ไฟล์ที่แนบมาด้วย

Download Report

Transcript ไฟล์ที่แนบมาด้วย

ทฤษฎีการแพทย์แผนไทย
เพื่อ
การใช้ยาแผนไทยหรื อแผนโบราณ
นำเสนอโดย : นำงสำวอัมริดตำ โคตรบุญมี
แพทย์ แผนไทยประยุกต์
โรงพยำบำลกุดชุม
การวินิจฉัยโรคตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย
ด้ ำนเวชกรรมแผนไทย
องค์ความรู้เวชกรรมไทย คือ กิจ 4 ประการ ได้ แก่
• รู้ จักทีต่ ั้งแรกเกิดของโรค ได้ แก่ ธาตุสมุฏฐาน อุตสุ มุฏฐาน อายุสมุฏฐาน
และกาลสมุฏฐาน
• รู้ จักชื่อของโรค ได้ แก่ โรคตามธาตุสมุฏฐาน 42 ประการ ตามฐานที่ตงั ้
ของโรคในเบญจอินทรี ย์ และชื่อโรคตามหมอสมมุติ
• รู้ จักยารั กษาโรค ได้ แก่ รู้จกั ตัวยา รู้จกั สรรพคุณยา รู้จกั พิกดั ยา และรู้จกั
การปรุงยาที่ประสมใช้ ตามวิธีตา่ ง ๆ คือ หลักเภสัช 4
• รู้ จักเลือกยาให้ เหมาะกับโรค
หลักกำรวิเครำะห์ โรคด้ ำนกำรแพทย์ แผนไทย
ประกอบด้ วย 5 วิธี
1. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน 3 (ตรีธำตุ)
2. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน 4
3. วิเครำะห์ โรคตำมพระคัมภีร์แพทย์
4. วิเครำะห์ โรคจำกสัญญำณ 5 ทำงหัตถเวชกรรม
5. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำนเบญจอินทรีย์
1. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน 3 (ตรีธำตุ)
• ปิ ตตะสมุฏฐำน
• วำตะสมุฏฐำน
• เสมหะสมุฏฐำน
2. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน
1. ธาตุสมุฏฐาน
ธำตุดนิ (ปถวีธาตุ) 20 ประการ
• คุณสมบัติ มีลกั ษณะแข็ง ทาให้ สงิ่ อื่นแข็งหรื ออ่อนก็ได้
• เช่น ตับ ไต หัวใจ ปอด เป็ นต้ น
ธำตุนำ้ (อาโปธาตุ) 12 ประการ
• คุณสมบัติ ทาให้ สงิ่ อื่นเกาะกลุม่ รวมกัน หรื อไหลได้
• เช่น น ้าย่อย น ้าปั สสาวะ เป็ นต้ น
2. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน
ธำตุลม (วาโยธาตุ) 6 ประการ
• คุณสมบัติ เคร่งตึง เคลื่อนไหว ทาให้ สงิ่ ต่างๆ เคลื่อนจากที่เดิม
• เช่น ลมหายใจเข้ า ลมหายใจออก ลมในลาไส้ เป็ นต้ น
ธำตุไฟ (เตโชธาตุ) 4 ประการ
• คุณสมบัติ ร้ อนและเย็น ให้ ความอบอุน่ ละเอียดนุ่มนวล ผิวอาจจะ
หยาบ เพราะไฟมากไป ก็จะเผาผลาญ
• เช่น ไฟย่อยอาหาร ไฟทาให้ แก่คร่ าคร่า เป็ นต้ น
2. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน
2. อุตสุ มุฏฐาน (อิทธิพลของฤดูกาล)
• ฤดูตา่ งๆ เป็ นสาเหตุ แห่งการเจ็บป่ วย ทาให้ ร่างกายแปรปรวน ช่วง
รอยต่อของฤดู กระทบร้ อน-เย็น ทาให้ ร่างกายปรับสมดุลไม่ทนั ก็จะเกิด
เจ็บป่ วยได้ ง่าย
• ฤดูร้อน
เจ็บป่ วยด้ วยธาตุไฟ
• ฤดูฝน
เจ็บป่ วยด้ วยธาตุลม
• ฤดูหนาว
เจ็บป่ วยด้ วยธาตุน ้า
2. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน
3. อายุสมุฏฐาน (อายุที่เปลี่ยนไปตามวัย)
• ปฐมวัย (แรกเกิด – 16 ปี )
เจ็บป่ วยด้ วยธาตุน ้า
• มัชฌิมวัย (วัยกลางคน – 32 ปี )
เจ็บป่ วยด้ วยธาตุไฟ
• ปั จฉิมวัย (วัยชรา 32 – อายุขยั )
เจ็บป่ วยด้ วยธาตุลม
2. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน
4. กาลสมุฏฐาน (อิทธิพลของกาลเวลา)
• 6.00 – 10.00 น. เป็ นอิทธิพลของธาตุน ้า
(18.00 – 22.00 น.)
