Transcript Click

กลมุ่ โรคที่ป้องกันได้ดว้ ยวัคซีน
(Vaccine Preventable Diseases)
อนุพนั ธ์ สุวรรณพันธ์
โรคส ุกใส (Chickenpox)
1. ลักษณะโรค
เป็นโรคติดเชื้อไวรัสอย่างเฉียบพลัน
ไม่กี่ชม.
ไข้เล็กน้อย
รส้ ู ึกไม่สบาย มีผื่นแดง
ตมุ่ น้า
3-4 วัน
ตกสะเก็ด ตมุ่ น้าอยูเ่ ดี่ยว
มีรอยบมุ๋ ตรงกลาง
1. ลักษณะโรค
ตมุ่ มีหลายระยะอยูใ่ นช่วงเวลาเดียวกัน
1. ลักษณะโรค
พบในส่วนปกปิดของร่างกาย เช่น หนังศีรษะ
ลำตัวและใบหน้ำ มำกกว่ำแขนขำ
1. ลักษณะโรค
อาจพบในเยื่อบ ุปาก เยื่อบ ุตา ลาคอ กล่องเสียง
ช่องคลอด จะเห็นเป็นสีขาวและไม่มีสะเก็ด
1. ลักษณะโรค
กรณีมีอาการเล็กน้อยอาจสังเกตไม่พบ และ
บางครัง้ จะมีอาการร ุนแรงโดยเฉพาะในผูใ้ หญ่
1. ลักษณะโรค
การเปลี่ยนแปลงของผื่นส ุกใส
1. ลักษณะโรค
ลักษณะผื่นที่สาคัญ
• ผื่นมีการเปลี่ยนแปลงจาก Macule เป็น Papule,
Vesicle, Pustule และตกสะเก็ดอย่างรวดเร็ว
• ผื่นจะมีมากบริเวณส่วนกลางของร่างกาย
• คันมาก
• มักพบผื่นหลายระยะในบริเวณใกล้เคียงกัน
1. ลักษณะโรค
• อาการไข้มกั เกิดพร้อมกับผื่น
• อาจมีไข้สงู ช่วงผื่นขึ้นมากและเป็นอยูป่ ระมาณ
2-4 วัน ในรายที่มีผื่นขึ้นทัง้ ตัวอาจมีไข้สงู ถึง 40
องศาเซลเซียส
• ไข้จะลดลงเมื่อตมุ่ ตกสะเก็ด
• เด็กเล็กอาจไม่มีไข้หรือไข้ต่า ๆ
• อาจพบปวดศีรษะ ครัน่ เนื้อครัน่ ตัว เบื่ออาหาร ที่
รบกวนผูป้ ่ วยคือ อาการคัน มักเกิดในระยะตมุ่ น้า
1. ลักษณะโรค
• ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ ปอดบวม สมอง
อักเสบ หรือความพิการ และเสียชีวิตได้
• อาจติดเชื้อซ้าทาให้เกิดแผลเป็นผิดรูป
มีเนื้อตายของผิวหนัง หรือมีภาวะติดเชื้อใน
กระแสเลือดได้
กลมุ่ ประชากร*
อัตราป่วยตาย
เด็ก 5-9 ปี
1
เด็กเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาว 5,000 – 10,000
ผูใ้ หญ่
20
*ในสหรัฐอเมริกา
1. ลักษณะโรค
เด็กที่เกิดจากแม่ป่วย
5 วันก่อนคลอด
ถึง 2 วันหลังคลอด
เด็กป่วยเมื่ออาย ุ
5-10 วัน
ก่อนมียาอัตรา
ป่วยตายร้อยละ 30
1. ลักษณะโรค
• การติดเชื้อในหญิงตัง้ ครรภ์ระยะแรก ทาให้
เด็กพิการได้รอ้ ยละ 0.7 (Congenital Varicella
Syndrome)
• ช่วงอาย ุครรภ์ 13-20 สัปดาห์ เด็กพิการ
ได้รอ้ ยละ 2
1. ลักษณะโรค
• งูสวัดเกิดจากการติดเชื้อไวรัสส ุกใสในอดีต
โดยเชื้อจะหลบซ่อนอยูใ่ นปมประสาท
• เมื่อถูกกระตน้ ุ จะแสดงอาการเฉพาะที่ตาม
แนวของเส้นประสาทสัมผัสที่เชื้ออาศัยอยู่
• โดยมีผื่นแดง ต่อมามีตมุ่ น้าใสคล้ายส ุกใส
แต่จะอยูแ่ น่นกว่า มีอาการเพียงซีกเดียว
1. ลักษณะโรค
• ลักษณะผื่นงูสวัด จะปวดแสบร้อน ชา
1. ลักษณะโรค
ผูป้ ่ วยติดเชื้อ HIV จะมีความเสี่ยงเป็นงูสวัด
เพิ่มขึ้น
2. เชื้อก่อโรค
Varicellar Zoster Virus (VZV)
Genus Alpha Herpesvirus ซึ่งคล้ายกับไวรัส
เริม (Herpes Simplex Virus, HSV) มาก
3. การเกิดโรค
• พบได้ทวั่ โลก ตลอดปี มักระบาดในฤด ูหนาว
• ร้อยละ 90 ของเด็ก 15 ปี ติดเชื้อมาแล้ว
• ร้อยละ 95 ของผูใ้ หญ่ 20 ปี ติดเชื้อมาแล้ว
4. แหล่งรังโรค
คน
5. วิธีการแพร่เชื้อ
ไอ จามรดกัน (Airborne Transmission)
5. วิธีการแพร่เชื้อ
สัมผัสโดยตรงกับตมุ่ น้า
(Direct Contact)
จากผูป้ ่ วย หรือสิ่งของ
ปนเป้ ื อนเชื้อ
6. ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
ประมาณ 2 สัปดาห์ (14-16 วัน)
อาจถึง 3 สัปดาห์หรือนานกว่านัน้
กรณีมี Antibody หรือผูม้ ีภ ูมิคม้ ุ กันบกพร่อง
7. ระยะติดต่อของโรค
ตมุ่ น้า
1-2 วัน
ก่อนมี
ตกสะเก็ด
1-2 วันหรืออาจนานถึง 5 วัน ก่อนมีตมุ่ น้า
อาจนานกว่านัน้ มีภ ูมิคม้ ุ กันผิดปกติ ส่วนงูสวัด
ติดต่อได้ประมาณ 1 สัปดาห์หลังมีตมุ่ หนอง
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• คนไม่มีภ ูมิจะมีความไวต่อการรับเชื้อ
• ผูใ้ หญ่มีอาการมากกว่าเด็ก
• ภ ูมิคม้ ุ กันหลังติดเชื้ออยูไ่ ด้ตลอดชีวิต
• การติดเชื้อซ้าพบได้นอ้ ยมากในคนที่ภ ูมิคม้ ุ กัน
ผิดปกติ
• การติดเชื้อเรื้อรังแสดงอาการเป็นงูสวัดพบได้
ร้อยละ 15
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
กลมุ่ เสี่ยง
• เด็กที่มภี มู คิ มุ้ กันบกพร่องและไม่เคยเป็ นสุกใส
• หญิงตัง้ ครรภ์ที่ไม่เคยเป็ นและไม่มภี มู คิ มุ้ กัน
• ทำรกที่คลอดจำกมำรดำที่เป็ นโรคภำยใน 5 วันก่อน
และ 2 วันหลังคลอด
• ทำรกคลอดก่อนกำหนดอำยุครรภ์ <28 สัปดำห์
• ทำรกคลอดก่อนกำหนดในโรงพยำบำลที่มำรดำไม่
เคยป่ วยเป็ นสุกใสและ/หรือไม่มภี มู คิ มุ้ กัน
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. การให้วคั ซีน
