Transcript Click

กลมุ่ โรคติดต่อทางอาหารและน้า
อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์
กลุม่ โรคติดต่อจากอาหารและน้ า (เดิม)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
โรคบิด
โรคไข้เอนเทอริค
อาหารเป็ นพิษ
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน
อหิวาตกโรค
ตับอักเสบเอ
กลุม่ โรคติดต่อจากอาหารและน้ า (ปรับเปลี่ยน)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Ac. Diarrhea)
อหิวาตกโรค (Cholera)
โรคค็อกซากี (Coxsackievirus Disease)
ซาลโมเนลโลซิส (Salmonellosis)
บิดไม่มีตวั (Shigellosis)
ไข้ทยั ฟอยด์ และไข้พาราทัยฟอยด์ (Typoid, Paratyphoid)
อาหารเป็ นพิษ (Foodborne Disease)
โบทูลิซึม (Botulism)
อ ุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea)
• อาการแสดงสาคัญ – อาเจียน ไข้ มีภาวะขาดนา้ และ
ความผิดปกติของอิเล็คโตรไลท์ (Electrolyte Imbarlances)
• เชื้อสาเหต ุ – Cholera, Shigellosis, Salmonellosis,
Escerichia Coli (E.Coli)
อ ุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea)
มี 3 ประเภท
• อุจจาระร่วงเป็ นนา้ เฉียบพลัน (Acute Watery
Diarrhea) รวมถึงอหิวาตกโรค
• อุจจาระร่วงเป็ นเลือดเฉียบพลัน หรือ บิด
(Dysentery) สาเหตุจากเชือ้ Shigella, E.Coli
• อุจจาระร่วงเรื้อรัง (Persistent Diarrhea) มีอาการ
ติดต่อกันเกิน 14 วัน
อ ุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli
มี 6 กลมุ่
1. Enterohemorrhagic (EHEC)
2. Enterotoxigenic (ETEC)
3. Enteroinvasive (EIEC)
4. Enteropathogenic (EPEC)
5. Enteroaggregative (EAEC)
6. Diffuse-Adherent
อ ุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli
1. Enterohemorrhagic (EHEC)
• เชือ้ รุนแรงที่สดุ
• มีอาการถ่ายเหลวเป็ นนา้ อาจเป็ นมูก
• เชือ้ สร้างสารพิษ Shiga Toxin
อ ุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli
2. Enterotoxigenic (ETEC)
• ถ่ายเป็ นนา้
• ไม่รนุ แรง หายได้เอง
• พบมากในแถบร้อน รวมประเทศไทย
อ ุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli
3. Enteroinvasive (EIEC)
• ก่อโรครุนแรงได้ ถ่ายเป็ นมูกปนเลือดได้
• ทาให้ผนังลาไส้เป็ นแผล
• ปวดเกร็งท้องมาก
• ก่อโรคได้ไม่บ่อย
อ ุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli
4. Enteropathogenic (EPEC)
• ก่อโรคในเด็กเล็ก พบในประเทศกาลังพัฒนา
• ถ่ายเหลวเป็ นมูก ถ่ายไม่มาก แต่เรื้อรัง
• เด็กขาดสารอาหารได้
อ ุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli
5. Enteroaggregative (EAEC)
• ถ่ายเป็ นนา้ หรือเป็ นมูก
• ถ่ายเรื้อรังได้
• ไม่ทราบกลไกแน่ชดั
อ ุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli
มี 6 กลมุ่
1. Enterohemorrhagic (EHEC)
2. Enterotoxigenic (ETEC)
3. Enteroinvasive (EIEC)
4. Enteropathogenic (EPEC)
5. Enteroaggregative (EAEC)
6. Diffuse-Adherent
Enterohemorrhagic Strains
ลักษณะโรค
