปฏิสมั พันธ์
66
วัตถุประสงค์: เพื่อสร้ำงควำมเป็ นพลเมือง (Citizen) ใน
ระบอบประชำธิปไตยโดยเริ่มต้นจำกโรงเรียน
ให้ควำมรูแ้ ก่คณ
ุ ครูและนำไปสูน่ กั เรียนให้เกิดควำมพลเมือง
ที่มีคณ
ุ ภำพ ดูแลและมีสว่ นร่วมในสังคม
กระบวนกำร 6 ขั้นตอนจะช่วยให้นกั เรียนได้รบั ควำมรูแ้ ละ
ตระหนักถึงควำมเป็ นพลเมืองและมีสว่ นร่วมในกำรคิดและ
เสนอนโยบำยสำธำรณะต่อภำครัฐเพื่อแก้ปัญหำของในชุมชน
โดยกำรศึกษำ ค้นคว้ำ หำข้อมูลข้อเท็จจริง ของปั ญหำ
และแนวทำงแก้ไขปั ญหำ
67
นโยบายสาธารณะ
กระบวนการ 6 ขัน้ ตอน
1. ระบุปัญหา
2. เลือกปั ญหา
ฉันทามติ
3. เก็บรวบรวมข้ อมูล
1.
2.
3.
4.
อธิบายปั ญหา
ประเมินนโยบายที่มีอยู่
นาเสนอนโยบาย
แผนงาน
4. การจัดทาผลงาน
5. การนาเสนอนโยบายต่ อผู้รับผิดชอบ
รั บนาไปประยุกต์
นโยบายสาธารณะในการแก้ ปัญหา
6. สะท้ อน แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้
ความสาเร็จ
•ความหมาย
•กระบวนการ
•ใคร? ระดับ?
•ขอบเขต /ระยะเวลา
การสร้ างสานึกพลเมือง
โครงกำรสร้ำงสำนึกพลเมือง (Project Citizen) คือ อะไร?
การสอนแบบบูรณาการ โดยออกแบบสาหรับเยาวชนในโรงเรียนและ
องค์กรในท้องถิ่น
การสอนแบบมีส่วนร่วมโดยมุง่ เน้นที่นักเรียนเป็ นศูนย์กลาง เน้นวิธีการ
เรียนรูอ้ ย่างมีส่วนร่วม / การคิดเชิงวิพากย์ / การแก้ปัญหาตัดสินใจ
การมีรปู แบบของการประเมินที่เชื่อถือได้
การให้ความรูโ้ ดยมุง่ เน้นที่กระบวนการของหน่ วยงานของรัฐในระดับ
ท้องถิ่นและจังหวัด
การเรียนรูม้ ุง่ เน้นในเรื่องที่เกี่ยวกับภาครัฐในชุมชน
สอนนักเรียนให้รจู ้ กั วิธีที่จะติดตามและการมีบทบาทในนโยบาย
สาธารณะ
69
เมื่อคุณครูนำโครงกำรนี้สอนในโรงเรียน......
การสร้างนักเรียนที่ผา่ นโครงการ จะ :
เรียนรูถ้ ึงวิธีการจัดทานโยบายสาธารณะเพื่อแก้ปัญหาชุมชน
เรียนรูว้ า่ ประชาชนมีสิทธิที่จะรับรูแ้ ละมีส่วนร่วมในการเสนอและกาหนด
นโยบายสาธารณะในชุมชน
พัฒนาทักษะทางปั ญญาและการมีส่วนร่วม ซึ่งจะส่งเสริมให้เกิดการ
ตรวจสอบอย่างมีเหตุผล การคิดเชิงวิพากย์ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
และการคิดทบทวน
สามารถเป็ นส่วนหนึ่ งในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยที่ส่งเสริมการ
แสดงสิทธิ และหน้าที่ ด้วยความทุ่มเท และความมัน่ ใจ
70
ขั้นตอนและภำรกิจ
โครงกำรสร้ำงสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
71
หกขั้นตอนของโปรแกรมกำรสอน
ขั้นตอนที่ 1 - ระบุปัญหาในชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 – คัดเลือกหนึ่ งปั ญหาที่จาเป็ นต้องให้ภาครัฐเข้ามา
มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 - รวบรวมข้อมูลของปั ญหาที่คดั เลือกอย่างละเอียด
72
หกขั้นตอนของโปรแกรมกำรสอน
ขั้นตอนที่ 4 – จัดทาแฟ้ มผลงาน (Portfolio) ซึ่งวิเคราะห์ปัญหา
การพิจารณาหาทางแก้ไข การเสนอนโยบายภาค
ประชาชน และ จัดทาแผนการดาเนิ นการ
เพื่อผลักดันให้ภาครัฐใช้งาน นโยบายดังกล่าว
ขั้นตอนที่ 5 – การรับฟั งความคิดเห็นของประชาชนเพื่อนาเสนอ