9. วิธีการควบค ุมโรค
วัคซีนซึ่งทาจากเชื้อที่ทาให้อ่อนกาลังลง (Live
Attenuated Vaccine) สามารถกระตน้ ุ ให้เกิดภ ูมิคม้ ุ กัน
และป้องกันโรคได้รอ้ ยละ 85-95 ให้ได้ทงั้ ในเด็กและ
ผูใ้ หญ่ อาจมีตมุ่ เกิดขึ้นบ้างแต่ไม่มาก
• ให้ฉีดใต้ผวิ หนัง 1 ครัง้ เมือ่ อำยุ 12-18 เดือน และเด็กอำยุ
12 ปี ที่ไม่เคยได้รบั วัคซีน
• แนะนำให้แก่ผมู้ อี ำยุ 13 ปี ที่ไม่มปี ระวัตแิ ละกลุม่ เสี่ยง
• ห้ำมให้ในผูม้ ภี มู คิ มุ้ กันบกพร่องและติดเชือ้ HIV ที่มอี ำกำร
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
II. การให้วคั ซีนแก่ผส้ ู มั ผัสใกล้ชิด ในรายที่มี
ความเสี่ยงสูงแต่ให้วคั ซีนไม่ได้
III. อิมมูโนโกลบูลิน (Immunoglobulin) ในกลมุ่
เสี่ยง เพื่อป้องกันโรคส ุกใส-งูสวัด ภายใน 96 ชัว่ โมง
หลังสัมผัสโรค
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และ
รายงานให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
II. การแยกผูป้ ่ วย : เด็กให้หยุดเรียน ผูใ้ หญ่ให้
หยุดงำนจนกว่ำแผลจะตกสะเก็ด ประมำณ 5 วัน
ในโรงพยำบำลแยกผูป้ ่ วยอย่ำงเข้มงวด เพื่อป้องไม่ให้แพร่
เชือ้ ให้ผมู้ ภี ำวะภูมคิ มุ้ กันผิดปกติ
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
III. การทาลายเชื้อ : ทำควำมสะอำดสิ่งของต่ำง ๆ
ที่มโี อกำสปนเปื้ อนสำรคัดหลัง่ (Secretion) เช่น นำ้ มูก
นำ้ ลำย เสมหะ
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
IV. การกักกัน : ไม่จำเป็ น
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีน : ในผูส้ มั ผัสที่มคี วำมไวรับ ให้
ภำยใน 3-5 วันหลังสัมผัสโรค
ให้อิมมูโนโกลบูลิน ภำยใน 96 ชัว่ โมง แก่ผสู้ มั ผัส
ใกล้ชดิ ในกลุม่ เสี่ยงสูง
ให้ยำต้ำนไวรัส เช่น Acyclovir จะลดควำมรุนแรงได้
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัสและแหล่งรับเชื้อ : รัง
โรคอำจเป็ นผูป้ ่ วยสุกใส หรืองูสวัด ผูท้ ี่สมั ผัสที่ให้วคั ซีนได้
ควรให้ทนั ที หรือให้อิมมูโนโกลบูลินในกรณีเป็ นกลุม่ เสี่ยง
สูงแต่ให้วคั ซีนไม่ได้
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
VI. การรักษาเฉพาะ : ยำที่มปี ระสิทธิภำพสูงเช่น
Vidarabine และ Acyclovir จะทำให้หำยเร็วขึน้ และเจ็บปวด
สัน้ ลง โดยเฉพำะได้ยำภำยใน 24 ชัว่ โมงหลังมีผนื่
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : มักพบในโรงเรียน
หรือสถำนบริบำลต่ำง ๆ ควรแยกผูป้ ่ วยทันที ผูใ้ ห้วคั ซีน
ไม่ได้ควรได้อิมมูโนโกลบูลิน
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : เด็กที่มำอยู่รวมกัน
ในที่แออัด อำจมีกำรระบำดได้
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : ไม่มี
โรคคางทูม (Mumps)
1. ลักษณะโรค
เป็นโรคติดเชื้อไวรัสอย่างเฉียบพลัน โดยมีไข้ ปวดและบวม
ที่ต่อมน้าลายอย่างน้อย 1 ต่อม ทาให้ต่อมน้าลายอักเสบ
(Parotitis)
พบมาก
1. ลักษณะโรค
• ทาให้ล ูกอัณฑะอักเสบและมักเป็นข้างเดียว พบร้อยละ
20-30 ทาให้อณ
ั ฑะฝ่อ แต่ไม่ค่อยพบว่าเป็นสาเหต ุของ
การเป็นหมัน
1. ลักษณะโรค
• มีอาการระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะเด็ก <5 ปี
ทาให้เกิดห ูหนวกในเด็กและผูใ้ หญ่ (Sensorineural
Hearing Loss)
• พบตับอ่อนอักเสบร้อยละ 4
• พบเยือ่ หม้ ุ สมองอักเสบไม่พบเชื้อ (Aseptic
Meningitis) ร้อยละ 10 แต่เมื่อหายแล้วจะไม่มีความ
ผิดปกติ
• หญิงตัง้ ครรภ์ติดเชื้อช่วง 3 เดือนแรก อาจเพิ่ม
โอกาสการแท้งบ ุตรได้รอ้ ยละ 25
2. เชื้อก่อโรค
Mumps Virus ใน Genus Rubulavirus
Family Paramyxoviridae
3. การเกิดโรค
• 1 ใน 3 ไม่แสดงอาการและเด็ก <2 ปี ส่วนใหญ่ไม่
แสดงอาการ
• ประเทศเขตอบอนุ่ พบความช ุกในช่วงฤด ูหนาวและ
ใบไม้ผลิ
• พื้นที่ยงั ไม่มีวคั ซีน พบอ ุบัติการณ์ >100 ต่อแสน
ประชากร และระบาดท ุก 2-5 ปี การสารวจพบว่ามี
ภ ูมิคม้ ุ กันแล้วร้อยละ 95
4. แหล่งรังโรค
คน
5. วิธีการแพร่เชื้อ
ไอ จามรดกัน (Droplets Transmission)
5. วิธีการแพร่เชื้อ
สัมผัสโดยตรงกับน้าลายของผูต้ ิดเชื้อ
(Direct Contact)
6. ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
ประมาณ 16-18 วัน
(อาจพบได้ในช่วง 14-25 วัน)
7. ระยะติดต่อของโรค
ต่อมน้าลายอักเสบ (Parotitis)
7 วัน
ก่อนมี
9 วัน
หลังมี
ช่วงแพร่เชื้อมากส ุด คือ 2 วันก่อนมีอาการแสดง
ถึงวันที่ 4 ที่มีอาการ ผูท้ ี่ไม่มีอาการแพร่เชื้อได้