• ก่อโรคได้รนุ แรงมากที่สดุ มีอาการได้ตงั้ แต่
ท้องร่วง ถ่ายเหลวเป็ นนา้ ถ่ายเป็ นเลือด
• ทาให้ผนังลาไส้เกิดแผล
• สร้างสารพิษ Shiga Toxin
ลักษณะโรค
ทาลาย
เม็ดเลือด
ทาลาย
เกล็ดเลือด
ทาลายไต
HUS
Hemolytic Uraemic Syndrome
เชื้อก่อโรค
• ในอเมริกาเหนือ 70% เป็ น E. Coli O157:H7
• ในเยอรมันที่พบใน พ.ศ.2554 คาดว่าเป็ น O104
• กรุป๊ ที่พบบ่อย O26, O111, O103, O45, O121
เกิดแถบอเมริกาเหนือ ย ุโรป ญี่ป่ นุ ตอนใต้อเมริกาใต้
ตอนใต้ของแอฟริกา
แหล่งรังโรค
วัว ควายเป็นแหล่งรังโรคที่สาคัญ คนเป็นรังโรคและแพร่
เชื้อสูค่ นได้ สัตว์อื่น เช่น กวาง
วิธีการแพร่เชื้อ
ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
2-10 วัน
(ค่ากลาง 3-4 วัน)
ระยะติดต่อของโรค
• ผูใ้ หญ่ประมาณ 1 สัปดาห์
• เด็ก 1/3 ประมาณ 3 สัปดาห์
ความไวต่อการรับเชื้อ
• ติดเชือ้ ได้ทกุ กลุม่
• เด็ก <5 ปี และผูส้ งู อายุ เกิด HUS ได้
วิธีการป้องกัน
มาตรการป้องกัน :
• รีบระบุแหล่งโรค ป้องกัน โดยเฉพาะในเด็กและ
ผูส้ งู อายุ
• แนะนาครอบครัวผูป้ ่ วยล้างมือด้วยสบู่และนา้
หลังเข้าห้องนา้ และทาลายเชือ้ ในผ้าอ้อม ป้องกันอาหาร
และเครื่องดืม่ ปนเปื้ อนเชือ้
มาตรการป้องกัน : การลดอ ุบัติการณ์ของโรค
• จัดระบบโรงฆ่าสัตว์ลดการปนเปื้ อน
• ทาให้นม เนือ้ สัตว์ ปราศจากเชือ้
• ลดการปนเปื้ อนเนือ้ สัตว์กอ่ นนามาทาอาหาร
• ล้างผักและผลไม้ หากกินดิบให้ปลอกเปลือก
• ล้างมือให้บ่อยและสะอาด โดยใช้สบู่
• ปรุงอาหารเนือ้ 68 C 15-16 วินาที
• ใส่คลอรีนป้องกันการปนเปื้ อนในนา้
• สถานที่เลี้ยงเด็กต้องรักษาสุขวิทยา
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การรายงาน : ผูป้ ่ วย EHEC เป็ นข้อกาหนดของ
หลายประเทศที่ตอ้ งรายงาน
• การแยกผูป้ ่ วย : ไม่ให้ปรุง ป้อน เสิรฟ์ อาหาร
จนกว่าจะตรวจไม่พบเชือ้
• การทาลายเชื้อ : ในอุจจาระหรือเครื่องใช้ที่
ปนเปื้ อน
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การกักกัน : ไม่จาเป็ น
• การดาเนินการในผูส้ มั ผัส : ผูส้ มั ผัสไม่ควรปรุง
ป้อน เสิรฟ์ อาหาร
• การสอบสวนเพื่อหาผูส้ มั ผัส และแหล่งแพร่โรค
: ควรเพาะเชือ้ ในผูป้ รุงอาหาร ผูด้ แู ลเด็กในศูนย์
• การรักษาเฉพาะ : ให้สารนา้ ทดแทน
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด :
• รายงานทันที เมื่อพบกลุม่ ผูป้ ่ วย
• ค้นหาพาหะที่นาเชือ้ สาเหตุ
• อาหารที่สงสัยต้องงดจาหน่วย
• ถ้าสงสัยแหล่งนา้ ให้ใช้คลอรีนหรือต้มนา้
• ถ้าสงสัยสระว่ายนา้ ปิ ดสระ ทาลายเชือ้
• ถ้าสงสัยนม ให้พาสเจอร์ไรด์
• ไม่แนะนายาปฏิชวี นะ
• ให้สขุ ศึกษา
ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น :
• เป็ นปั ญหาสาคัญกรณีสขุ วิทยาส่วนบุคคลไม่ดี
และสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ได้มาตรฐาน
มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : WHO
Collaborating Centres
อ ุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli
มี 6 กลมุ่
1. Enterohemorrhagic (EHEC)
2. Enterotoxigenic (ETEC)
