ดาวโหลดเอกสาร - โรงพยาบาลหนองบัวระเหว

Download Report

Transcript ดาวโหลดเอกสาร - โรงพยาบาลหนองบัวระเหว

VACCINE
วัคซีน
แผนกเภสัชกรรม โรงพยาบาลหนองบัวระเหว
ประเภทวัคซีน
วัคซีนพืน้ ฐาน วัคซีนเผือ่ เลือก วัคซีนพิเศษ
วัคซีนบีซีจี
วัคซีนฮิบ
วัคซีนทัยฟอยด์
ตับอักเสบบี
วัคซีนโรต้า
วัคซีนอหิ วาต์
บาดทะยัก-ไอกรน
วัคซีนอีสุกอีใส
วัคซีนโรคพิษสุ นขั บ้า
หัด-หัดเยอรมัน-คางทูม
วัคซีนมะเร็งปากมดลูก
วัคซีนคอตีบ
วัคซีนเจอี
วัคซีนไข้กาฬหลังแอ่น
วัคซีนไข้หวัดใหญ่

วัคซีนเสริ มหรื อวัคซีนเผื่อเลือก คือ วัคซีนที่ไม่ได้ เป็ นวัคซีนบังคับที่ต้องฉีด แต่ขึ ้นอยู่
กับความพร้ อมของพ่อแม่หรื อสภาพการเลี ้ยงดู หากเด็กอยูใ่ นสภาพแวดล้ อมที่เป็ น
กลุม่ เสี่ยงที่อาจจะได้ รับเชื ้อโรคก็ควรฉีดเพื่อป้องกันไว้ ได้ แก่ วัคซีนต่อไปนี ้
ประเภทวัคซีน
วัคซีนชนิดเชื้อตาย
(Killed Vaccine)
ผลิตจากเชื้อที่ตายแล้ว
+
วัคซีนชนิดเชื้อเป็ น
(Live attenuated vaccine)
ทาจากเชื้อโรค จุลชีพจากธรรมชาติ ที่ยงั มีฤทธิ์ก่อให้เกิด
โรคมาทาให้อ่อนฤทธิ์หรื อลดความรุ นแรงลง แต่
สามารถกระตุน้ ให้ร่างกายสร้างภูมิคุม้ กันได้ วิธีการทา
ให้จุลชีพอ่อนฤทธิ์ ทาให้เกิดไข้ ผิวหนังบวมแดง
 วัคซีน HIP


วัคซีนป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ จากเชื ้อ Haemophilus
influenzae
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากการติดเชื ้อแบคทีเรี ย Haemophilus
influenzae type b (Hib, ฮิบ) โดยผ่านทางเดินหายใจ ทาให้ เกิด
การอักเสบของเยื่อหุ้มสมอง กระดูกและข้ อ ปอด เยื ้อหุ้มหัวใจ และเนื ้อเยื่ออ่อนนุ่ม
การติดต่อของเชื ้อนี ้ผ่านทางการหายใจเอาละอองฝอยหรื อสัมผัสโดยตรงกับเสมหะ
วัคซีนป้องกันโรคไอพีดี

โรคติดเชื ้อนิวโมคอคคัสเป็ นโรคติดเชื ้อจากแบคทีเรี ยได้ หลายชนิด แต่ที่พบบ่อยคือเชื ้อ
Streptococcus pneumoniae ซึง่ เป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้ เกิดการติดเชื ้อ
เฉพาะที่ในระบบทางเดินหายใจ โพรงจมูกอักเสบ หูชนกลางอั
ั้
กเสบ และไซนัสอักเสบ และที่
รุนแรงยิ่งขึ ้นคือก่อให้ เกิดการติดเชื ้อในกระแสเลือด ปอดอักเสบ และเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ซึง่ ร่วม
เรี ยกว่าโรคไอพีดี ( Invasive Pneumococcal Disease) ในอดีตการรักษา
ทาได้ ง่ายด้ วยยาในกลุม่ เพนนิซลิ ิน แต่ปัจจุบนั เชื ้อ Streptococcus
pneumoniae มีปัญหาเรื่ องการดื ้อยาเพิ่มมากขึ ้น ทาให้ เกิดปั ญหาในการรักษาเป็ น
อย่างมาก
อาการเบื ้องต้ นคล้ ายไข้ หวัด มีไข้ สงู งอแง เซื่องซึม ปวดศีรษะ คลื่นไส้ และอาเจียน ในเด็ก
เล็กอาจไม่ยอมกินนม และเมื่อมีการติดเชื ้อรุนแรงขึ ้นทังทางเดิ
้
นหายใจส่วนบนถึงส่วนล่าง อาจ
พบการติดเชื ้อในระบบประสาทและเยื่อหุ้มสมองอักเสบ จนทาให้ เกิดความพิการทางระบบ
ประสาทและการได้ ยิน รวมไปถึงการติดเชื ้อในเลือดและกระดูก ซึง่ ทาให้ เสียชีวิตได้ ภายในเวลา
2-3 วัน

การป้องกัน
สาหรับผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื ้อนิวโมคอคคัสควรได้ รับการฉีดวัคซีนป้องกันเชื ้อนิวโมคอคคัส ซึง่
ปั จจุบนั มี 2 ชนิด คือวัคซีนชนิด unconjugate สาหรับผู้ที่มีอายุมากกว่า 2 ปี และคนชรา ซึง่
ครอบคลุมเชื ้อก่อโรครุนแรงได้ ร้อยละ 60-90 และวัคซีนชนิด conjugate สาหรับเด็กอายุต่ากว่า
2 ปี ซึง่ ครอบคลุมเชื ้อก่อโรคไอพีดีได้ ร้อยละ 62-69 ซึง่ ส่วนใหญ่ดื ้อต่อยา penicillin และ
cefotaxime เนื่องจากวัคซีนมีราคาแพง ราคาเข็มละประมาณ 4000 บาท ดังนันการให้
้
จงึ ควร
พิจารณาความคุ้มค่าระหว่างค่าใช้ จ่ายกับอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรค