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• ภ ูมิคม้ ุ กันหลังติดเชื้ออยูไ่ ด้ตลอดชีวิตไม่ว่าจะมี
อาการหรือไม่มีอาการ
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. การให้วคั ซีน ในเด็ก 12-18 เดือน ซึ่งเป็น
วัคซีนรวม MMR (Measles, Mumps, Rubella)
9. วิธีการควบค ุมโรค
วัคซีนซึ่งทาจากเชื้อที่ทาให้อ่อนกาลังลง เป็นวัคซีน
เชื้อเป็น (Live Attenuated Vaccine) สามารถกระตน้ ุ ให้
เกิดภ ูมิคม้ ุ กันและป้องกันโรคได้รอ้ ยละ 63-95 มี
หลายสายพันธ์ ุ เช่น
• Jeryl Lynn ใช้ในอเมริกำ และประเทศพัฒนำแล้ว
• Urabe
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และ
รายงานให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
II. การแยกผูป้ ่ วย : ควรแยกผูป้ ่ วยเป็ นเวลำ 9 วัน
หลังจำกเริ่มมีอำกำรของต่อมนำ้ ลำยอักเสบ
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
III. การทาลายเชื้อ : ทำควำมสะอำดสิ่งของต่ำง ๆ
ที่มโี อกำสปนเปื้ อนสำรคัดหลัง่ (Secretion) เช่น นำ้ มูก
นำ้ ลำย เสมหะ
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
IV. การกักกัน : แยกผูค้ ำดว่ำจะได้รบั เชือ้ จำก
โรงเรียนหรือที่ทำงำน 12-25 วัน
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีน : ให้วคั ซีนหลังสัมผัสโรคป้องกัน
โรคไม่ได้
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัส : ให้วคั ซีนในรำยมีไวต่อ
กำรติดเชือ้
VII. การรักษาเฉพาะ : ไม่มี
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : ให้วคั ซีนในคนที่ไม่มี
ภูมคิ มุ้ กันโดยเฉพำะกลุม่ เสี่ยงต่อกำรสัมผัสโรค
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : ไม่มี
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : ไม่มี
โรคหัด (Measles, Rubeola)
1. ลักษณะโรค
เป็นโรคติดเชื้อไวรัสติดต่อได้ง่ายมาก
ไข้ตาแดง คัดจมูก ไอ 3-7 วัน
ผื่นแดงที่หน้า
จ ุดสีขาวที่เยือ่ บ ุในปาก
2-3 วัน
ลามมาทัว่ ตัว ผื่นสี
น้าตาลเข้ม
1. ลักษณะโรค
จุดสีขาว ๆ ที่เยื่อบ ุปาก (Koplick Spots)
1. ลักษณะโรค
ตาแดง
1. ลักษณะโรค
• เด็กทารกและผูใ้ หญ่ เด็กขาดสารอาหารจะมี
อาการร ุนแรง
• ภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อย คือ ช่องห ูส่วนกลาง
อักเสบ ปอดบวม กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ
(Croup) อ ุจจาระร่วง สมองอักเสบ
• พบอัตราป่วยในประเทศกาลังพัฒนาร้อยละ 3-5
2. เชื้อก่อโรค
Measles Virus ใน Genus Morbillivirus
Faminly Paramyxoviridae
3. การเกิดโรค
• ก่อนมีวคั ซีน พบบ่อยในเด็ก คนทัว่ ไปอาย ุไม่เกิน
20 ปี พบร้อยละ 90
• ประเทศเขตอบอนุ่ พบความช ุกในช่วงปลายฤด ู
หนาวและต้นใบไม้ผลิ ส่วนเขตร้อนพบในต้นฤด ูแล้ง
• ปีค.ศ.2002 WHO ประมาณว่ามีผป้ ู ่ วยทัว่ โลก 35
ล้านคน เสียชีวิต 614,000 คน ส่วนใหญ่อยูใ่ น
ประเทศยากจน
3. การเกิดโรค
4. แหล่งรังโรค
คน
5. วิธีการแพร่เชื้อ
ไอ จามรดกัน (Airborne Transmission)
5. วิธีการแพร่เชื้อ
สัมผัสโดยตรงกับน้ามูก น้าลายของผูต้ ิดเชื้อ
(Direct Contact)
5. วิธีการแพร่เชื้อ
ติดจากเครือ่ งใช้ที่ปนเป้ ื อนน้ามูก น้าลาย
(Indirect Contact)
6. ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
ประมาณ 10 วัน
(อาจพบได้ในช่วง 7-18 วัน)
7. ระยะติดต่อของโรค
มีไข้
1 วัน
ก่อนมีไข้
4 วัน
หลังมีผื่น
ช่วงแพร่เชื้อมากส ุด คือ 2 วันก่อนมีอาการแสดง
ถึงวันที่ 4 ที่มีอาการ ผูท้ ี่ไม่มีอาการแพร่เชื้อได้
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• ภ ูมิคม้ ุ กันหลังติดเชื้ออยูไ่ ด้ตลอดชีวิต
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. การให้วคั ซีน ในเด็ก 12-15 เดือน ซึ่งเป็นวัคซีน
รวม MMR (Measles, Mumps, Rubella) สร้างภ ูมิคม้ ุ กันได้
ร้อยละ 94-98 ถ้าได้รบั ซ้า เพิ่มเป็นร้อยละ 99
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงาน
ให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
II. การแยกผูป้ ่ วย : ในโรงเรียนให้หย ุดเรียน 4 วัน
หลังผื่นขึ้น ในโรงพยาบาลแยกผูป้ ่ วยเมื่อเริ่มมีอาการหัด
จนถึง 4 วันหลังผื่นขึ้น
III. การทาลายเชื้อ : ไม่จาเป็น
IV. การกักกัน : แยกเด็กทารกให้ห่างจากผูป้ ่ วย
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีนผูส้ มั ผัส : ภายใน 72 ชัว่ โมงหลัง
สัมผัสหรือให้อิมมูโนโกลบูลิน ภายใน 6 วันให้ผท้ ู ี่มีโอกาส
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัสและแหล่งแพร่เชื้อ : การ