3. Enteroinvasive (EIEC)
4. Enteropathogenic (EPEC)
5. Enteroaggregative (EAEC)
6. Diffuse-Adherent
ลักษณะโรค
• ถ่ายเป็ นนา้ มากโดยไม่มมี กู และเลือด
• ปวดท้อง คลื่นไส้ มีภาวะกรดในเลือด หมดแรง
และขาดนา้ มีไข้ตา่ ๆ
• อาการมักไม่เกิน 5 วัน
เชื้อก่อโรค
• ผลิตสารพิษทัง้ ทนและไม่ทนความร้อน
• พบบ่อย ได้แก่ O6, O8, O15, O20, O25, O27,
O63, O78, O80, O114, O115, O128ac, O148,
O153, O167
• ที่พบใหม่ O169:H41
การเกิดโรค
พบในประเทศกาลังพัฒนา
แหล่งรังโรค
ในคน (Species-Specific)
วิธีการแพร่เชื้อ
จากอาหารหรือน้าที่ปนเป้ ื อน
ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
10-12 ชัว่ โมง
(อาจถึง 24-72 ชัว่ โมง)
ระยะติดต่อของโรค
ตลอดช่วงที่ปล่อยเชือ้ ได้
ความไวต่อการรับเชื้อ
มีเฉพาะซีโรทัยป์
วิธีการป้องกัน
มาตรการป้องกัน :
• ป้องกันเชือ้ แบบ ก้นสูป่ าก (Fecal-Oral)
• ให้ยา Bismuth Subsalicylate หรือ Norfloxacin
• รีบรักษาทันทีเมือ่ มีอาการ
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การรายงาน : ถ้ามีการระบาด แจ้งเจ้าหน้าที่
• การแยกผูป้ ่ วย : ระมัดระวังการติดเชือ้ จากผูป้ ่ วย
และสงสัย
• การทาลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้ อน
• การกักกัน : ไม่จาเป็ น
• การฉีดวัคซีนในผูส้ มั ผัส : ไม่จาเป็ น
• การสอบสวนโรคในผูส้ มั ผัส และค้นหาแหล่งโรค :
ไม่จาเป็ น
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การรักษาเฉพาะ : ให้สารนา้ และเกลือแร่ป้องกัน
• กรณีทอ้ งร่วงร ุนแรง : ให้ Loperamide และยา
ปฏิชีวนะ Ciprofloxacin หรือ Norfloxacin
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด :
• สอบสวนเพื่อระบุวิธีแพร่โรค
ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : ไม่มี
มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : WHO
Collaborating Centres
อ ุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli
มี 6 กลมุ่
1. Enterohemorrhagic (EHEC)
2. Enterotoxigenic (ETEC)
3. Enteroinvasive (EIEC)
4. Enteropathogenic (EPEC)
5. Enteroaggregative (EAEC)
6. Diffuse-Adherent
ลักษณะโรค
• ทาให้เกิดอุจจาระร่วงในทารก <1 ปี
• ถ่ายเป็ นนา้ และมีมกู ปน ไข้ และขาดนา้
เชื้อก่อโรค
• พบบ่อย ได้แก่ O55, O86, O111, O119, O125,
O126, O127, O28ab, O142
การเกิดโรค
พบในประเทศกาลังพัฒนา
แหล่งรังโรค
ในคน
วิธีการแพร่เชื้อ
จากอาหารเสริม มือไม่สะอาด แมลงสาบ
ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
9-12 ชัว่ โมง
ระยะติดต่อของโรค
ตลอดช่วงที่ปล่อยเชือ้ ได้
ความไวต่อการรับเชื้อ
ไม่มหี ลักฐานว่าหลังเกิดโรคมีภมู คิ มุ้ กัน พบน้อยใน
เด็กดืม่ นมมารดา
วิธีการป้องกัน
มาตรการป้องกัน :
• เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 4-6 เดือน
• เริ่มตัง้ แต่หลังคลอดทันที
• แยกใช้เครื่องใช้
• ล้างมือหลังอุม้ ทารก
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การรายงาน : ถ้ามีการระบาด แจ้งเจ้าหน้าที่
