ศศิประภา

Download Report

Transcript ศศิประภา

โครงงาน วิชาคอมพิวเตอร์
เรือ่ ง สมุนไพรไทย 10 ชนิด
เสนอโดย
นางสาว ศศิประภา สุภาสัย เลขที่ 9
นางสาว สุสสิ า พวงแก้ว เลขที่ 11
นางสาว หนึ่งฤทัย ต้นกลาย เลขที1่ 2
นาย วรวิทย์ เพิ่มผล เลขที่ 20
นาย จงรกษ์ บุญมี เลขที่ 18
นางสาว กัญญารัตน์ มัน่ หมาย เลขที่ 24
นาสาง ศิรนิ นั ท์ บุญมากเลขที่ 28
ว่านแร้งคอดา











ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Crinum latifolium L.
ชือ่ วงศ์ : AMARYLLDACEAE
ชือ่ อืน่ : ว่านพระยาแร้งคอดา, ว่านพระยาแร้ง, ว่านคอแดง, ว่านกระทู ้
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ต้นและหัว เป็ นพันธุไ์ ม้ลม้ ลุก ลักษณะคล้ายหอมหัวใหญ่ ผิวหัวแดงๆ เนื้อในสีขาว ตาม
ลาต้นทีโ่ ผล่พน้ ดินขึ้นมามีลายเป็ นวงสีนา้ ตาลแก่ ตัง้ แต่กาบโคนต้นจากถึงกาบคอต้น ที่
กาบคอต้น จะมีวงขนาดทีใ่ หญ่กว่าวงรอบโคนต้น และจะมีสมี ่วงมอแดง
ใบ เป็ นใบเดีย่ วรูปขอบขนาน ลักษณะคล้ายต้นพลับพลึงขนาดเล็ก ใบจะออกซ้อนกันเป็ น
กาบเป็ นลักษณะใบรีรูปขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรียว แนวเส้นกลางใบจะ
ลึกเป็ นร่อง ขอบใบจะเป็ นคลื่น ผิวใบบาง แตกใบอ่อนตรงส่วนยอดของลาต้นใต้ดิน เมื่อ
ดึงกาบใบออกจะมีใยเหมือนใยบัว
ดอก จะออกเป็ นช่อแบบซีร่ ม่ ดอกตูมเป็ นรูปหอก มีกาบหุม้ ปลายดอกเป็ นกระจุก 1020 ดอก กลีบดอกแยกเป็ น 6 กลีบ ก้านดอกสัน้ มีสขี าวแต้มด้วยสีแดงตรงกลางหรือ
ทางด้านหลังจากกลีบดอก ส่วนเกสรตัวผูน้ นั้ จะมีอยูด่ ว้ ยกัน 6 อัน และมีอบั เรณูเป็ นรูป
โค้ง
สรรพคุณทางสมุนไพร
หัว สามารถแก้อาการมดลูกหย่อน ปี กมดลูกอักเสบ โดยนาหัวว่าน 5 หัว ดองกับเหล้า
ขาว 1 ขวดใหญ่ สามารถแก้โรคริดสีดวงทวาร แก้กษัย แก้ไตพิการ
นาหัวมาทุบเผาไฟ ทาแก้โรคปวดข้อ ฝี ริดสีดวง
นาหัวมาโขลกให้ละเอียด เอานา้ มาหยอดหูจะสามารถใช้รกั ษาอาการปวดหู
 ว่านช้างผสมโขลง
 ชือ่ วิทยาศาสตร์ :Eulophia andamanensis
Rchb.f.
 ชือ่ วงศ์ : ORCHIDACEAE
 ชือ่ อืน่ : ว่านหมูกลิ้ง, พญาเทครัว
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
กล้วยไม้ดนิ ลาลูกกล้วยเป็ นหัวรูปกลมรีอยูใ่ ต้ดนิ เปลือก
นอกสีเขียวเป็ นกลีบซ้อนกัน หลายชัน้ คล้ายหัวหอม
ใบเดีย่ วสีเขียวเข้ม รูปแถบออกเรียงสลับรอบลาต้น ปลายใบแหลม
โคนใบเป็ นกาบหุม้ ลาต้นไว้ไม่มีกา้ นใบ
ดอกออกเป็ นช่อจากหัวใต้ดนิ ช่อดอกชูตงั้ ตรง ดอกย่อยสีนา้ ตาลอม
เขียว
 สรรพคุณทางสมุนไพร
เป็ นสมุนไพรรักษาฝี แก้ฝีหวั เดียว สาหรับสตรีทเ่ี ป็ นฝี
บริเวณเต้นนม ใช้รกั ษาได้ดี เป็ นยาปลุกกาหนัดอย่างอ่อน












ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Jatropha podagrica Hook.f.
ชือ่ วงศ์ : EUPHORBIACEAE
ชือ่ อืน่ : ว่านหนุมาน, ว่านเลือด, หัวละมานนัง่ แท่น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ลาต้นเป็ นเหง้าใต้ดนิ ลักษณะกลมยาว อาจจะเป็ นเหลี่ยมเล็กน้อย
ลาต้นอวบนา้ สีนา้ ตาลอมเขียว ลาต้นไม่เรียบ
ใบเดีย่ วออกเรียงสลับกันแน่น ก้านใบยาวกลมเรียว สีเขียวยาว
ออกตามข้อของเหง้า ใบรูปกลม ปลายใบกลม โคนใบกลมหรือ
อาจจะหยักเว้าเล็กน้อย ด้านบนเส้นกลางใบและเส้นใบร่องสีเขียว
อ่อน แผ่นใบสีเขียว ด้านล่างเส้นกลางใบและเส้นใบนูนเป็ นสันสี
เขียวอ่อน แผ่นใบสีแดงเรือ่ ๆ ใบคล้ายตาลึงแต่ใหญ่กว่า เว้าเป็ น
แฉกๆ ขอบใบหยัก
ดอกออกเป็ นช่อกระจุก สีแดง เกสรดอกสีเหลือง
ผลสีเขียวเมื่อแก่จดั เมล็ดจะแตกและดีดออกมาได้ไกล
สรรพคุณทางสมุนไพร
ใช้หวั กิน บารุงพละกาลังสาหรับผูท้ ใี่ ช้กาลังแบกหามทางานหนัก
ใช้หวั โขลกละเอียดพอกทาตามข้อมือข้อเท้า นวดแก้เคล็ดขัดยอก
ใช้เป็ นยาฟอกโลหิต และสมานแผล
 ต้นปลาไหลเผือก
 ชือ่ สามัญ ( Eurocoma longifolia jack)
 ชือ่ อืน่ : กรุงบาดาล คะนาง ชะนาง ตรึงบาดาล ตุงสอ แฮพันชัน้ เพียก หยิกบ่อ
ถอง หยิกไม่ถึง เอียนดอน ไหลเผือก
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยนื ต้น สูง 4-6 เมตร ลาต้นตรง ไม่คอ่ ยแตกกิ่งก้าน
ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ออกเป็ นกระจุกบริเวณปลายกิ่ง ใบย่อยรูปไข่แกม
วงรี กว้าง 2-3 ซม. ยาว 5-7 ซม. สีเขียวเข้ม ยอดและใบอ่อนมีขนสีนา้ ตาลแดง ดอก
ช่อ ออกทีซ่ อกใบ ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีม่วงแดง ผลเป็ นผลสด รูปยาวรี
 ต้นปลาไหลเผือกเป็ นยาไม้รากเดียว ต้นปลาไหลเผือนกหรือโสมเทวดา หรือ
พญานาคราช มีความเชือ่ ว่าเป็ นไม้มงคลทีห่ ายาก และ เป็ นสมุนไพรทีห่ มอสมุนไพร
สมัยโบราณปิ ดเป็ นความลับมาตลอด ผูท้ ร่ี ูก้ ็เฉพาะหมอสมุนไพรไม่ก่ีคนทีศ่ กึ ษามา
อยูใ่ นอาศรมฤาษีเท่านัน้ เพราะต้นปลาไหลเผือกมีความเร้นลับมาก สมุนไพร
ทัง้ 4 ชือ่ นี้ลว้ นแต่มีฤทธิ์ทงั้ นัน้ ซึง่ มีประวัตคิ วามเป็ นมาในโบราณคดีของสมุนไพรหรือ
ปลาไหลเผือก ในยุคต้นไม้เจริญ ต้นไม้ก็รบั ใช้ถือว่าเป็ นยาสาหรับมนุษย์ให้หายจาก