ค้นหาและให้ภ ูมิคม้ ุ กันแก่ผส้ ู มั ผัสที่เสี่ยงจะจากัดการระบาด
VII. การรักษาเฉพาะ : ไม่มี การให้วิตามินเอเสริมจะ
ป้องกันอาการตาบอดและแผลที่กระจกตา ลดอัตราตาย
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : รำยงำนผูป้ ่ วยสงสัย
โรคหัดทันทีและให้วคั ซีนป้องกัน
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : หำกมีกำรแพร่
ระบำดในผูอ้ พยพจะทำให้มกี ำรเสียชีวิตสูง ควรจัดเตรียม
วัคซีนให้แก่ผเู้ ข้ำมำอยู่ในค่ำยภำยใน 1 สัปดำห์
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : ไม่มี
โรคหัดเยอรมัน (Rubella,
German Measles)
1. ลักษณะโรค
• โรคติดเชื้อไวรัสมีไข้เล็กน้อยร่วมกับผื่น
• เด็กเล็กมีอาการเล็กน้อย
• ผูใ้ หญ่มีอาการ 1-5 วัน เริม่ ด้วยไข้ต่า ๆปวด
ศีรษะ อ่อนเพลีย เป็นหวัด เยือ่ บ ุตาอักเสบ ต่อม
น้าเหลืองบริเวณหลังห ู ท้ายทอย และด้านข้างคอโต
ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ ก่อนมีผื่นขึ้น 5-10 วัน
1. ลักษณะโรค
ต่อมน้าเหลืองบริเวณหลังห ู ท้ายทอย
และด้านข้างคอโต
1. ลักษณะโรค
• ทารกที่คลอดจากมารดาติดเชื้อในช่วง 3 เดือน
แรกของการตัง้ ครรภ์ จะพิการด้วยโรคหัดเยอรมัน
แต่กาเนิด (Congenital Rubella Syndrome, CRS) ได้
อัตราสูงถึงร้อยละ 90
• ความพิการที่เกิดขึ้น เช่น ห ูพิการ ต้อกระจก ตา
เล็กผิดปกติ ต้อหินแต่กาเนิด ศีรษะเล็กผิดปกติ
สมองและเยือ่ หม้ ุ สมองอักเสบ ปัญญาอ่อน หัวใจ
พิการแต่กาเนิด ตับม้ามโต ดีซา่ น
2. เชื้อก่อโรค
Rubella Virus ใน Genus Rubivirus
Family Toganiridae
3. การเกิดโรค
• พบได้ทวั่ โลก ระบาดท ุก 5-9 ปี
• ร้อยละ 58 ของประเทศทัว่ โลก ได้ให้วคั ซีนป้องกัน
หัดเยอรมันไว้ในแผนสร้างเสริมภ ูมิคม้ ุ กัน
• ประเทศไทยอัตราป่วยประมาณ 1-2 ต่อประชากร
แสนคน ป่วยมากในเด็กอาย ุ <5 ปี
4. แหล่งรังโรค
คน
5. วิธีการแพร่เชื้อ
• สัมผัสสารคัดหลัง่ จาก Nasopharynx ของผูม้ ีเชื้อ
เชื้อแพร่กระจายทางละอองฝอย (Droplet
Transmission) ทางการไอจาม หรือสัมผัสโดยตรง
เชื้อจะถ ูกขับมากจากคอและปัสสาวะ
6. ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
ประมาณ 14-17 วัน
(อาจพบได้ในช่วง 14-21 วัน)
7. ระยะติดต่อของโรค
ผื่น
7 วัน
ก่อนมี
4 วัน
หลังมี
ทารกที่มีอาการ CRS
(Congenital Rubella Syndrome)
สามารถแพร่เชื้อได้หลายเดือน
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• ภ ูมิคม้ ุ กันหลังติดเชื้ออยูไ่ ด้เป็นเวลานานอาจจะ
ตลอดชีวิต ทารกที่คลอดจากมารดาที่มีภ ูมิคม้ ุ กัน
โดยปกติอยูไ่ ด้นาน 8-9 เดือน
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. การให้วคั ซีน ในเด็ก 12-18 เดือน ซึ่งเป็น
วัคซีนรวม MMR (Measles, Mumps, Rubella)
9. วิธีการควบค ุมโรค
• กรณีติดเชื้อในระยะแรกของการตัง้ ครรภ์ อาจ
พิจารณาทาแท้ง
• ให้อิมมูโนโกลบูลิน หลังได้รบั เชื้อเมื่อตัง้ ครรภ์
ระยะแรกไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อได้ แต่ลด
อาการให้นอ้ ยลงได้
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงาน
ให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
II. การแยกผูป้ ่ วย : ในโรงเรียนให้หย ุดเรียน 7 วัน
หลังผื่นขึ้น ในโรงพยาบาลแยกผูป้ ่ วยโดยมาตรการ
Contact Isolation Precaution ผูส้ มั ผัสกับทารก CRS ควร
ได้รบั ภูมิคม้ ุ กันท ุกคน
III. การทาลายเชื้อ : ไม่จาเป็น
IV. การกักกัน : ไม่จาเป็น
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีนผูส้ มั ผัส : ไม่จาเป็น
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัสและแหล่งแพร่เชื้อ : ค้นหา
หญิงตัง้ ครรภ์ในระยะแรก
VII. การรักษาเฉพาะ : ไม่มี
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : รำยงำนผูป้ ่ วยสงสัย
โรคทุกรำย เก็บตัวอย่ำงเพื่อยืนยัน แจ้งให้ประชำชนทรำบ
เฝ้ ำระวังและค้นหำทำรก CRS 9 เดือน
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : ไม่มี
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : ไม่มี
โรคไอกรน (Pertussis)
1. ลักษณะโรค
• โรคติดเชื้อแบคทีเรียระบบทางเดินหายใจ
• มีอาการระคายคอและเป็นมากขึ้นเรือ่ ย ๆ
ไอเป็นช ุด ๆ (Paroxysms) เมื่อสิ้นส ุดช ุดการไอจะมี
เสียงแหลมจากการหายใจเข้า (Whoop) ตามด้วยขับ
เสมหะเหนียว และอาเจียน
• อัตราป่วยตายต่า ผูเ้ สียชีวิตมักเป็นเด็ก <6 เดือน
• อาการแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดแฟบ ชัก