• 10.00–14.00 น. เป็ นอิทธิพลของธาตุไฟ
(22.00–02.00
น.)
• 14.00 – 18.00 น. เป็ นอิทธิพลของธาตุลม
(02.00 – 06.00 น.)
2. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน
5. ประเทศสมุฏฐาน คือ สถานทีถ่ ิ่นที่อยูอ่ าศัยเป็ นสาเหตุการเกิดโรค
• ประเทศร้ อน ภูเขาสูง เนินผา ภาคเหนือ มักเจ็บป่ วยด้ วยธาตุไฟ
• ประเทศเย็น น ้าฝน โคลนตม มักเจ็บป่ วยด้ วยธาตุลม ภาคกลาง
• ประเทศอุ่น น ้าฝน กรวด ทราย เก็บน ้าไม่อยู่ มักเจ็บป่ วยด้ วยธาตุน ้า
ภาคอีสาน
• ประเทศหนำว น ้าเค็ม โคลนตม ชื ้นแฉะ มักเจ็บป่ วยด้ วยธาตุดิน
ภาคใต้ กินรสเผ็ดร้ อน เพื่อขับ
2. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำน
6. พฤติกรรมที่เป็ นมูลเหตุก่อโรค
• อาหาร
มากหรื อน้ อยเกินไป ไม่สมดุล
• ฝื นอิริยาบถ ยืน เดิน นัง่ นอน มากหรื อนานเกินไป
• กระทบร้ อนกระทบเย็น
• อดนอน อดข้ าว อดน ้า
• กลันอุ
้ จจาระ ปั สสาวะ
• ทางานเกินกาลัง
• ความเศร้ าโศก เสียใจ หรื อดีใจเกินไป
• มีโทสะ
3. วิเครำะห์ โรคตำมพระคัมภีร์แพทย์
• คัมภีร์ชวดาร เกี่ยวกับ ลม
• คัมภีร์ตกั สิลา เกี่ยวกับ ไข้
• คัมภีร์มหาโชติรัตน์ เกี่ยวกับ โลหิตสตรี เป็ นต้ น
4. วิเครำะห์ โรคจำกสัญญำณ 5 ทำงหัตถเวชกรรม
• สัญญาณ คือ จุดที่กดจุดแล้ วแล่นไปตามเส้ นกล้ ามเนื ้อ เช่น กดส. 4
หัวไหล่ จะแล่นลงปลายนิ ้วมือด้ านนิ ้วก้ อย เป็ นต้ น
• แสดงให้ เห็นว่า ถ้ าอาการปวดบ่า ร่วมกับชาปลายมือ แสดงว่า ส. 4
หัวไหล่เกิดปั ญหา
5. วิเครำะห์ โรคจำกสมุฏฐำนเบญจอินทรีย์
ในเบญจอินทรี ย์นี ้ คือ จักขุโรโค โสตโรโค ฆานโรโค ชิวหาโรโค กายโรโค
1. จักขุโรโค คือโรคซึง่ เป็ นขึ ้นที่ตา
2. โสตโรโค คือโรคซึง่ เกิดขึ ้นที่หู
3. ฆำนโรโค คือโรคซึง่ เป็ นขึ ้นที่จมูก
4. ชิวหำโรโค คือโรคซึง่ เป็ นขึ ้นที่ลิ ้น
5. กำยโรโค คือโรคซึง่ เป็ นขึ ้นที่ตวั โรค แบ่งเป็ น ๒ ชนิด คือ
• พหิทธโรโค เป็ นโรคที่เกิดขึ ้นภายนอกกาย
• อันตโรโค คือโรคเป็ นขึ ้นภายในกาย
กำรใช้ แผนไทยหรื อแผนโบรำณ
ตำมทฤษฎีกำรแพทย์ แผนไทย
องค์ ควำมรู้ เภสัชกรรมไทย ประกอบด้ วยหลักเภสัช 4 คือ