• การแยกผูป้ ่ วย : ระมัดระวังการติดเชือ้ จากผูป้ ่ วย
และสงสัย
• การทาลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้ อน
• การกักกัน : แยกเด็กที่ป่วย
• การฉีดวัคซีนในผูส้ มั ผัส : ไม่จาเป็ น
• การสอบสวนโรคในผูส้ มั ผัส และค้นหาแหล่งโรค :
ติดตามเด็กที่ป่วย
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การรักษาเฉพาะ : ให้สารนา้ และเกลือแร่ป้องกัน
• กรณีทอ้ งร่วงร ุนแรง : ให้ TrimethoprimSulfamethoxazole
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด :
• แยกเด็ก ติดตามเด็ก
• สอบสวนทางระบาดวิทยา
ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : ไม่มี
มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ : WHO
Collaborating Centres
อหิวาตกโรค (Cholera)
ลักษณะโรค
• ติดเชือ้ แบคทีเรียในทางเดินอาหารเฉียบพลัน
• ถ่ายอุจจาระเป็ นนา้ คราวละมาก ๆ โดยไม่ปวดท้อง
สีของอุจจาระเหมือนนา้ ซาวข้าว อาเจียน
• ถ้าไม่รกั ษาจะขาดนา้ มีกรดในเลือด ระบบไหลเวียน
โลหิตล้มเหลว เด็กมีนา้ ตาลในเลือดตา่ ถ้าไตวายจะ
เสียชีวิตได้สงู
อ ุจจาระเหมือนน้าซาวข้าว
ลักษณะโรค
• ส่วนใหญ่ไม่มอี าการและเป็ นพาหะได้ โดยเฉพาะที่
ติดเชื้อ El Tor
• รายที่มอี าการรุนแรง เรียกว่า “Choleragravis”
50% ตายได้ภายใน 2-3 ชัว่ โมง ถ้าได้รกั ษาอย่าง
ถูกต้องอัตราตายลดลง <1%
ลักษณะเชื้อ Cholera จะพบการเคลื่อนไหวแบบ
“Shooting Stars”
นิยามโรคของ WHO
“พบผูป้ ่ วยอายุตงั้ แต่ 5 ปี ขึน้ ไป มีอาการถ่ายอุจจาระเป็ น
นา้ เฉียบพลันแล้วมีอาการขาดนา้ อย่างรุนแรงหรือเสียชีวิต
ในพื้นที่ที่ยงั ไม่เคยมีรายงานโรคอหิวาห์มาก่อน”
และ
“พบผูป้ ่ วย มีอาการอุจจาระเป็ นนา้ เฉียบพลันโดยมีหรือไม่
มีอาเจียน ในพื้นที่ที่กาลังมีการระบาดของอหิวาต์”
เชื้อก่อโรค
เชื้อก่อโรค
พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เท่านัน้
การเกิดโรค
• เกี่ยวข้องกับการบริโภคนา้ ไม่สะอาด
• สุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี
• สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ดี
• ความแออัดของที่อยู่อาศัย
การเกิดโรค
การเกิดโรค
พ.ศ. 2553-2554 พบระบาดในเฮติหลัง
แผ่นดินไหวรุนแรง เสียชีวิต 5,889 ราย
แหล่งรังโรค
• ที่สาคัญคือ คน
• สิ่งแวดล้อม สัมพันธ์กบั ไรนา และแพลงตอนสัตว์ในนา้ กร่อย
วิธีการแพร่เชื้อ
จากอาหารและนา้ ที่ปนเปื้ อนเชือ้
ระยะฟักตัว
รับเชื้อ
ป่วย
2-3 ชัว่ โมง- 5 วัน
(เฉลี่ย 2-3 วัน)
ระยะติดต่อของโรค
2-3 วันหลังจากอาการดีขนึ้ อาจพบได้หลายเดือน
ความไวต่อการรับเชื้อ
• ทารกเลี้ยงด้วยนมแม่จะป้องกันได้
• พบบ่อยในคนเลือดกรุป๊ O
• ติดเชือ้ แล้วป้องกันการติดเชือ้ ซา้ ได้
วิธีการป้องกัน
มาตรการป้องกัน :
• ให้สขุ ศึกษา เน้นการล้างมือ จัดให้มที ี่ลา้ งมือ
• กาจัดอุจจาระให้ถกู หลัก ใช้กระดาษชาระแทนนา้
• แหล่งนา้ ดืม่ ต้องสะอาด ฆ่าเชือ้ ด้วยคลอรีน
• ควบคุมแมลงวัน
• จัดเตรียมอาหารให้สะอาด
• พาสเจอร์ไรส์นม
วิธีการป้องกัน
มาตรการป้องกัน :
• ควบคุมคุณภาพโรงงานเตรียมอาหาร