อาการทางสมอง น้าหนักลด ไส้เลื่อนและเสียชีวิต
2. เชื้อก่อโรค
Bordetella Pertussis และ Bordetella
Parapertussis
3. การเกิดโรค
• พบได้ทวั่ โลก ระบาดท ุก 3-4 ปี
• ปีค.ศ.1999 ความครอบคล ุมวัคซีนร้อยละ 80
ประมาณว่ามีผป้ ู ่ วย 48.5 ล้านคน เสียชีวิต
295,000 คน ส่วนใหญ่ในแอฟริกา
• ประเทศไทยอัตราป่วยประมาณ 0.02-0.11 ต่อ
ประชากรแสนคน ป่วยมากในเด็กอาย ุ <5 ปี
4. แหล่งรังโรค
คน
5. วิธีการแพร่เชื้อ
• สัมผัสสารคัดหลัง่ จาก Nasopharynx ของผูม้ ีเชื้อ
เชื้อแพร่กระจายทางละอองฝอย (Droplet
Transmission) ทางการไอจาม หรือสัมผัสโดยตรง
การติดจากการปนเป้ ื อนพบน้อย
6. ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
ประมาณ 9-10 วัน
(อาจพบได้ในช่วง 6-20 วัน)
7. ระยะติดต่อของโรค
ไอ
14 วัน
ก่อนมี
21 วัน
หลังมี
ถ้าได้ยาปฏิชีวนะ
จะไม่ติดต่อหลังได้รบั ยาครบ 5 วัน
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• ภ ูมิคม้ ุ กันหลังติดเชื้ออยูไ่ ด้เป็นเวลานานแต่พบติด
เชื้อซ้าได้ ผูไ้ ม่มีภ ูมิคม้ ุ กันไวต่อการรับเชื้อท ุกคน
อัตราป่วยท ุติยภ ูมิ (Secondary Attack Rate) สูงถึง
ร้อยละ 90 ในผูส้ มั ผัสที่ไม่มีภ ูมิคม้ ุ กันในบ้านเดียวกัน
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. การให้วคั ซีน ในเด็ก 2, 4, 6 เดือน 1 ปี 6
เดือน และ 4 ปี ซึ่งเป็นวัคซีนรวม DTP (Diphtheria,
Tetanus, Pertussis)
II. เมื่อมีการระบาดผูท้ ี่มีความเสี่ยงให้ยา
ปฏิชีวนะ Erythromycin 7 วัน เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงาน
ให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
II. การแยกผูป้ ่ วย : แยกในห้องแยก ผูส้ งสัยว่าป่วย
แยกออกจากทารกและเด็กเล็ก จนกระทัง่ หายจากอาการไอ
หรือได้ยาปฏิชีวนะครบ 5-7 วัน
III. การทาลายเชื้อ : ไม่จาเป็น
IV. การกักกัน : ผูส้ มั ผัสโรคในบ้านที่อาย ุ <7 ปีที่ได้
วัคซีนไม่ครบ หย ุด 21 วัน หรือได้ยาปฏิชีวนะครบ 5-7 วัน
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีนผูส้ มั ผัส : ตรวจสอบประวัติการได้
วัคซีนและให้วคั ซีน ผูท้ ี่อาย ุ <7 ปีที่ได้ DTP ไม่ครบ 4 ครัง้
ควรได้วคั ซีนทันที ในบ้านที่มีเด็ก <1 ปี ให้ยาปฏิชีวนะครบ
5-7 วัน
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัสและแหล่งแพร่เชื้อ : ค้นหาผู้
สัมผัสหรือผูม้ ีอาการไม่ชดั เพื่อป้องกันกลมุ่ ไม่มีภ ูมิคม้ ุ กัน
VII. การรักษาเฉพาะ : ยาปฏิชีวนะ เช่น Erythromycin
ลดระยะเวลาแพร่เชื้อแต่ลดอาการไม่ได้
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : ค้นหำผูป้ ่ วยที่ไม่ได้
รำยงำนหรืออำกำรไม่ชดั เจนเพื่อป้องกันผูไ้ ม่มภี มู คิ มุ้ กัน
ให้วคั ซีนในเด็กที่ได้วคั ซีนไม่ครบ
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : ระบำดในที่อยู่แออัด
และเด็กส่วนใหญ่ไม่ได้วคั ซีน
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : ตรวจว่ำ
เด็กได้วคั ซีนก่อนเดินทำง
โรคคอตีบ (Diphtheria)
1. ลักษณะโรค
• โรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดเฉียบพลัน
• พบพยาธิสภาพที่ทอนซิล ลาคอ กล่องเสียง โพรง
จมูก ผิวหนัง เยือ่ บ ุตาหรืออวัยวะสืบพันธ์ ุ
• ลักษณะเฉพาะ คือ แผ่นเนื้อเยือ่ สีเทาด ูสกปรกติด
แน่นกับเนื้อเยือ่ ปกติ อาจล ุกลามจนอ ุดกัน้ ทางเดิน
หายใจ
• มีอาการเจ็บคอ ต่อมน้าเหลืองที่คอโต คอบวม โต
• อัตราป่วยตายร้อยละ 10-30
1. ลักษณะโรค
แผ่นเนื้อเยื่อสีเทาเหลืองดาด ูสกปรกที่
ติดกับเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบ
1. ลักษณะโรค
แผ่นเนื้อเยื่อสีเทาเหลืองดาด ูสกปรกที่
ติดกับเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบ
1. ลักษณะโรค
• 1 สัปดาห์หลังป่วย พิษของคอตีบอาจทาให้เกิด
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบร่วมกับหัวใจเต้นผิดปกติ
(Heart Block) และมีหวั ใจล้มเหลวเนื่องจากเลือดคัง่
ต่อมาจะมีปลายประสาทอักเสบ ซึ่งคล้ายกับ Guillain
Barre Syndrome
2. เชื้อก่อโรค
Corynebacterium Diphtheriae มี Biotype ต่าง ๆ
ได้แก่ Gravis, Mitis และ Intermidius
3. การเกิดโรค
• เขตอบอนุ่ มักเกิดในหน้าหนาว ในเด็กอาย ุต่ากว่า
15 ปีที่ไม่เคยได้วคั ซีน และพบในผูใ้ หญ่ที่ระดับความ
ครอบคล ุมของการได้รบั วัคซีนต่า
• ประเทศไทยอัตราป่วยประมาณ 0.003-0.02 ต่อ
ประชากรแสนคน ป่วยมากในเด็กอาย ุ <5 ปี
สถานการณโรคคอตี
บ* ประเทศไทย (1 มิ.ย.