• เภสัชวัตถุ คือ รู้จกั วัตถุธาตุนานาชนิด ที่จะนามาใช้ เป็ นยารักษาโรค จะต้ องรู้จกั
ลักษณะพื ้นฐานของตัวยาหรื อสมุนไพร คือ ต้ องรู้จกั ชื่อ ลักษณะ สี กลิน่ และรส
ประกอบด้ วย พืชวัตถุ สัตว์วตั ถุ และธาตุวตั ถุ
• สรรพคุณเภสัช คือ รู้จกั สรรพคุณของวัตถุธาตุนานาชนิดที่จะนามาใช้ เป็ นยา
จะต้ องรู้รสของตัวยานัน้ ๆ ก่อน ประกอบด้ วยรสประธาน 3 และรสยา 9 รส
• คณาเภสัช คือ รู้จกั การจัดหมวดหมูข่ องตัวยาหลายสิง่ หลายอย่าง รวมเรี ยกเป็ นชื่อ
เดียว ประกอบด้ วย จุลพิกดั พิกดั ยา และมหาพิกดั
• เภสัชกรรม คือ รู้จกั การปรุงยา ผสมเครื่ องยาหรื อตัวยา ประกอบด้ วย วิธีปรุงยา
แผนโบราณ การใช้ ยาอันตราย (สะตุ ประสะ และฆ่าฤทธิ์) และยาสามัญประจาบ้ าน
27 ขนาน
รสของยำสมุนไพร
• ยำรสประธำน – ร้ อน เย็น สุขมุ คือรสของยาที่ปรุงสาเร็จแล้ ว
• รสของตัวยำ 4, 6, 8, 9 รส
รสยา 4 รส – มาจากคัมภีร์ธาตุวิภงั ค์
รสยา 6 รส – มาจากคัมภีร์วรโยคสาร
รสยา 8 รส – มาจากคัมภีร์ธาตุวิวรณ์
รสยา 9 รส – มาจากคัมภีร์สรรพคุณยา รวม รสจืด เป็ น 10 รส
รสยา 9 รส
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
รสฝำด เป็ นยาสมานแผล แก้ บิด มูกเลือด คุมธาตุ แก้ ท้องเสีย แก้ ลงแดง
รสหวำน แก้ ออ่ นเพลีย แก้ ไอ แก้ หอบ ทาให้ ชมุ่ คอ เจริ ญอาหาร
รสเมำเบื่อ แก้ พิษ แก้ ปวดบาดแผล แก้ เสมหะ แก้ พิษสัตว์กดั ต่อย แก้ พิษน ้าร้ อนลวก
รสขม แก้ โรคดีซา่ น แก้ ไข้ ตวั ร้ อน ดับพิษโลหิต แก้ ดีพิการ เจริ ญอาหาร แก้ ร้อนใน
รสเผ็ดร้ อน แก้ ลมในไส้ บารุงธาตุ ขับลมลงเบื ้องล่าง ทาให้ ผายลม ช่วยย่อยอาหาร
แก้ ตะคริ ว
รสมัน แก้ เส้ นเอ็น บารุงเส้ นเอ็น แก้ ไขข้ อพิการ แก้ ปวดเมื่อยตามร่างกาย
รสหอมเย็น ทาให้ ชื่นใจ บารุงหัวใจ แก้ ออ่ นเพลีย แก้ ร้อนในกระหายน ้า
รสเค็ม แก้ โรคผิวหนัง แก้ ท้องเฟ้อ ช่วยย่อยอาหาร กัดเมือกในลาไส้ รักษาบาดแผล
รสเปรี ย้ ว กวาดเสมหะ แก้ ไอ ระบายท้ อง บารุงโลหิต แก้ เลือดออกตามไรฟั น
รสจืด ขับปั สสาวะ แก้ ไข้ พิษ
ขอบคุณคะ
พบกันใหม่ วันพรุ่ งนีน้ ะคะ