Power Point การผลิตน้ำบริโภคให้ได้มาตรฐาน โดย นายสังคม ลำไธสง

Download Report

Transcript Power Point การผลิตน้ำบริโภคให้ได้มาตรฐาน โดย นายสังคม ลำไธสง

การผลิตนา้ บริโภคให้ ได้ มาตรฐาน
สังคม ลำไธสง
นักวิชำกำรสำธำรณสุข ชำนำญกำร
สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดบุรีรัม์
แนวคิดกระบวนการผลิตเพื่อลดอันตราย
คุณภาพน้าดิบ VS เทคโนโลยีการผลิต
แร่ธาตุและโลหะหนัก
ความเป็ นกรด-ด่าง
ความกระด้าง
จุลินทรียก์ ่อโรค
• ระบบผลิตน้าอ่อน (Softener)
• กรอง/ฆ่าเชื้อด้วย
ระบบ 3 ประสาน
• รีเวอร์สออสโมซีส (อาร์โอ)
• โอโซน
ฯลฯ
ต้องเลือกให้เหมาะสม สัมพันธ์กนั และ ต้องสัมพันธ์กบั กาลังการผลิต
ส่งน้ำดิบตรวจวิเครำะห์อย่ำงน้ อยปี ละครัง้ หรื2 อทุกครัง้ ที่มีกำรเปลี่ยนปปลงน้ำดิบ
เป้าหมา์ : ได้ นา้ ทีส่ ะอาด ปลอดภั์
กระบวนการ
3
จะใช้เทคโนโลยีการผลิตแบบใด..จึงเหมาะสม
(ลดกลิ่น รสผิดปกติ)
หลอด
UV
หลอด
ถังเก็บน้ำ UV
(กรอง
ธำต ุเหล็ก)
(กำจัด
คลอรีน)
(ลด
ควำม
กระด้ำง)
คำร์บอน
เรซิน
คำร์บอน
ถังน้ำดิบ
แอนทรำไซต์
รอบรรจุ
(กำจัด
คลอรีน)
(กรอง (กรองจุลินทรีย ์
เศษฝุ่น) ขนำดใหญ่)
• ระบบผลิตน้าอ่อน (Softener)
• กรอง/ฆ่าเชื้อ 3 ประสาน
• รีเวอร์สออสโมซีส
• โอโซน
4
หัวบรรจุ
คุณภำพน้ำดิบ
คัดเลือกแหล่งน้าดิบ
ไกลจำกปหล่งปนเปื้ อน
• คุณภำพปหล่งน้ำเป็ นตัวกำหนดกรรมวิธีกำรผลิต
Softene
r
• กรรมวิธีกำรผลิตบางชนิดไม่สำมำรถลดกำรปนเปื้ อนทำงเคมี
บำงชนิดได้ เช่น ไนเตรท ฟลูโอไรด์
5
ปัญหาไนเตรท...
น้ าดื่มที่ ปนเปื้ อนปริมาณไนเตรทสูงสามารถทาให้ เกิดผล
กระทบรุน แรงต่ อ สุ ข ภาพได้ โ ดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในเด็ก
(Camargo and Alonso, 2006)
• ไนเตรทมาจากไหน..ส่วนใหญ่มกั มาจากการน้าเสีย และปุ๋ยที่ใช้เพื่อการเกษตร
น้าใต้ดิน
น้ำผิวดิน
มักมีไนเตรทสูงประมาณ 0-1,000 มก./ล.
มักมีไนเตรทสูงประมาณ 1-5 มก./ล.
6
ปัญหาค่าความเป็ นกรดด่าง (pH)
• ทาให้เกิดสภาวะการกัดกร่อนไม่เหมาะสมต่อการบริโภค
• ปกติน้าจะมีค่าความเป็ นกรดด่างระหว่าง 6.0-8.5
ทาไม..ต้องรูค้ ่าความเป็ นกรดด่าง???
• ช่วยควบคุมการกัดกร่อนของน้า
• ทาให้หาปริมาณการเติมสารเคมีในน้าได้ถกู ต้อง
• ช่วยควบคุมการฆ่าเชื้อโรคในน้า เช่น น้าที่ต้องการฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีน
ต้องมีค่าเป็ นกรด เป็ นต้น
7
ทางออก...
ชนิดสารเคมี
คุณสมบัติ
ข้อควรระวัง
โซดาไฟ
• ละลายน้าได้ดี เหมาะกับการใช้
กรณี มีสารเคมีจานวนน้ อย
ปูนขาว
ราคาถูก แต่ละลายน้าได้น้อยมาก • ปูนขาวจะตกตะกอนในน้า
จึงต้องมีถงั ตกตะกอน
• ปูนขาวจะจับตัวในท่อน้า/ถัง
ต่างๆ ต้องทาความสะอาด
บ่อยเพื่อกาจัดตะกรัน
โซดาแอช
โซเดียมไบคาร์บอเนต
แคลเซียมคาร์บอเนต
• เหมาะสาหรับการปรับค่า pH
ให้ใกล้เคียง 7
• ดีกว่าปูนขาวหรือโซดาไฟ เพราะ
ควบคุมค่า pH ได้ง่ายกว่า
8
ทางออก...
ชนิดสารเคมี
กรดกามะถัน
กรดเกลือ
คุณสมบัติ
• หาง่าย ราคาถูก จึงเป็ นที่นิยมใช้
สามารถใช้ได้เช่นเดียวกับกรดกามะถัน
9
ข้อควรระวัง