์
– 6 พ.ย. 2555)
จังหวัด
จานวนป่วย
ยืนยัน
จานวนป่วย
น่าจะเป็ น
จานวน First
พาหะ onset
Last
onset
เลย
27
0
61
24
Jun
เพชรบูรณ์
4
1
13
2 Aug
1 Oct
หนองบัวลาภู
3
4
6
9 Sep
14 Oct
อุดรธานี
1
0
1
24 Oct 24 Oct
สุราษฎรธานี
์
1
1
0
4 Oct
นครราชสี มา
0
1
0
29 Oct 29 Oct
รวม
36
* นิยามผู้ป่วยใหม่
7
81
24
Jun
19 Oct
4 Oct
29 Oct
4. แหล่งรังโรค
คน
5. วิธีการแพร่เชื้อ
• สัมผัสสารคัดหลัง่ จากของผูม้ ีเชื้อ เชื้อแพร่กระจาย
ทางละอองฝอย (Droplet Transmission) ทางการไอ
จาม หรือสัมผัสโดยตรง อาจปนเป้ ื อนกับสิ่งของ
6. ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
ประมาณ 2-5 วัน
(อาจนานกว่านี้)
7. ระยะติดต่อของโรค
ก่อนเริม่ ป่วย
2 สัปดาห์
ก่อนมี
2 สัปดาห์
หลังมี
อาจแพร่เชื้อได้ถึง 6 เดือนหรือนานกว่า
ถ้าได้ยาเชื้อจะหมดใน 4 วัน
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• ภ ูมิคม้ ุ กันหลังติดเชื้ออยูไ่ ด้เป็นเวลานานอาจจะ
ตลอดชีวิต แต่ภ ูมิตา้ นทานอาจลดลง การได้รบั
Toxiod กระตน้ ุ จะทาให้มีภ ูมิคม้ ุ กันเพิ่ม
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. การให้วคั ซีน ในเด็ก 2, 4, 6 เดือน 1 ปี 6
เดือน และ 4 ปี ซึ่งเป็นวัคซีนรวม DTP (Diphtheria,
Tetanus, Pertussis)
เด็ก >7 ปี ให้ dT
กระตน้ ุ ท ุก 10 ปี
กลมุ่ เสี่ยง เช่น บ ุคลากรทางการแพทย์ควรฉีด
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงาน
ให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
II. การแยกผูป้ ่ วย : แยกในห้องแยก
III. การทาลายเชื้อ : สิ่งของเครื่องใช้ปนเป้ ื อนสารคัด
หลัง่
IV. การกักกัน : ผูส้ มั ผัสโรคที่ทาหน้าที่ผลิตอาหาร
โดยเฉพาะนม ควรหย ุดทาหน้าที่จนกว่าจะได้รกั ษาและผล
ตรวจไม่พบเชื้อ
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีนผูส้ มั ผัส : เก็บตัวอย่างจากจมูกและ
ลาคอแล้วเฝ้าระวัง ฉีด Benzathine Penicillin เข้ากล้ามครัง้
เดียว หรือให้ Erythromycin 7-10 วัน ถ้าเป็นผูป้ ระกอบ
อาหารหรือทางานในโรงเรียน ให้หย ุด จนตรวจไม่พบเชื้อ
ผูส้ มั ผัสได้รบั วัคซีนเกิน 5 ปี ควรได้วคั ซีนกระตน้ ุ
ผูไ้ ม่เคยฉีด ฉีดให้ครบตามกาหนด
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัสและแหล่งแพร่เชื้อ : ค้นหา
โดยเก็บตัวอย่างจากจมูกและลาคอ
VII. การรักษาเฉพาะ : ให้ Antitoxin ทันที
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : ฉีดวัคซีนอย่ำงน้อย
2 เข็มในชุมชน เน้นกำรป้องกันในทำรกและเด็กก่อนวัย
เรียน ส่วนผูใ้ หญ่ให้ในกลุม่ เสี่ยงติดเชือ้
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : กำรระบำดเกิดใน
ชุมชนแออัด
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : ฉีดวัคซีน
ครบชุดให้แก่ผเู้ ดินทำงไปประเทศที่มโี รคชุกชุม
โรคบาดทะยักและบาดทะยักในเด็กแรกเกิด
(Tetanus & Tetanus Neonatorum)
1. ลักษณะโรค
• โรคเฉียบพลันที่เกิดจากพิษ (Exotoxin) ของเชื้อ
แบคทีเรียบาดทะยัก
• อาการสาคัญ เจ็บปวดเนื่องจากการหดเกร็งของ
กล้ามเนื้อ เริม่ จากแก้มและลาคอ ลงมาถึงลาตัว
• ลักษณะเฉพาะ คือ เกร็งหลังแอ่น (Opisthotonus)
และใบหน้ายิ้มแสยะที่เรียกว่า “Risus Sardonicus”
• อัตราป่วยตายร้อยละ 10-80 มากที่ส ุดในเด็ก
ทารกและผูส้ งู อาย ุ
1. ลักษณะโรค
เกร็งหลังแอ่น (Opisthotonus)
1. ลักษณะโรค
ใบหน้ายิ้มแสยะ “Risus Sardonicus”
2. เชื้อก่อโรค
Clostridium Tetani เป็ น Anaerobe
3. การเกิดโรค
• พบได้ทวั่ โลก พบบ่อยในพื้นที่เกษตรกรรมและที่มี
การสัมผัสกับสิ่งขับถ่ายของสัตว์ และมีการ
เสริมสร้างภ ูมิคม้ ุ กันไม่เพียงพอ การฉีดยาเสพติด
• ค.ศ.2001 ประมาณว่ามีผเ้ ู สียชีวิต 282,000 ราย
• เขตชนบทและเขตร้อนประชากรจะเสี่ยงสูง มักพบ
ติดเชื้อในทารก
4. แหล่งรังโรค
คน ลำไส้ของม้ำและสัตว์อื่น
ถ่ำยอุจจำระ
เข้ำทำงบำดแผล
สปอร์ของเชือ้ ปนเปื้ อนอยู่ดนิ
5. วิธีการแพร่เชื้อ
• เข้าทางบาดแผล
6. ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
ประมาณ 3-21 วัน (เฉลี่ย 10 วัน)
(อาจสัน้ เพียง 1 วันหรือนานหลายเดือน
โดยปกติจะมีอาการภายใน 14 วัน)
7. ระยะติดต่อของโรค
ไม่สามารถติดต่อจากคนสูค่ น
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• ร่างกายไม่สามารถสร้างภ ูมิคม้ ุ กันได้ ต้องฉีด
วัคซีนอยูไ่ ด้นาน 10 ปีหลังฉีดครบช ุด การฉีด
Tetanus Immunoglobulin (TIG) หรือ Tetanus
Antitoxin จะมีภ ูมิคม้ ุ กันอยูไ่ ด้ไม่นาน
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. ให้ส ุขศึกษา ทราบถึงอันตรายของบาดแผล
ความจาเป็นในการฉีด TIG หลังมีแผล
ให้วคั ซีน ในเด็ก <7 ปี ฉีด DTP >7 ปี dT
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงาน
ให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
II. การแยกผูป้ ่ วย : ไม่จาเป็น
III. การทาลายเชื้อ : ไม่จาเป็น
IV. การกักกัน : ไม่จาเป็น
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีนผูส้ มั ผัส : ไม่จาเป็น
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัสและแหล่งแพร่เชื้อ :
สอบสวนผูป้ ่ วยประเมินบาดแผล
VII. การรักษาเฉพาะ : ให้ TIG, Antitoxin ทันที