ปริ มาณการฉีดและช่วงอายุที่ฉีดได้
ให้ ครัง้ ละ 0.5 มล. ฉีดเข้ ากล้ ามเนื ้อ โดยให้ ในเด็กที่อายุน้อยกว่า 2 ปี จานวน 4 เข็ม เช่นเดียวกับ Hib
vaccine ดังนี ้
- เด็กอายุน้อยกว่า1 ปี ให้ ฉีด เมื่ออายุ 2, 4, 6 และ booster 12-15 เดือน
- เด็กอายุ 7-11 เดือน ให้ ฉีด 2 ครัง้ ห่างกัน 2 เดือน และ booster 12-15 เดือน
- เด็กอายุ 1-5 ปี ฉีดครัง้ เดียว ยกเว้ นเด็กภูมิค้ มุ กันต่าให้ ฉีด 2 ครัง้ ห่างกัน 2 เดือน
เนื่องจากอุบตั ิการณ์ในประเทศยังน้ อย ความครอบคลุมของวัคซีนต่อเชื ้อก่อโรคมีพอสมควร แต่วคั ซีนมีราคา
สูง กลุม่ เสี่ยงที่ควรได้ รับวัคซีนนี ้ได้ แก่ เด็กที่มีภมู ิค้ มุ กันบกพร่อง เด็กที่มีภาวะภูมิแพ้ ทางเดินหายใจและป่ วย
บ่อย ทาให้ มีโอกาสติดเชื ้อชนิดนี ้ได้ สงู

โรคลาไส้ อกั เสบเนื่องจากไวรัสโรต้ ามักพบแพร่ระบาดในศูนย์รับ
เลี ้ยงเด็ก อุจจาระของเด็กที่ตดิ เชื ้อมีไวรัสจานวนมหาศาล ไวรัสทนต่อ
สภาพแห้ งแล้ งได้ ดี เชื ้อกระจายในฝุ่ นเปื อ้ นของเล่นและของใช้ ตา่ ง ๆ
และเข้ าสูร่ ่างกายเมื่อเด็กหยิบจับสิง่ ของต่าง ๆ ที่เปื อ้ นเชื ้อเข้ าปาก

อาการ
ระยะฟั กตัวสันมาก
้
น้ อยกว่า 2 วัน ก็เริ่มมีไข้ อาเจียนในช่วง 2-3 วันแรก มี
อาการถ่ายเหลวเป็ นน ้า มีฟอง มีกลิน่ เปรี ย้ ว ติดต่อกันนาน 3-8 วัน ทาให้
ร่างกายสูญเสียน ้าและเกลือแร่ ส่วนใหญ่อาการจะหายได้ เอง แต่รายทีร่ ุนแรงอาจ
เสียชีวิตเพราะภาวะขาดน ้า ภายหลังหายจากโรคแล้ ว บางรายยังมีความผิดปกติ
ของการดูดซึม เพราะเซลล์เยื่อบุผิวลาไส้ ถกู ทาลาย
เด็กที่เคยติดเชื ้อแล้ ว ยังอาจเกิดซ ้าได้ อีกจากไวรัสต่างสายพันธุ์ แต่ความรุนแรงจะ
ลดน้ อยลงกว่าครัง้ แรก ๆ เนื่องจากภูมิค้ มุ กันที่ได้ จากการติดเชื ้อครัง้ ก่อน ลด
ความรุนแรงโรคได้

วัคซีนโรต้ า
เป็ นวัคซีนเชื ้อมีชีวิตที่อ่อนกาลังมี 2 ชนิดคือ
1) RotaRix® หรื อ RV1 ซึง่ เป็ นไวรัสสายพันธุ์เดี่ยว (monovalent,
G1P[8]) ที่แยกได้ จากคนไข้ และทาให้ อ่อนกาลังโดยเลี ้ยงในเซลล์ไตลิงเพาะเลี ้ยง
(vero cell) ติดต่อกันหลายๆครัง้ ทาเป็ นรูปผงแห้ งในขวดปิ ดจุกยางมาพร้ อมกับตัวทา
ละลาย 1 มล. บรรจุในหลอดพลาสติดคล้ ายกระบอกฉีดยา (แต่อย่าเผลอสวมเข็มและให้โดย
วิ ธีฉีด) กระจายผงยาในตัวทาละลายที่ให้ มาคูก่ นั ก่อนหยดใส่ปากทารก เด็กที่แพ้ ยางไม่ควร
เลือกใช้ วคั ซีนยี่ห้อนี ้
ขนาดและวิธีให้ วคั ซีน

วัคซีนทังสองชนิ
้
ดให้ โดยวิธีค่อยๆหยดเข้ าปากเด็ก ตารางการให้ วคั ซีนตามปกติ
RotaRix® ให้ 2 ครัง้ ครัง้ ละ 1 มล. เมื่อทารกอายุ 2 และ 4 เดือน ส่วน
RotaTeq® ให้ 3 ครัง้ ครัง้ ละ 2 มล. เมื่อทารกอายุ 2 เดือน 4 เดือนและ 6 เดือน
วัคซีน 2 ชนิด
กรณีเร่งด่วนวัคซีนโด๊ สแรกอาจเริ่ มให้ ได้ ตงแต่
ั ้ อายุ 6 สัปดาห์ แต่อย่างช้ าไม่เกินอายุ 14
สัปดาห์ 6 วัน และต้ องได้ รับวัคซีนครบทุกโด๊ สเมื่ออายุไม่เกิน 8 เดือน หากเกินกว่านี ้ยังไม่มี
ข้ อมูลเรื่ องความปลอดภัย