โรคภัยได้อย่างไม่ตอ้ งสงสัยพอยุคมนุษย์เจริญ ต้นไม้ก็ยงั รับใช้มนุษย์เหมือนเดิม ต้น
ปลาไหลเผือกทีว่ า่ นี้หมอสมุนไพรโบราณเคยเล่าว่า สามารถรักษาโรคได้ 108 โรค
จะเท็จหรือจริงนัน้ ลองดูวา่ คาโบราณผิดหรือถูก
 สรรพคุณ
 โรคตับ, โรคปอด, โรคเลือด, นา้ เหลืองไม่ด,ี ตกขาว, ประจาเดือนดา, เหนื่อย, เวียน
หัว,โรคเบาหวาน, ประดงต่างๆ, ริดสีดวง, เส้นเอ็นอักเสบ, ปวดหลัง, ปวดเอว, หัว
เข่า, ข้อ,ภูมิแพ้, หอบหืด, เท้าชา, มือชา, เกร็ดเงิน, ขับสารพิษ, ความดันโลหิตสูง
, ไมเกรน, ประจาเดือน, อัมพฤกเริม่ แรก, มะเร็งเริม่ แรก, ฝี ภายใน, TB ชนิดบวม
, ประดงต่างๆ
ต้นไข่เน่า
 ชื่ออืน่ คมขวาน, ฝรัง่ โคก(กลาง), ขี้เห็น (อุบลราชธานี-เลย),ปลู (เขมร สุรินทร์)
 ชื่อสามัญ
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Vitex glabrata R. Br.
 ชื่อวงศ์ VERBENACEAE
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
 ต้น : เป็ นพรรณไม้ยืนต้นมีทงั้ ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ลาต้นนัน้ จะมีความสูง
ประมาณ 10-12 เมตร ลาต้นจะเกลี้ยงเป็ นสีหม่นและมีดา่ งเป็ นดวงขาว ๆ
 ใบ : เป็ นในประกอบ มีขนาดไม่เท่ากัน ตรงโคนใบจะเรียวเล็กปลายของมันจะกว้าง
และมน ยาว ประมาณ 6 ซม. ถึง 33 ซม.ใบจะมีสเี ขียว คล้ายใบงิ้ว
 ดอก : อยู่ ติดกันเป็ นช่อยาวๆ ดอกนัน้ จะเป็ นดอกเล็ก ๆ มีสมี ว่ งอมชมพู สีขาวมี
แดงเรือ่ ๆ ดอกจะมีกลิ่น หอม และมีดอกใกล้ยา่ งเข้าหน้าฝน
 เมล็ด( ผล ) : ผลอ่อนทีย่ งั ไม่สุกจะมีสเี ขียว และแข็ง ผลทีส่ ุกแก่เต็มทีน่ นั้ สีจะ
เปลี่ยนเป็ นสีดาเทาอ่อนนุม่ นิ่ม ผิว จะมัน ผลโตประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร และมีรส
หวานอมเปรี้ยว กลิ่นจะเหม็นผลนัน้ จะแก่ในหน้า ฝน ส่วนเมล็ดโตขนาดเท่าปลาย
นิ้วก้อย
 การขยายพันธุ์ : โดยการใช้เมล็ด
 สรรพคุณทางสมุนไพร
 เปลือกต้น ใช้รกั ษาพิษสานซาง ตานขโมย ราก ขับไส้เดือน รักษาท้องร่วง เจริญ
อาหาร เปลือกต้น นัน้ จะมสารจาพวกsteroid มีชอื่ ว่า sitosterol และ ecdysterone และ anguside (phydroxybenzoic ester of aucubin
 ผล เมื่อสุกใช้รบั ประทานกับเกลือ สามารถรักษาโรคเบาหวาน