อาจทาให้เกิดผลึกแคลเซียม
ซัลเฟตหรือโซเดียมซัลเฟต
ปัญหาความกระด้างน้า
ทาให้ เกิดปั ญหาตะกรันอุดตันในหม้อน้ า ท่ อน้ า
และภาชนะอื่นๆ
สาเหตุ
เกิดจากเกลือไบคาร์บอเนต ซัลเฟต
ของแคลเซียม และแมกนี เซียมละลายอยู่
ทางออก
• สารกรองความกระด้าง “โซเดียมเรซิน”
• ดึงอนุมลู ประจุบวกของแคลเซียมและแมกนี เซียม
ออกจากน้า ทาให้ลดความกระด้างน้าได้
10
ปัญหาจุลินทรีย์
เป็ นสาเหตุที่ทาให้เกิดโรค เช่น บิด
อหิวาหตกโรค โรคระบบทางเดินอาหารอื่นๆ
Coliforms
• พบมากในลาไส้คนและสัตว์เลือดอุ่น
• โดยทัวไปไม่
่
ก่อโรค แต่เมื่อถ่ายออกมากับอุจจาระ
อาจปนเปื้ อนในแหล่งน้า
• นิยมใช้เป็ นจุลินทรียบ์ ง่ ชี้สขุ ลักษณะการผลิต
• ระบบฆ่าเชื้อ เช่น หลอดยูวี ก๊าซโอโซน
ทางออก
• ระบบการกรอง เช่น รีเวอร์สออสโมซีส (R.O)
ไส้กรองเซรามิค
เป็ นต้น
11
ระบบการกรองและฆ่าเชื้อทางจุลินทรีย์
12
การควบคุมและป้ องกันอันตราย :
กรอง ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์
(1) อันตรายทางจุลินทรีย์ (2) อันตรายทางเคมี (3) อันตรายทางกายภาพ
สำเหตุ 1. ปริมำณคลอรีนในน้ำมำกเกินไป
(1) เลือกชนิดเครื่องมือให้เหมาะสมกับแหล่งน้า
(2) ออกแบบและกาหนดคุณสมบัติให้เกิดประสิทธิภาพ
ในการปรับคุณภาพให้สมั พันธ์กบั กาลังการผลิต
สำเหตุ 2. เยื่อกรองหมดอำยุกำรใช้งำน
• ตรวจสอบประสิทธิภาพของการปรับคุณภาพน้า
(1) มีชดุ ทดสอบ (2) มีความถี่ในการตรวจ (3) มีบนั ทึก
• มีการตรวจสอบประสิทธิภาพของการล้างและ
ฆ่าเชื้อ (pH, ความกระด้าง, Swab Test)
13
การควบคุมและป้ องกันอันตราย :
กรอง ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์
(1) อันตรายทางจุลินทรีย์ (2) อันตรายทางเคมี (3) อันตรายทางกายภาพ
สำเหตุ 3. ขำดกำรบำรุงรักษำอย่ำงเหมำะสม
บารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักรให้อยู่ในสภาพที่ดี
- มีแผนการบารุงรักษาอย่างสมา่ เสมอ
- บารุงรักษาโดยช่างผูช้ านาญตามแผนงาน
14
ระบบผลิตน้าโอโซน (Ozone)
 เป็ นตัวออกซิไดซ์ที่ดี มีประสิทธิภาพสูงในการทาลายสี กลิ่น รส ที่เกิดจากสารอินทรียใ์ นน้า
และจุลินทรียท์ ี่อยู่ในน้า ทาให้เซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงไม่สามารถซ่อมแซมได้
 ประสิทธิภาพขึน้ อยู่กบั ปริมาณโอโซนที่ใช้ และจานวนโอโซนที่ละลายอยู่ในน้า
 สภาวะที่เหมาะสมให้โอโซนสัมผัสกับน้าได้เต็มที่ คือ ต้องอยู่ภายใต้ความดัน
 กรรมวิธีการฉี ดโอโซนเข้าผสมน้า มี 2 วิธี คือ
- วิธีอดั ก๊าซโอโซนเข้าผสมน้ า เสมือนการผลิตน้าอัดลม แต่เนื่ องจากก๊าซโอโซนเป็ น
อันตรายต่อร่างกาย เมื่อมีการสูดดมเข้าไป หรือถ้าหากมีการรัวไหลในบรรยากาศ
่
อาจถึงขึน้ ระเบิดได้ ดังนัน้ ควรหลีกเลี่ยงการใช้วิธีการนี้
- ใช้อปุ กรณ์ดดู โอโซน (Ozone Eductor) เป็ นอุปกรณ์สร้างแรงดันตา่ โดยอาศัย
ความเร็วน้าไหลผ่าน
15
การใช้ โอโซน
การใช้ แสงแสงอัลตร้ าไวโอเลต
คลอรี นก๊ าซ
คลอรี นเม็ด
คลอรี นผง
ข้อเสนอแนะ
1. บุคลากร
22
2
23
3. ภำชนะบรรจนุ ้ำดืม่
4. เครื่องมือต่ างๆ
pH
25
20/500
26
50/300
27
THANK YOU
28