ประสิทธิภาพของวัคซีน
ประสิทธิภาพของวัคซีนทังสองชนิ
้
ดไม่ตา่ งกัน สาหรับไวรัสสายพันธุ์ที่มี G1, G2, G3, G4 หรื อ
P[8] วัคซีนทังสองมี
้
ประสิทธิภาพป้องกันการเกิดโรคอย่างรุนแรงได้ ร้อยละ 85-98 ป้องกันการ
เกิดโรคทุกขนาดความรุนแรงในฤดูกาลระบาดปี แรกที่รับวัคซีนร้ อยละ 74-87
ภูมิค้ มุ กันที่จาเพาะต่อไวรัสสายพันธุ์หนึง่ สามารถป้องการการเกิดโรคหรื อลดความรุ นแรงของโรคอันเกิด
จากไวรัสโรต้ าสายพันธุ์อื่นได้ ดังนันแม้
้ สายพันธุ์ในวัคซีนจะไม่ตรงกับไวรัสที่ก่อโรคในภูมิภาคนัน้ ๆ แต่
วัคซีนยังให้ ผลป้องกันหรื อลดความรุนแรงของโรคได้
ผลข้ างเคียง
ผลข้ างเคียงต่างๆภายหลังรับวัคซีน เช่น อาการปวดท้ อง หรื อถ่ายเหลวช่วงสัน้ ๆ ไม่แตกต่างจากกลุม่ ที่
ไม่ได้ รับวัคซีน การเฝ้าระวังความปลอดภัยของวัคซีนหลังออกสูท่ ้ องตลาด มีรายงานในเม็กซิโก การรับ
วัคซีนโรต้ าเพิ่มความเสี่ยงเล็กน้ อย ที่จะเกิดลาไส้ กลืนกัน (1 รายต่อวัคซีน 1 แสนโด๊ ส) แทบทุกราย
เกิดภายใน 7 วันหลังรับวัคซีนโด๊ สแรก แต่ยงั ไม่มีรายงานในสหรัฐอเมริ กาซึง่ มีการใช้ วคั ซีนทังสองหลาย
้
ล้ านโด๊ ส
แนะนาให้ สงั เกตความผิดปกติตา่ ง ๆ ภายหลังรับวัคซีนประมาณ 1 สัปดาห์ เช่น ทารกกรี ดร้ องเพราะ
อาการปวดท้ องรุนแรง มีอาเจียนหลายครัง้ หรื อมีเลือดในอุจจาระหรื อไม่ และสังเกตุอาการแพ้ วคั ซีน
อย่างรุนแรง เช่น ชีพจรเต้ นเร็ว ซีด หายใจลาบากมีเสียงวิ๊ด ๆ หรื อกลืนลาบาก หากเป็ นเช่นนัน้ ต้ องส่ง
โรงพยาบาล และงดรับวัคซีนครัง้ ต่อไป


ข้ อห้ ามใช้
1. แพ้ วคั ซีนอย่างรุนแรง
2. ภูมคิ ้ มุ กันบกพร่องรุนแรง (Severe Combined Immunodeficiency Disease,
SCID).
3. มีประวัติเกิดลาไส้ กลืนกัน
คาแนะนา
1. เด็กที่จะรับวัคซีนโรต้ าไม่ต้องงดนมแม่
2. เด็กที่รับวัคซีนปล่อยไวรัสในวัคซีนออกมากับอุจจาระได้ นาน ล้ างมือให้ สะอาดภายหลังการเปลีย่ นผ้ าอ้ อม
3. ถ้ าทารกเกิดติดเชื ้อก่อนรับวัคซีนครบจานวนครัง้ ให้ รับวัคซีนต่อให้ ครบตามกาหนด เพราะยังมีประโยชน์ใน
การลดความรุนแรงของโรคสาหรับการติดเชื ้อครัง้ ต่อไป
4. หากทารกสารอกภายหลังรับวัคซีน ไม่แนะนาให้ รับวัคซีนซ ้า เพราะเกรงปั ญหารับเกินขนาด อาจทาให้ เกิด
ลาไส้ กลืนกัน





เป็ นวัคซีนเชื ้อตาย ได้ จากการเลี ้ยงไวรัสในเซลล์เพาะเลี ้ยง (human fibroblast) และทาให้ หมดฤทธิ์
ด้ วยฟอร์ มาลิน มีหลายบริษัท ได้ แก่ Avaxim Epaxal HavrixVaqta แทบทุกยี่ห้อใส่อะลัม่
(ยกเว้ น Epaxal) เป็ นสารเสริมฤทธิ์ (adjuvant) จึง เห็นเป็ นตะกอนขุ่นขาวเล็กน้ อย วัคซีนสาหรับเด็กมี
ความแรงเป็ นครึ่งหนึ่งของวัคซีนสาหรับผู้ใหญ่ วัคซีนทุกยี่ห้อสามารถใช้ แทนกันได้ นอกจากนี ้ยังมีวคั ซีนรวมยี่ห้อ
Twinrix ป้องกันได้ ทั ้งไวรัสตับอักเสบ เอ และไวรัสตับอักเสบ บี
กาหนดให้ รับวัคซีน 2 เข็ม ห่างกัน 6-18 เดือน โดยเริ่มให้ ได้ ตั ้งแต่อายุ 1 ขวบขึ ้นไป เป็ นวัคซีนที่มี
ประสิทธิภาพสูงมาก 2-4 สัปดาห์หลังรับวัคซีนเข็มแรก สามารถป้องกันโรคได้ ร้อยละ 94-100 เมื่อรับ
ครบ 2 เข็ม เชื่อว่าป้องกันโรคได้ อย่างน้ อย 20 ปี หรื อจนตลอดชีวิต
ใครควรได้ รับวัคซีน
เมื่อประเมินจากความชุกชุมของโรค และผลเสียในการติดเชื ้อ ซึง่ ความรุนแรงน้ อยกว่าตับอักเสบบี ไม่มี
ภาวะแทรกซ้ อนในระยะยาว และเด็กรับเชื ้อแล้ วมักไม่แสดงอาการแต่จะมีภมู คิ ้ มุ กันที่ป้องกันไม่ให้ ติด เชื ้อซ ้าตลอด
ชีวิต อีกทั ้งวัคซีนมีราคาแพง เข็มละประมาณ 700 บาท จึงจัดเป็ นวัคซีนเผื่อเลือก ไม่บรรจุในแผนสร้ างเสริม
ภูมคิ ้ มุ กันโรค
หลักฐานว่าเป็ นอันตรายต่อหญิงมีครรภ์และทารกในครรภ์ และเชื่อว่าความเสี่ยงต่ามาก