และตอบข้อโต้แย้งของการค้นคว้า และนโยบาย
สาธารณะที่ได้นาเสนอ
ขั้นตอนที่ 6 - ทบทวนประสบการณ์ที่ได้รบั จากการเรียนรู ้
73
74
75
76
77
78
LA JUNTA LODGING TAX PROCESS
(ภาษีที่พกั )
The Last Word
คาสุดท้ าย
La Junta Lodging Tax Process (ภาษีทพี่ กั )
• ต้ อ งขอบคุณ นัก เรี ย นทัง้ 6
คนจากโครงการสร้ างส านึ ก พลเมื อ งโรงเรี ย นมัธ ยม
เมืองลาฮุนตา มลรัฐโคโลราโด ที่ทาให้ เกิดภาษี ที่พกั อาศัย (a lodging tax)ขึ ้น เพื่อเป็ น
กองทุนวัตถุปัจจัยในการส่งเสริ ม สาหรับตัวเมืองและพื ้นที่แห่งประวัติ ศาสตร์ นักเรี ยน
หลายคนสังเกตเห็นปริ มาณการท่องเที่ยวเกิดขึ ้นในเมืองลาฮุนตา รวมทัง้ หุบ เขาพิกเก็ต
ไวเออร์ (Picketwire Canyon) และ ป้อมเก่าเบน ( Bent’s Old Fort) จึงได้ ตดั สินใจทา
การสารวจโครงการที่ริเริ่ มขึ ้นที่ไม่สาเร็ จในปี 2007 เพื่อการสร้ างภาษี ที่พกั อาศัยในเมือง
เหล่านักเรี ยนทางานกับผู้อานวยการการพัฒนาเศรษฐกิจของเมือง นาย รอน เดวิ ส เพื่อ
เสนอ ภาษี ที่พกั อาศัย อัตรา 4.5 % สาหรับผู้ที่พกั อาศัยอยู่ในบ้ านชั่วคราวเป็ นเวลาน้ อย
กว่า 30 วัน ภาษี นี ้ จะปล่อยให้ ตวั เมืองได้ ใช้ ประโยชน์จากการท่องเที่ยวที่ มีอยู่แล้ วในเมือง
เหล่านักเรี ยนเสาะหาการสนับสนุนจากชุมชนของพวกเขาโดยการไปเคาะประตูบ้าน นา
โครงการออกแสดงในงานต่างๆ และ กล่าวแสดงความเห็นเกี่ยวกับโครงการผ่านสถานีวิ ทยุ
ชุมชน เพื่อสนับสนุนให้ ผ้ ูออกเสียงออกมาชุมนุมในวันลงคะแนนเสียง สมาชิก ต่างๆใน
ชุมชนและข้ าราชการต่างๆ แสดงการตอบรับกับการสนับสนุนที่หลัง่ ไหลเข้ ามา ภาษี ที่พกั
อาศัยได้ เกิดขึ ้นด้ วยจานวนที่มีอยู่ที่ 919 ต่อ 447 ในเดือนพฤศจิกายน และ สภาเมือง
ได้ นาภาษีที่พกั อาศัยมาใช้ ตงแต่
ั ้ นนมา
ั้
Last Word คาสุ ดท้ าย
ให้ อ่านเนือ้ เรื่อง แล้ วบอกว่ า คาใดคือ K S D
- จัดกลุ่ม 3 คน แล้ วให้ กาหนดว่ าใคร เป็ น A B C
- A บอกเพือ่ นในกลุ่มว่ าเลือกคาใด กลุ่มคา หรือวลีใด
ในบทความ โดยไม่ อธิบาย
- B มีเวลา 1 นาที ที่จะอธิบายคาที่ A เลือก ว่ าเป็ น KSD
- C มีเวลา 1 นาที ที่จะอธิบายคาที่ B พูดและเสริมคาอธิบายของ
ตัวเอง
- A เป็ นคนทีม่ ีโอกาสพูดคาสุ ดท้ าย ส่ วนทีต่ นเลือก และเหตุผล
ขัน้ ตอนคาพดู สุดท้ าย KSD
• ภาษีที่พกั อัตรา
4.5 %
A พูดโดยไม่อธิบาย
B อธิบาย 1 นาทีวา่ คือ
อะไร
• เป็ น K
เพราะ...
• เป็ น K เพราะ...
หรื อเป็ นอย่างอื่น
เพราะ....
C อธิบายเพิ่มเติมว่าคือ
อะไร
82
ขัน้ ตอนคาพดู สุดท้ าย KSD
• สังเกตเห็น
B พูดโดยไม่อธิบาย
C อธิบาย 1 นาทีวา่ คือ
อะไร
• เป็ น S
เพราะ...
• เป็ น S เพราะ...
หรื อเป็ นอย่างอื่น
เพราะ....
A อธิบายเพิ่มเติมว่าคือ
อะไร
83
เรียนรู้อะไรบ้ างจากกิจกรรม
The Last Word
• ฟังกัน
อะไรคือ ความรู้ ทักษะ เจตคติ
การวิเคราะห์
การสื่ อสาร สื่ อความหมาย
ใช้ เหตุผลในการเลือก คิด วิเคราะห์
การฟังอย่ างตั้งใจ
ฟังแล้ วอยากโต้ แย้ งแบบมีเหตุผล
แลกเปลีย่ นความคิด เรียนรู้
ยอมรับความแตกต่ าง
84