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : เกิดได้นอ้ ย
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : กำรขัดแย้งทำง
ทหำร กำรจลำจล ภัยพิบตั ทิ ี่ทำให้มกี ำรบำดเจ็บในผูท้ ี่ไม่มี
ภูมคิ มุ้ กัน ทำให้ควำมต้องกำรวัคซีน TIG สูงขึน้
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : แนะนำให้
ฉีดวัคซีนในผูเ้ ดินทำง
บาดทะยักในเด็กแรกเกิด
• เป็นปัญหาในประเทศกาลังพัฒนาที่บริการฝาก
ครรภ์มีจากัดและให้วคั ซีนไม่ครอบคล ุม
• WHO ประมาณว่ามีเด็กเสียชีวิต 200,000 รายต่อปี
• ทัง้ หมดเกิดจากมารดาไม่ได้รบั วัคซีนและคลอด
นอกโรงพยาบาล
• เกิดจากการใช้อ ุปกรณ์ไม่สะอาดตัดสายสะดือ
• อาการคือ ด ูดนมลาบากหรือด ูดไม่ได้จาก
ขากรรไกรแข็ง (Trismus) ร่วมกับเกร็งหรือชัก มีหลัง
แอ่น
บาดทะยักในเด็กแรกเกิด
• อาการคือ ด ูดนมลาบากหรือด ูดไม่ได้จาก
ขากรรไกรแข็ง (Trismus) ร่วมกับเกร็งหรือชัก
มีหลังแอ่น
• ระยะฟักตัว 3-28 วัน (เฉลี่ย 6 วัน)
• อัตราตายมากกว่าร้อยละ 80
บาดทะยักในเด็กแรกเกิด
การป้องกันมี 2 วิธี
1. ปรับปร ุงการด ูแลมารดาตัง้ ครรภ์และให้วคั ซีน
2. การเพิ่มการคลอดจากผูผ้ า่ นการอบรม
โรคไข้สมองอักเสบเจอี
(Japanese Encephalitis)
1. ลักษณะโรค
• เกิดจากเชื้อไวรัสแบบเฉียบพลันของสมอง
ไขสันหลัง และเยือ่ หม้ ุ สมอง
• วงจรเกิดโรค 2 ร ูปแบบ
1. ลักษณะโรค
• ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ รายไม่ร ุนแรงจะมีไข้ ปวด
ศีรษะ เป็นแบบเยือ่ หม้ ุ สมองอักเสบจากไวรัส (Aseptic
Meningitis)
• ที่ร ุนแรงจะมีอาการแบบเฉียบพลัน คือ ปวดศีรษะ
ไข้สงู การเปลี่ยนแปลงของระดับความรส้ ู ึกตัว สับสน
ไม่รส้ ู ึกตัว สัน่ ชักเป็นบางครัง้ และอัมพาตแบบ
กล้ามเนื้อเกร็งตัว
• อัตราป่วยตายร้อยละ 0.3-60
2. เชื้อก่อโรค
Japanese Encephalistis Family Togavirus Genus Flavivirus
ย ุงราคาญ Culex Tritaeniorhychus เป็นพาหะ
3. การเกิดโรค
• พบได้หมูเ่ กาะแปซิฟิกตะวันตก ตัง้ แต่เกาหลีจนถึง
ฟิลิปปินส์ จากปากีสถานถึงเอเชียใต้ เอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ บางส่วนของออสเตรเลีย
4. แหล่งรังโรค
• ยังไม่ทราบแน่ชดั อาจอาศัยอยูใ่ นนก สัตว์แทะ
ค้างคาว สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ครึง่ บกครึง่ น้า หรือย ุง
ตัวแก่หรือไข่ย ุง
5. วิธีการแพร่เชื้อ
• ถ ูกย ุงมีเชื้อกัด ย ุงราคาญ Culex Tritaeniorhychus
เป็นพาหะ
6. ระยะฟักตัว
ป่วย
รับเชื้อ
ประมาณ 5-15 วัน
7. ระยะติดต่อของโรค
• ไม่สามารถติดต่อจากคนสูค่ น
• ย ุงติดเชื้อได้ตลอดชีวิต
• ไวรัสพบในเลือดนกนาน 2-5 วัน
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• มีภ ูมิคม้ ุ กันจาเพาะต่อชนิดของไวรัส
• กลมุ่ เสี่ยงสูงส ุด คือ เด็กเล็กและผูส้ งู อาย ุ
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. ให้ส ุขศึกษา
ทาลายแหล่งเพาะพันธย์ ุ ุงพาหะ
การพ่นหมอกควันทาลายตัวแก่
ใช้มง้ ุ ลวด ทายากันย ุง
ฉีดวัคซีนให้สตั ว์เลี้ยง เช่น ในหมู
ให้วคั ซีนชนิดเชื้อตายที่ทาจากสมองหนู
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงาน
ให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
II. การแยกผูป้ ่ วย : ไม่จาเป็น
III. การทาลายเชื้อ : ไม่แนะนา
IV. การกักกัน : ไม่แนะนา
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีนผูส้ มั ผัส : ไม่แนะนา
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัสและแหล่งแพร่เชื้อ :ค้นหา
ผูป้ ่ วยเพิ่มเติมและค้นหาย ุงพาหะ เพื่อควบค ุมแหล่ง
เพาะพันธ์ ุ
VII. การรักษาเฉพาะ : ไม่มี
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : ค้นหำกำรติดเชือ้ ใน
ม้ำหรือนก และค้นหำผูป้ ่ วยในชุมชน
พ่นละอองฝอยหรือยำฆ่ำยุง
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : ไม่มี
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : พ่นยำฆ่ำ
แมลงในเครื่องบินที่มำจำกแหล่งของโรคชุกชุม
โรคโปลิโอ
(Poliomyelitis)
1. ลักษณะโรค
• เกิดจากเชื้อไวรัสโดยเชื้อจะไปเพิ่มจานวนใน
บริเวณ Pharynx และลาไส้ จากนัน้ กระจายไปสู่
น้าเหลือง และมีบางส่วนผ่านจากกระแสเลือดไปยัง
ไขสันหลังและสมอง ทาให้เกิดอัมพาตของแขนขา
• อัมพาตแบบอ่อนปวกเปียก (Flaccid Paralysis) พบ
ได้รอ้ ยละ 1 พบที่ขามากกว่าที่แขน และไม่เท่ากัน
• ร้อยละ 90 ของผูต้ ิดเชื้อไม่แสดงอาการ
1. ลักษณะโรค
• อาการจะรส้ ู ึกไม่สบายตัว ปวดศีรษะ คลื่นไส้
อาเจียน ถ้ามีอาการมากจะปวดกล้ามเนื้ออย่าง
ร ุนแรง และมีอาการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อคอและ
หลัง
2. เชื้อก่อโรค
Polio Virus Family Picornaviridae
Genus Enteroviruses
3. การเกิดโรค
• ก่อนมีวคั ซีนพบได้ทวั่ โลก หลังจากนัน้ เหลือไม่กี่
ประเทศ
4. แหล่งรังโรค
• คนเป็นแหล่งรังโรค พบในคนติดเชื้อไม่แสดง
อาการ ส่วนใหญ่เป็นเด็ก เชื้อออกมากับอ ุจจาระ
1-2 เดือน
5. วิธีการแพร่เชื้อ
• ขับออกทางอ ุจจาระเข้าสูค่ นโดย
• เข้าทางปาก (Fecal-Oral route) อ ุจจาระปนเป้ ื อน
ติดมือจากคนสูค่ น (Person to Person)
• ปากสูป่ าก (Oral-Oral Route) หยิบจับอาหารที่
ปนเป้ ื อนเชื้อจากลาคอ
6. ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