สาหรับประเทศไทย ควรพิจารณาให้ วคั ซีนกับกลุม่ ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื ้อ หรื อเป็ นผู้ที่
อาจแพร่เชื ้อได้ กว้ างขวางเมื่อเกิดการระบาด หรื อผู้ที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดภาวะตับวายเมื่อ
ติดเชื ้อ บุคคลเหล่านี ้ได้ แก่
1. ผู้ป่วยโรคตับเรื อ้ รัง
2. ผู้ประกอบอาหารในร้ านอาหาร
3. ผู้ดแู ลเด็กในสถานเลี ้ยงเด็ก
4. ผู้ ที่จะเดินทางไปประเทศที่มีโรคชุกชุม เช่น อินเดีย แอฟริ กาใต้ ประเทศแถบยุโรป
ตะวันออก ทวีปอเมริ กากลางและอเมริ กาใต้ ควรรับวัคซีนเข็มแรกอย่างช้ าก่อนเดินทาง 2
สัปดาห์
5. เด็กโต วัยรุ่นหรื อผู้ใหญ่ ในระยะที่เกิดการระบาด อาจพิจารณารับวัคซีน
สาหรับผู้ปกครองที่ต้องการให้ บตุ รหลานรับวัคซีนไวรัสตับอักเสบ เอ ควรเริ่ มให้ เมื่ออายุ 6 ปี
ขึน้ ไป เพราะเริ่ มเสี่ยงที่จะเกิดการติดเชื ้อแบบมีอาการมากกว่าเด็กเล็ก และหากติดเชื ้อก่อน 6
ขวบ มักไม่แสดงอาการ แต่จะสร้ างภูมิค้ มุ กันที่อยู่ได้ นานตลอดชีวิต ผู้ใหญ่ที่ยงั ไม่เคยได้ รับ
วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี อาจรับวัคซีนรวมป้องกันไวรัสตับอักเสบทังสองชนิ
้
ดในเข็ม
เดียวกันได้ ค่าใช้ จ่ายใกล้ เคียงกับการรับวัคซีนสองชนิดแยกเข็ม แต่ลดจานวนครัง้ ที่ต้องถูกฉีด
วัคซีนรวม 3 เข็ม ราคาประมาณ 3 พันกว่าบาท รับเดือนที่ 0, 1, 6 เดือน แทนที่จะต้ อง
ฉีดวัคซีนเดี่ยว 5 เข็ม



ผลข้ างเคียง
ผลข้ างเคียงที่พบบ่อย ได้ แก่ อาการปวด บวม แดง บริ เวณที่ฉีด พบสูงถึงร้ อยละ 20-50
เพราะมีอะลัม่ ส่วนอาการไข้ สงู ปานกลาง 1 ถึง 2 วันและอ่อนเพลีย พบน้ อยกว่าร้ อยละ
10 ผลข้ างเคียงอื่นๆ ที่พบน้ อยมาก เช่น มีผื่นขึ ้น ปวดกล้ ามเนื ้อ ปวดข้ อ เอนไซม์ตบั สูง
เล็กน้ อย
ข้ อห้ ามรับวัคซีน
1. ผู้ที่แพ้ ยาปฏิชีวนะที่ใส่ในเซลล์ที่ใช้ เลี ้ยงไวรัส หรื อผู้ที่รับวัคซีนครัง้ แรกแล้ วมีอาการแพ้
อย่างรุนแรง ที่อาจถึงแก่ชีวิตได้ ได้ แก่ อาการหน้ าซีด หัวใจเต้ นเร็ว มึนงง หลอดลมตีบทาให้
หายใจลาบากมีเสียงดังวิ๊ดๆ
2. หญิง มีครรภ์ ไม่แนะนาให้ รับวัคซีน เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเรื่ องความปลอดภัยของวัคซีน
ตับอักเสบเอสาหรับหญิงมี ครรภ์ แต่ยงั ไม่มี
โรคและความสาคัญ
 ไข้ หวัดใหญ่เป็ นโรคติดเชื ้อที่ร้ ูจก
ั กันดี โดยเฉพาะเมื่อครัง้ ล่าสุดที่เกิดการระบาดไปทัว่ โลก เมื่อปี
พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยสูงถึง 1.2 แสนราย เสียชีวิต 231 ราย ทุกปี
จะพบผู้ป่วยมากในช่วงต้ นฤดูฝนจนถึงปลายฤดูหนาว
 เชื ้อที่เป็ นสาเหตุคือ ไวรัสอินฟลูเอนซ่า ซึง่ มี 3 ชนิดคือ A, B และ C ไวรัสที่ก่อโรครุนแรงและ
เป็ นสาเหตุของการระบาดทุกปี คือ Influenza A virus ซึง่ ยังมีการจาแนกเป็ นซับ
ไทป์ต่างๆ ตามชนิดของโปรตีนที่เปลือกหุ้มคือ H และ N ระบุเป็ น H1N1 หรื อ H3N2
ซึง่ เป็ นสายพันธุ์ที่พบได้ ทกุ ปี ส่วนสายพันธุ์ H5N1 เป็ นสาเหตุของไข้ หวัดนก ไวรัสมีการ
กลายพันธุ์อยู่เสมอ ไวรัสที่แยกเชื ้อได้ จากผู้ป่วยแต่ละปี จึงมีลาดับกรดอะมิโนแตกต่างกันบ้ าง
แม้ จะเป็ นสายพันธุ์เดียวกันเช่น H1N1 และเป็ นสาเหตุที่ทาให้ เชื ้อดื ้อยาได้ ง่ายมาก


การติดต่ อ
ไข้ หวัดใหญ่ติดต่อได้ ง่ายโดยการไอ จาม หรื อพูดคุย ที่เกิดได้ บอ่ ยที่สดุ คือใช้ มือที่
สัมผัสสิ่งของที่เปื อ้ นเชื ้อในน ้ามูก น ้าลาย หยิบอาหารใส่ปาก ขยี ้ตา แคะจมูก ซึง่
ล้ วนเป็ นทางผ่านของไวรัสเข้ าสูร่ ่างกาย ผู้ป่วยจึงควรล้ างมือบ่อยๆ ปิ ดปากปิ ด
จมูกเพื่อลดการกระจายเชื ้อขณะไอจาม การแพร่เชื ้อจะเกิดได้ มาก ในทีม่ ีคน
หนาแน่น เช่น โรงเรี ยน โรงงาน รถประจาทาง








อาการ
อาการโดยทัว่ ไป ได้ แก่ มีไข้ หนาวสัน่ อ่อนเพลีย ไอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ ามเนื ้อ บางรายมี
อาการคัดจมูก หรื อเจ็บคอร่วมด้ วย ในเด็กอาจมีอาการอุจจาระร่ วงและมีไข้ สงู จนชัก ส่วนใหญ่
จะหายเป็ นปกติภายใน 7-10 วัน แต่มีน้อยกว่าร้ อยละ 10 ที่เกิดภาวะแทรกซ้ อน ที่สาคัญคือ
ปอดบวม และอาจรุนแรงจนเสียชีวิตได้ กลุม่ คนที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้ อนที่รุนแรงได้ แก่
ผู้สงู วัย อายุ 65 ปี ขึ ้นไป
เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี
คนอ้ วนมากๆ (น ้าหนักเกิน 100 กิโลกรัม)
คนท้ องที่อายุครรภ์เกิน 16 สัปดาห์
ผู้ป่วยโรคเรื อ้ รัง เช่น โรคปอด โรคหัวใจ โรคไต เบาหวาน ภูมิค้ มุ กันบกพร่องหรื อผู้ที่ได้ รับยากด
ภูมิค้ มุ กัน ผู้ที่มีปัญหาด้ านการกลืนและหายใจ เช่นโรคลมชัก โรคหอบหืด โรคถุงลมโป่ งพอง ผู้
พิการทางสมอง
เด็ก (อายุไม่เกิน 18 ปี ) ที่ต้องกินยาแอสไพริ นต่อเนื่องเป็ นเวลานาน