• อนุญาตให้จบั และจาหน่ายอาหารทะเลที่มกี าร
ตรวจสอบเท่านัน้
• แนะนาผูป้ ่ วย ผูฟ้ ั กฟื้ น พาหะ ให้เข้าใจสุขวิทยาส่วน
บุคคล
• ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
วิธีการป้องกัน
มาตรการป้องกัน :
• ห้ามคนเป็ นพาหะปรุงอาหาร
• วัคซีนฉีด มีประสิทธิภาพ 50% ป้องกัน 3-6 เดือน
วัคซีนกินได้ผลดีกว่า
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การรายงาน : รายงานทันที
• การแยกผูป้ ่ วย : ระมัดระวังการติดเชือ้ จากผูป้ ่ วย
และสงสัย
• การทาลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้ อน
• การกักกัน : ไม่มคี วามจาเป็ น
• การจัดการในผูส้ มั ผัส : เฝ้ าระวังผูส้ มั ผัสร่วม 5 วัน
ให้ Tetracycline, Doxycycline, Furazolidone, Erythromycin
• การสอบสวนโรคในผูส้ มั ผัส และค้นหาแหล่งโรค :
สอบสวนเรื่องอาหารและนา้ หาแหล่งโรค
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การรักษาเฉพาะ : ให้สารนา้ และเกลือแร่ป้องกัน
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การรักษาเฉพาะ : ให้สารนา้ กรณีรนุ แรง
มาตรการป้องกัน : การควบค ุมผูป้ ่ วย ผูส้ มั ผัส และ
สิ่งแวดล้อม
• การรักษาเฉพาะ : ให้ Tetracycline, Doxycycline,
Furazolidone, Erythromycin
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด :
• ให้ความรูก้ ลุม่ เสี่ยงเรื่องการรักษาอย่างเร็ว
• เตรียมสถานที่และอุปกรณ์ให้พร้อม
• ประเมินแหล่งนา้
• แนะนาเรื่องการเตรียมอาหาร
• สอบสวนโรคและการระบาด หาพาหะ
• จัดสถานที่กาจัดนา้ เสียให้ถกู หลัก
• ไม่แนะนาให้ฉีดวัคซีนเชือ้ อหิวาต์ทงั้ ตัว
มาตรการเมื่อเกิดการระบาด :
ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : โอกาสระบาดสูงใน
พื้นที่แออัด สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม
มาตรการควบค ุมโรคระหว่างประเทศ :
• ต้องแจ้ง WHO
• ตรวจพาหนะ เช่น เรือ เครื่องบิน ที่มาจากพื้นที่เกิดโรค
• ควรให้วคั ซีนกินเมือ่ ต้องเข้าพื้นที่ระบาด
กลมุ่ Non-O1 Non-O139
กลมุ่ Non-O1 Non-O139
• ทาให้ผปู้ ่ วยเกิดโรคอาหารเป็ นพิษ และระบบ
ทางเดินอาหารอักเสบ
• ไม่สร้างสารพิษ
• เกิดในประเทศแถบร้อน
• แหล่งรังโรค ในพื้นที่นา้ กร่อย เกาะติดกับแพลง
ตอนสัตว์ที่มไี คติน และสัตว์ทะเลที่มเี ปลือก
• แพร่เชือ้ กับอาหารทะเลดิบ หรือสุกไม่ทวั ่ ถึง หรือ
เข้าทางบาดแผล
กลมุ่ Non-O1 Non-O139
• ฟั กตัว 12-24 ชัว่ โมง (เฉลี่ย 10 ชัว่ โมง)
• การป้องกัน ให้ความรูค้ วามเสี่ยงจากอาหารทะเล
ดิบ
Vibrio Parahaemolyticus
• อาการ – ถ่ายเป็ นนา้ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
มีไข้ และปวดศีรษะ อาจมีถ่ายเป็ นมูกปนเลือด
• เชือ้ Vibrio Parahaemolyticus อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มี
ความเข้มข้นเกลือสูง ทาให้เกิดการแตกตัวของเม็ด
เลือดแดงได้ (Kanagawa Phenomenon)
• พบในคนที่กินอาหารทะเลที่สกุ ไม่ทวั ่ ถึง เช่น หอย
กาบ หอยนางรมดิบ หรือสุก ๆ ดิบ ๆ
• ระยะฟั กตัว 12-24 ชัว่ โมง