ระยะฟักตัวของผูป้ ่ วยมีอมั พาต 7-14 วัน
(มีรายงานตัง้ แต่ 3-35 วัน)
7. ระยะติดต่อของโรค
• ไม่ทราบเวลาแน่นอน เชื้อตรวจพบในสาร
คัดหลัง่ ที่คอภายใน 36 ชัว่ โมงและในอ ุจจาระ
ภายใน 72 ชัว่ โมง และพบในลาคอได้อีก
1 สัปดาห์ ส่วนอ ุจจาระพบนาน 3-6 สัปดาห์
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• คนทัว่ ไปติดได้ง่าย
• ร้อยละ 1 มีอาการอัมพาต
• ร้อยละ 0.1-1 ของผูป้ ่ วยจะมีอมั พาตหลงเหลืออยู่
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. ให้ส ุขศึกษา ให้วคั ซีนมีทงั้ แบบฉีดและกิน
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงาน
ให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
II. การแยกผูป้ ่ วย : ระวังการแพร่เชื้อทางระบบ
อาหารในโรงพยาบาล
III. การทาลายเชื้อ : ทาลายเชื้อในอ ุจจาระและสาร
คัดหลัง่ ก่อนทิ้ง
IV. การกักกัน : ไม่มีความจาเป็น
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีนผูส้ มั ผัส : ได้ผลน้อย
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัสและแหล่งแพร่เชื้อ :ค้นหา
ผูป้ ่ วยเพิ่มเติม ผูป้ ่ วย 1 รายถือเป็นภาวะฉ ุกเฉินทาง
สาธารณส ุข
VII. การรักษาเฉพาะ : ไม่มี
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : เมือ่ พบแม้เพียง 1
รำยต้องให้วคั ซีนโปลิโอทันที เพื่อป้องกันกำรแพร่กระจำย
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : กำรอยู่รวมกันอย่ำง
หนำแน่น เสี่ยงต่อกำรระบำด
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : WHO
กำหนดให้ปี 2005 เป็ นปี กวำดล้ำงโปลิโอ ต้องสอบสวน
และรำยงำนให้ทรำบ
นักท่องเที่ยวจำกพื้นที่โรคชุกชุมควรรับวัคซีนก่อน
เดินทำง
โรคตับอักเสบบี
(Viral Hepatitis B)
1. ลักษณะโรค
• เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเฉียบพลัน
• ที่มีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง ในเด็กร้อยละ 10
และผูใ้ หญ่ ร้อยละ 30-50
• อาการเริม่ ต้น เบื่ออาหาร ไม่สบายท้อง คลื่นไส้
อาเจียน บางครัง้ ปวดข้อและมีผื่นขึ้น ต่อจากนัน้ พบ
อาการดีซา่ น ไม่มีไข้หรือไข้ต่า ๆ
• อัตราป่วยตายร้อยละ 1 สูงในผูป้ ่ วยอาย ุ >40 ปี
1. ลักษณะโรค
• อัตราการติดเชื้อในผูใ้ หญ่ทวีปอเมริกา พบร้อยละ
0.5 ในภ ูมิภาคอื่นพบร้อยละ 0.1-20
• ร้อยละ 15-25 ของผูเ้ ป็นพาหะจะเสียชีวิตจาก
ตับแข็งหรือมะเร็งตับ
2. เชื้อก่อโรค
DNA Virus กลมุ่ Hepadnavirus
มี 4 Serotype
3. การเกิดโรค
• พบได้ทวั่ โลก ประมาณว่ามีประชากร 2 พันล้านคน
ติดเชื้อ (350 ล้านเป็นพาหะ) เสียชีวิตประมาณปีละ
1 ล้านคน
• ในไทยมีคนเป็นพาหะ 2.7 ล้านคน
• พบมากในกลมุ่ เสี่ยง ได้แก่ ผูต้ ิดยาโดยการฉีด
กลมุ่ สาส่อนทางเพศ บ ุคลากรทางการแพทย์ ผูป้ ่ วย
ฟอกไต นักโทษ
4. แหล่งรังโรค
• คน ลิงซิมแปนซีเป็นแหล่งรังโรค
5. วิธีการแพร่เชื้อ
• อยูใ่ นเลือด ส่วนประกอบของเลือด น้าลาย
น้าในไขสันหลัง ในช่องท้อง ช่องปอด ในเยือ่ หม้ ุ หัวใจ
อส ุจิ น้าครา่ และสารคัดหลัง่ จากช่องคลอด
• เชื้ออยูใ่ นสิ่งแวดล้อมได้ 7 วัน ติดต่อได้ทางผิวหนัง
(จากการฉีดยา) การสัมผัสกับเชื้อโรคในสารคัดหลัง่
การมีเพศสัมพันธ์ การติดจากแม่สล่ ู ูกขณะคลอด
การใช้มีดโกนหนวด แปรงสีฟันร่วมกับผูป้ ่ วย การ
ฝังเข็ม การสักผิวหนัง การถ ูกของมีคมบาดใน
บ ุคลากรทางการแพทย์
6. ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
ระยะฟักตัวประมาณ 45-180 วัน
เฉลี่ย 60-90 วัน
(มีรายงานตัง้ แต่ 14-270 วัน)
7. ระยะติดต่อของโรค
• แพร่เชื้อได้หลายสัปดาห์กอ่ นมีอาการ และ
ตลอดช่วงที่มีอาการ
8. ความไวและความต้านทานต่อการรับเชื้อ
• ผูไ้ ม่มีภ ูมิคม้ ุ กันติดต่อได้ท ุกคน
9. วิธีการควบค ุมโรค
A. มาตรการป้องกัน
I. ให้ส ุขศึกษา ให้วคั ซีนมี 2 ชนิดแรกเตรียม
จากพลาสม่าของผูม้ ี HBsAg ชนิดที่สองเตรียมโดย
วิธี Recombinant DNA ผลิตในยีสต์หรือเซลล์อื่น
การให้วคั ซีนครบ 3 เข็มจะมีภ ูมิคม้ ุ กัน 15 ปี
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
I. รายงานให้เจ้าหน้าที่ผิดชอบในพื้นที่ และรายงาน
ให้สานักงานสาธารณส ุขจังหวัดทราบ
II. การแยกผูป้ ่ วย : ใช้หลักป้องกันตามหลักสากล
(Universal Precaution) เมื่อสัมผัสเลือดและสารคัดหลัง่
III. การทาลายเชื้อ : ทาในอ ุปกรณ์ที่ปนเป้ ื อนเชื้อโรค
IV. การกักกัน : ไม่มี
9. วิธีการควบค ุมโรค
B. การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และสิ่งแวดล้อม
V. การให้วคั ซีนผูส้ มั ผัส : ให้ HBIG ในเด็กที่คลอด
จากมารดาเป็นพาหะภายใน 12 ชัว่ โมง
VI. การสอบสวนผูส้ มั ผัสและแหล่งแพร่เชื้อ : ไม่มี
VII. การรักษาเฉพาะ : ไม่มี
9. วิธีการควบค ุมโรค
C. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : พบผูป้ ่ วย 2 รำยขึน้
ไป ควรค้นหำผูป้ ่ วยรำยอื่น เคร่งครัดหลัก Sterile
Technique
D. สัญญาณเตือนภัยที่ควรระวัง : กำรละเลยหลัก
Sterile Technique และให้เลือดโดยไม่ตรวจสอบจะทำให้มี
ผูป้ ่ วยเพิ่มขึน้
E. มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : ไม่มี
สร ุปการให้ภ ูมิคม้ ุ กันและราคา
สร ุปการให้ภ ูมิคม้ ุ กันและราคา
สร ุปการให้ภ ูมิคม้ ุ กัน