ประสิทธิภาพ
ภายหลังรับวัคซีน 2-3 สัปดาห์ จะเริ่ มมีภมู ิค้ มุ กัน (แอนติบอดี) สูงพอที่จะป้องกันโรคได้ ซึง่ จะมีระดับ
สูงสุดในระยะ 2-4 เดือนและป้องกันโรคได้ นานเพียง 6-12 เดือนหลังรับวัคซีน การทดสอบ
ประสิทธิภาพของวัคซีนในเด็กอายุ 5-6 ปี ที่มีสขุ ภาพดี วัคซีนชนิดพ่นจมูกป้องกันโรคได้ ประมาณ
87% และ วัคซีนเชื ้อตายป้องกันโรคได้ 70-90%
อย่างไรก็ดไี วรัสก่อโรคในบ้ านเราแต่ละปี มีความแตกต่างกับไวรัสที่ใช้ ทาวัคซีนบ้ าง ดังนันประสิ
้
ทธิภาพ
ในการป้องกันโรคอาจจะไม่สงู มากนัก ผู้ที่ได้ รับวัคซีนแล้ ว ก็ยงั มีโอกาสเกิดโรคได้ แต่อาการจะไม่รุนแรง
เพราะภูมิค้ มุ กันจากการรับวัคซีนยังป้องกันได้ บ้าง การศึกษาประสิทธิภาพวัคซีนไข้ หวัดใหญ่ชนิดเชื ้อ
ตายในกลุม่ ผู้สงู อายุไทยในเขตเมืองเมื่อปี พ.ศ. 2550 พบว่ามีผ้ ตู ิดเชื ้อร้ อยละ 8.9 ในกลุม่ ผู้ที่รับ
วัคซีน ส่วนกลุม่ ผู้ที่ไม่ได้ รับวัคซีนมีผ้ ตู ิดเชื ้อร้ อยละ 16.9
ผลข้ างเคียง
วัคซีนทังสองชนิ
้
ดมีผลข้ างเคียงน้ อย สาหรับผู้ที่รับวัคซีนเชื ้อตาย ผลข้ างเคียงที่พบบ่อย (มากกว่าร้ อยละ
10) คือ อาการปวดบวมแดงบริ เวณที่ฉีดประมาณ 1 ถึง 2 วัน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ ามเนื ้อ
เด็กอายุต่ากว่า 5 ปี มีอาการง่วงนอน เบื่ออาหาร วัคซีนเชื ้อตายที่มีสารเสริ มฤทธิ์ พบผลข้ างเคียงมากว่า
ชนิดที่ไม่มีสารเสริ มฤทธิ์
ผลข้ างเคียงที่พบบ่อย (มากกว่าร้ อยละ 10) สาหรับผู้ที่รับวัคซีนเชื ้อเป็ น ได้ แก่ คัดจมูก น ้ามูกไหล พบได้
ทุกช่วงอายุ ส่วนอาการไข้ สงู พบในกลุม่ เด็กอายุ 2-6 ปี อาการเจ็บคอพบในผู้ใหญ่






ข้ อห้ ามใช้
1. วัคซีนไข้ หวัดใหญ่ที่มีในท้ องตลาดทุกยี่ห้อ เลี ้ยงไวรัสในไข่ไก่ฟัก ดังนันผู
้ ้ ที่แพ้ ไข่
หรื อผู้ที่มีประวัติแพ้ วคั ซีนไข้ หวัดใหญ่อย่างรุนแรง ไม่ควรรับวัคซีน อาการแพ้ อย่างรุนแรง
ได้ แก่ อาการหน้ าซีด หัวใจเต้ นเร็ว มึนงง หลอดลมตีบทาให้ หายใจลาบากมีเสียงดังวิ๊ดๆ
2. เด็กอายุต่ากว่า 2 ปี คนอายุตงแต่
ั ้ 50 ปี ขึ ้นไป คนท้ อง ตลอดจนผู้ที่อยู่ในกลุม่
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้ อนเมือ่ ติดเชื ้อ ห้ ามรับวัคซีนเชื ้อเป็ น
3. บุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องดูแลคนที่ภมู ิค้ มุ กันอ่อนแอมาก ๆ จนต้ องอยู่ในเขต
ปลอดเชื ้อ เช่นคนไข้ ที่อยู่ระหว่างการปลูกถ่ายไขกระดูก ห้ ามรับวัคซีนเชื ้อเป็ น
4. ผู้ที่แพ้ อากาศและมีอาการแน่นจมูกหายใจไม่ออก แนะนาให้ รับวัคซีนเชื ้อตายแทน
5. หากกาลังอยู่ในระหว่างเจ็บป่ วย เช่นมีไข้ สงู ควรเลื่อนการรับวัคซีน รอจนแข็งแรง
ก่อน แต่หากเจ็บป่ วยเล็กน้ อย เช่นแพ้ อากาศ ผื่นคัน เป็ นหวัดหรื อเจ็บคอมีไข้ ต่าๆ รับ
วัคซีนเชื ้อตายได้
โรคและความสาคัญ
 มะเร็ งปากมดลูกเป็ นมะเร็ งที่พบมากเป็ นอันดับสองของหญิงไทย มีผ้ ป
ู ่ วยรายใหม่ปีละประมาณ 10,000 ราย
เสียชีวิตปี ละประมาณ 5200 ราย ร้ อยละ 99.7 ของคนไข้ มะเร็งปากมดลูก มีสาเหตุมาจากเซลล์เยื่อบุปาก
มดลูกติดเชื ้อไวรัสพาพิโลมา หรื อเรี ยกย่อ ๆ ว่าไวรัสเอชพีวี (human papilloma virus, HPV)
เป็ นเวลานานหลายปี แล้ วทาให้ เซลล์เกิดการกลายพันธุ์จนในที่สดุ กลายเป็ นเซลล์มะเร็ง ไวรัสชนิดนี ้ยังเป็ นสาเหตุ
ของ หูด บริเวณผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ หูดหงอนไก่ที่อวัยวะเพศ ซึง่ ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรื อใช้ ของร่วมกัน
 ไวรัสเอชพีวี สายพันธุ์ 16 และ 18 เป็ นสาเหตุของมะเร็ งปากมดลูกที่พบได้ บอ
่ ยที่สดุ ประมาณร้ อยละ 70 สายพันธุ์
อื่นๆ ได้ แก่ 45, 31, 33, 52, 58 ส่วนสายพันธุ์ 6 และ 11 เป็ นสาเหตุของหูดหงอนไก่ ที่พบได้ สงู ถึง
ร้ อยละ 90





วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
เป็ นวัคซีนใหม่ เพิ่งเข้ าสูป่ ระเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2550 ประกอบด้ วยโปรตีนที่ผิว
ไวรัสเอชพีวี ที่จดั เรี ยงตัวคล้ ายไวรัสแต่ภายในไม่มีสารพันธุกรรม จึงปลอดภัยไม่เพิ่ม
จานวนในร่างกาย มี 2 ชนิด คือ Cervarix ® หรื อ HPV 2 มีโปรตีนที่ผิวไวรัส
สายพันธุ์ 16 และ 18 และ Gardasil® หรื อ HPV4 มีโปรตีนที่ผิวไวรัสสายพันธุ์
6, 11, 16 และ 18 วัคซีนสองยี่ห้อผสมสารเสริ มฤทธิ์ที่ตา่ งกัน เป็ นยาน ้าแขวน
ตะกอน มีทงแบบบรรจุ
ั้
ใน ขวดแก้ ว (vial) และในกระบอกฉีดยา (prefilled
syringe) ขนาดบรรจุ 0.5 มล สาหรับ 1 โด๊ ส
ขนาดและกาหนดการรั บวัคซีน
วัคซีนทังสองชนิ
้
ดให้ โดยวิธีฉีดเข้ ากล้ ามขนาด 0.5 มล. จานวน 3 เข็ม สองเข็มแรกห่าง
กัน 1-2 เดือน เข็มสุดท้ ายห่างจากเข็มแรก 6 เดือน แนะนาให้ วคั ซีนแก่เด็กผู้หญิง
อายุ 11-12 ปี หรื ออาจจะเริ่ มให้ ตงแต่
ั ้ 9 ขวบก็ได้ หากไม่ทนั ก็รับได้ ในช่วงอายุ
13 ถึง 26 ปี สาหรับเพศชายอายุ 9-26 ปี ให้ รับวัคซีนเอชพีวีชนิด HPV4 ได้
เพื่อป้องกันหูดหงอนไก่ที่อวัยวะเพศได้ ด้วย
ไม่แนะนาให้ ตรวจภูมิค้ มุ กัน (แอนติบอดี) หรื อตรวจสายพันธุ์ไวรัสที่ปากมดลูกว่าตรงกับ
สายพันธุ์ที่ใช้ ทาวัคซีนหรื อไม่








ประสิทธิภาพ
ทังสองวั
้
คซีนมีประสิทธิภาพมากกว่าร้ อยละ 90 ในการป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งส่วนอื่นๆ
ของอวัยวะสืบพันธุ์ ที่มีสาเหตุจากไวรัสเอชพีวีสายพันธุ์ 16 และ 18 ซึง่ พบได้ ร้อยละ 70 ของ
มะเร็งปากมดลูก แต่วคั ซีนไม่สามารถป้องกันมะเร็งที่มีสาเหตุจากไวรัสเอชพีวีสายพันธุ์อื่นๆ อีกทังไม่
้ มี
ผลในการรักษามะเร็งปากมดลูก และไม่สามารถทาลายสารพันธุกรรมของไวรัสที่เข้ าเซลล์แล้ ว จึงควร
ได้ รับวัคซีนครบทัง้ 3 เข็มอย่างน้ อย 2 สัปดาห์ก่อนมีเพศสัมพันธ์ครัง้ แรก จะป้องกันการติดเชื ้อซึง่ เป็ น
สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกได้ ดีที่สดุ และเชื่อว่าภูมิค้ มุ กันจะอยู่ได้ นานตลอดชีวิต
ผลข้ างเคียง
เด็กวัยรุ่นที่รับวัคซีนบางรายอาจเป็ นลมหมดสติ ควรนัง่ หรื อนอนพัก 15 นาทีภายหลังรับวัคซีน
Cervarix มีรายงานผลข้ างเคียงบ่อยกว่า Gardasil ที่พบบ่อยที่สดุ คือ ปฏิกิริยาบริ เวณที่ฉีด
เช่น อาการปวด บวมแดงร้ อน คัน ช ้า อาการปวดพบสูงถึงร้ อยละ 80-90 มีไข้ ต่าๆพบประมาณร้ อยละ
10 ผลข้ างเคียงที่พบบ่อยอีกประการของ Gardasil คือ อาการปวดศีรษะ พบร้ อยละ 66 ส่วน
Cervarix ยังมีผลข้ างเคียงอื่นๆ ที่พบบ่อย คือ ปวดท้ องคลื่นไส้ อาเจียนท้ องเสียพบร้ อยละ 25 ปวด
ข้ อปวดกล้ ามเนื ้อพบร้ อยละ 50
ข้ อห้ ามใช้
1. ผู้ที่รับวัคซีนเข็มก่อนแล้ วมีอาการแพ้ อย่างรุนแรง
2. ผู้ที่มีประวัติแพ้ ยีสต์อย่างรุนแรงห้ ามรับวัคซีน Gardasil® เพราะโปรตีนไวรัสผลิตในยีสต์
ผู้ที่มีประวัติแพ้ ยาง เลือกวัคซีนที่บรรจุในขวดแก้ ว (vial) ไม่ใช้ ชนิดที่บรรจุในกระบอกฉีดยา
(prefilled syringe) ที่มียางเป็ นส่วนประกอบ
โรคและความสาคัญ
 โรคอีสก
ุ อีใสเกิดจากไวรัสชนิดหนึง่ ประเทศไทยมีความชุกชุมโรคสูง รายงานผู้ป่วยปี ละหลาย
หมื่นราย ในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมามีแนวโน้ มเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อย ๆ ส่วนใหญ่เป็ นเด็กอายุต่ากว่า
10 ปี
 ระยะแรกติดเชื ้อในเยื่อบุที่ลาคอและทางเดินหายใจ มีอาการคล้ ายเป็ นหวัด มีไข้ ปวดเมื่อย
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บคอเล็กน้ อย ต่อมาไวรัสกระจายไปที่ผิวหนัง จึงเริ่ มมีผื่นขึ ้นเป็ นตุม่ นูน
แดงตามลาตัวก่อน ลามไปแขนขา ต่อมากลายเป็ นตุม่ น ้าพองใสขนาดใหญ่บนฐานสีแดง มี
หนอง แตกเป็ นแผล ตกสะเก็ดและคัน ทังหมดใช้
้
เวลาเพียงไม่กี่ชวั่ โมง พบผื่นได้ ทกุ ระยะนาน
4-7 วัน




โรคอีสกุ อีใสที่เกิดในวัยเด็ก ไม่ต้องใช้ ยา อาการต่างๆ ก็จะหายได้ เอง แต่การติดเชื ้อในทารก
และผู้ใหญ่ ร้ อยละ 20-30 จะเกิดอาการรุนแรง ได้ แก่ ปอดอักเสบ และ สมองอักเสบ จนต้ องเข้ า
รักษาตัวในโรงพยาบาล ต้ องได้ รับยาต้ านไวรัส และอาจถึงแก่ชีวิตได้ การติดเชื ้อในสตรี มีครรภ์
ที่อายุครรภ์ อยู่ในระยะ 3 เดือนแรก เสียงต่อการเกิดความผิดปกติของทารกในครรภ์
ส่วนใหญ่ผ้ ทู ี่หายจากโรคจะไม่เกิดผื่นอีสกุ อีใสซ ้า แต่ร้อยละ 10-20 ของผู้ที่เคยรับเชื ้อ เมื่ออายุ
มากกว่า 65 ปี จะเกิดงูสวัด ซึง่ เกิดจากไวรัสหลบไปซ่อนตัวที่ปมประสาท และกลับมาติดเชื ้อซ ้า
ที่ผิวหนังตามแนวเส้ นประสาท เกิดตุม่ น ้าพองใสตามแนวเส้ นประสาทและปวดเส้ นประสาท
นาน 2-4 สัปดาห์ ซ ้าร้ าย 1 ใน 5 ราย ยังมีอาการปวดเส้ นประสาทอยู่นานหลายเดือน
หลังจากรอยโรคที่ผิวหนังหายไปแล้ ว
การติดต่ อ
โรคอีสกุ อีใสติดต่อได้ ง่ายมาก ผู้ป่วยเริ่ มแพร่เชื ้อตังแต่
้ ช่วงที่มีอาการคล้ ายหวัด ประมาณ 1-2
วันก่อนเกิดผื่น จึงไม่เป็ นที่สงั เกตุ และมีไวรัสในตุม่ น ้าใสจนถึงระยะก่อนแผลตกสะเก็ด การ
ติดต่อส่วนใหญ่ โดยสูดหายใจหรื อใช้ มือเปื อ้ นละอองน ้ามูกน ้าลายของผู้ติดเชื ้อ ขยี ้ตา แคะจมูก
หรื อหยิบอาหารใส่ปาก ส่วนการติดเชื ้อโดยสัมผัสไวรัสในตุม่ น ้าใส เกิดน้ อยกว่า




วัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส
เริ่ มใช้ ครัง้ แรกตังแต่
้ ปี พ.ศ. 2523 ที่ประเทศญี่ปนุ่ เป็ นวัคซีนเชื ้อเป็ นอ่อนฤทธิ์
ที่แยกไวรัสได้ จากผู้ป่วยเด็กที่ประเทศญี่ปนุ่ และทาให้ อ่อนฤทธิ์โดยเลี ้ยงในเซลล์
เพาะเลี ้ยงเป็ นเวลานาน วัคซีนที่มีขายในประเทศไทยได้ แก่ Varilrix®, Okavax® และ
Varicella vaccine-GCC®
ราคาประมาณโด๊ สละ 1000 บาท มีทงรู
ั ้ ปผงแห้ งที่ต้องผสมกับตัวทาละลายก่อนฉีด หรื อรูปยา
น ้า บรรจุในขวดแก้ ว (vial)สาหรับ 1 โด๊ ส ความแรง ไม่น้อยกว่า 1000 pfu0.5 ml(1โด๊ ส)
ขนาดและการบริหารวัคซีน
กาหนดให้ รับวัคซีน 2 ครัง้ โดยฉีดเข้ าใต้ หนัง เริ่ มรับวัคซีนครัง้ แรกได้ ตงแต่
ั ้ อายุ 1 ปี สมาคมโรคติด
เชื ้อในเด็กแห่งประเทศไทย แนะนาให้ รับวัคซีนเข็มแรกเมื่ออายุ 12 – 18 เดือน และเข็มที่
สองเมื่ออายุ 4-6 ปี ซึง่ เป็ นช่วงอายุที่พบติดเชื ้อได้ บอ่ ยที่สดุ แต่หากมีความจาเป็ นเร่งด่วน
เช่น เกิดการระบาด หรื อเพิ่งรับเชื ้อ ให้ รับวัคซีนเข็มที่ 2 ทันทีแต่ต้องห่างจากเข็มแรกอย่างน้ อย 3
เดือน








ใครควรได้ รับวัคซีน
แม้ ความชุกชุมโรคสูง แต่วคั ซีนยังมีราคาแพง จึงยังไม่อยู่ในแผนการสร้ างเสริ มภูมิค้ ุมกันโรคของไทย ทุก
คนที่ยงั ไม่เคยเป็ นอีสกุ อีใสและมีฐานะที่จะจ่ายได้ โดยเฉพาะถ้ าในบ้ านมีคนท้ อง หรื อผู้ป่วยภูมิค้ มุ กัน
บกพร่อง ควรรับวัคซีน
ในรายที่จาไม่ได้ ว่าเคยเป็ นอีสกุ อีใสหรื อไม่ หรื อเคยมีอาการเล็กน้ อยและไม่แน่ใจว่าใช่โรคอีสกุ อีใส
หรื อไม่ ทังนี
้ ้อาจตรวจแอนติบอดีที่จาเพาะก่อน ค่าใช้ จ่ายหลายร้ อยบาท หากยังไม่มีภมู ิค้ มุ กันจึงรับ
วัคซีน แต่หากจะรับวัคซีนโดยไม่ตรวจภูมิค้ มุ กัน ก็ทาได้ เพราะการรับวัคซีนขณะที่มีภมู ิค้ มุ กันอยู่แล้ วไม่
มีอนั ตรายใดใด
1. เด็กติดเชื ้อเอชไอวีที่ยงั ไม่เคยเป็ นอีสกุ อีใส ต้ องมีระดับ CD4 อย่างน้ อยร้ อยละ 15 จึงรับวัคซีน
ได้ กาหนดให้ รับ 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้ อย 3 เดือน สาหรับทุกอายุ
2. ผู้ที่ได้ รับเชื ้อไม่เกิน 3-5 วัน หากยังไม่เคยเป็ นอีสกุ อีใส ควรรับวัคซีนทันที
ประสิทธิภาพ
เดิมเคยกาหนดให้ เด็กอายุต่ากว่า 13 ปี รับวัคซีนเพียง 1 เข็ม แต่มีรายงานเกิดโรคในกลุม่ เด็กที่รับ
วัคซีน ปี 2007 ACIP จึงกาหนดให้ รับวัคซีน 2 เข็มสาหรับทุกอายุ วัคซีน 1 เข็มป้องกันโรคได้
เพียงร้ อยละ 85.7 วัคซีน 2 เข็มป้องกันโรคได้ สงู ถึงร้ อยละ 99.6 และคาดว่าภูมิค้ มุ กันอยู่ได้ นานตลอด
ชีวิต ดังนันผู
้ ้ ที่เคยได้ รับวัคซีนมาแล้ ว 1 เข็มเมื่อวัคซีนนี ้เพิ่งเข้ าสูต่ ลาดใหม่ ๆ ควรรับอีกหนึง่ เข็มทันที
โดยที่ไม่จาเป็ นต้ องตรวจว่ามีภมู ิค้ มุ กันหรื อไม่ เพราะการรับวัคซีนขณะที่มีภมู ิค้ มุ กันอยู่แล้ วไม่มีอนั ตราย
ใดใด
นอกจากนี ้หากได้ รับวัคซีนภายหลังสัมผัสโรค 3-5 วัน ยังป้องกันการเกิดโรคหรื อลดความรุนแรงได้
โดยถ้ าได้ รับวัคซีนภายใน 3 วัน ป้องกันได้ ร้อยละ 90












ผลข้ างเคียง
ที่พบบ่อยโดยเฉพาะในวัยรุ่นและผูใ่ หญ่ประมาณร้ อยละ 20-30 มีอาการปวด บวมแดงบริ เวณที่ฉีด ร้ อยละ 10 ของ
ผู้รับวัคซีน เกิดไข้ ต่า ๆ มีสว่ นน้ อยประมาณร้ อยละ 1-4 มีผื่นขึ ้นเพียง 2-5 ตุม่ และเป็ นเพียงตุม่ แดง แต่อาจแพร่ ไวรัส
จากวัคซีนได้ แม้ โอกาสน้ อยมาก ในระยะที่มีผื่น จึงควรอยูแ่ ต่ในบ้ าน ไม่คลุกคลีกบั ท้ อง และผู้ป่วยที่ระบบภูมิค้ มุ กัน
บกพร่ อง
ข้ อห้ ามใช้
1. ไวรัสในวัคซีนเลี ้ยงในเซลล์เพาะเลี ้ยง ซึง่ อาจมียาปฏิชีวนะที่ใส่ในอาหารเลี ้ยงเซลล์ปนเปื อ้ นมาได้ เช่น นีโอมัยซิน ใน
Varilrix® และอิริโทรมัยซิน กับคาน่ามัยซิน ใน Okavax® และมีเจลาติน ในสูตรตารับ ผู้ที่มีประวัติแพ้ สาร
ดังกล่าว หรื อเมื่อรับวัคซีนเข็มแรกแล้ ว มีอาการแพ้ อย่างรุนแรง งดรับวัคซีน
2. หญิงตังครรภ์
้
3. ผู้ที่ระบบภูมิค้ มุ กันบกพร่ อง เช่น คนไข้ โรคเอดส์ที่ระดับ CD4 น้ อยกว่าร้ อยละ 15 คนไข้ มะเร็ งเม็ดเลือดขาวระยะ
โรครุนแรง คนไข้ ที่รับยากดภูมิค้ มุ กันเป็ นเวลานานเกิน 2 สัปดาห์ คนไข้ โรคมะเร็ งที่อยูใ่ นระหว่างรับยาเคมีบาบัด
ข้ อควรระวัง
1. ผู้ที่ได้ รับพลาสมา อิมมูโนโกลบูลิน หรื อผลิตภัณฑ์เลือดไม่นาน (3 -11 เดือน) ขึ ้นกับชนิดและขนาดที่ได้ รับ เพราะจะ
ลดประสิทธิภาพของวัคซีน
2. หญิงที่มีสามี แนะนาให้ คมุ กาเนิด 1 เดือนหลังรับวัคซีนแต่ละครัง้ แต่หากเกิดตังครรภ์
้
ไม่ต้องทาแท้ ง
3. หากป่ วยต้ องนอนโรงพยาบาล หรื อมีไข้ สงู ควรเลื่อนการรับวัคซีน
ความเหมาะสมในการรับวัคซีน
แม้ วคั ซีนจะมีราคาค่อนข้ างแพง แต่คอ่ นข้ างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูง ป้องกันโรคได้ นาน อาจจะตลอดชีวิต และ
ยังช่วยป้องกันการเกิดงูสวัดได้ ด้วย หากท่านสามารถจ่ายได้ ก็ควรพาลูกไปฉีดวัคซีนตังแต่
้ อายุครบขวบ เพราะเป็ นโรคที่
มีชกุ ชุมในประเทศไทย การติดเชื ้อตามธรรมชาติในวัยเด็ก แม้ อาการไม่รุนแรง แต่ก็ต้องขาดเรี ยนอย่างน้ อย 1 สัปดาห์
รวมทังพ่
้ อแม่ผ้ ปู กครองเองก็ต้องลางานมาดูแลลูก หากโชคร้ ายได้ รับเชื ้อตอนโต มีความเสี่ยงสูงที่ จะเกิดอาการรุนแรงจน
ต้ องนอนโรงพยาบาล