หญ้าดอกขาว
ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Vernonia cinerea Less
ชือ่ วงศ์ : Compositae
ชือ่ อืน่ หญ้าสามวัน ก้านธูป ถัว่ แฮะดิน ฝรัง่ โคก หญ้าละออง หญ้าหมอน้อย หนวดหนา หญ้า
ดอกขิง หญ้าเหล่าฮก หญ้าเหนียมช้าง เซีย่ วไซ(จีน)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็ นไม้ลม้ ลุกจาพวกหญ้า มีขึนกระจายทัว่ ไปตามทีร่ กร้างข้างทาง ข้างบ้านทุกภาคของประเทศ
ไทย ซึง่ คนส่วนใหญ่จะพบเห็นเป็ นประจา แต่ไม่ทราบว่าเป็ นต้นอะไร คิดว่าเป็ นต้นหญ้าทีห่ า
ประโยชน์ไม่ได้
ต้น ลาต้นตัง้ ตรงเป็ นสัน มีขน สูง 1 ฟุต ใบเป็ นใบเดีย่ ว ออกเรียงสลับ เป็ นรูปไข่กลับหรือรูผใบ
หอกแกมขอบขนาน คล้ายต้นพริก มีขนละเอียดทัง้ 2 ด้าน
ดอก ออกเป็ นช่อแบบแยกแขนงช่อทีป่ ลายกิ่ง แต่ละช่อประกอบด้วย ดอกย่อยจานวนมาก เมื่อดอก
บาน กลับดอกจะเป็ น สีม่วงสด กลีบดอก เป็ นฝอยๆ เป็ นกระจุกคล้ายดอก ดาวเรือง แต่มีขนาด
เล็กกว่ามาก เวลาดอกบานพร้อมๆกันจะสวยมากมาก พอดอกแก่จะกลายเป็ นสีขาว เบาคล้ายปุย
นุ่น มีผลแห้งเล็กๆ มี 4 - 5 อัน ติดอยู่ หลุดร่วงง่าย เมื่อลมพัด จะปลิวกระจายไปทัว่ เมื่อไปตกดิน
บริเวณไหน จะแพร่ขยายพันธุเ์ องตามธรรมชาติ
มีรสจืด
ดอกมีรสขมเล็กน้อยและมีกลิ่นฉุนเล็กน้อยรากมีรสขม
สรรพคุณทางสมุนไพร
ใช้ทงั้ ต้นต้มรับประทาน แก้ปวดท้อง ท้องขึ้น ท้องเฟ้ อ ใบสด ตาให้ละเอียด ปิ ดสมานแผล ทาให้
เย็น หรือผสมกับนา้ นมคน กรองเอาแต่นา้ หยอดตา แก้ตาแดง ตาฝ้ า ตาเปี ยก ตาแฉะ แพทย์จนี ใช้
ทัง้ ต้นตาพอกนม แก้นมคัดนมหลง แก้บวม และดูดหนอง ส่วนภาคเหนือใช้ทงั้ ต้นและราก ตากแห้ง
บดเป็ นผง รักษาแผลสด แผลเรื้อรัง ผิวหนังพุพอง ห้ามเลือด ตารายาไทยใช้ทงั้ ต้น แก้ไข้ แก้ไอ ดี
ซ่าน ปั สสาวะรดทีน่ อน ใบสด แก้กลากเกลื้อน เรื้อนกวาง ได้ดีมาก ยาพื้นบ้านใช้ทงั้ 5 (รวม
ราก) 1 กามือ ต้มกับนา้ 4 ถ้วย ดื่มแก้ตกเลือด บารุงเลือด ลดอาการปวด ลดความดัน
 รานา้










ชื่ออืน่ : ผักกระโฉม กระออม นางออม กระออมโป๋ ง กระออมหอม ผักชะออม
ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
พืชล้มลุกอายุหลายปี เติบโตได้ดภี ูมิประเทศทีล่ ุม่ ชื้นแฉะ และเป็ นดินโคลน มีกลิ่นหอมคล้าย
ยี่หร่า ซึง่ เป็ นทีม่ าของชือ่ รานา้
ต้น ลาต้นกลม อวบนา้ เป็ นข้อๆ แต่ละข้อยาวประมาณ 2.5 - 3 ซม. สีนา้ ตาลอ่อนแกมม่วง
ใบ เป็ นใบเดีย่ ว รูปหอกปลายมน ออกตรงข้ามกันเรียงสลับตามข้อของลาต้น มีเส้นด้านบน
ของใบ สีเขียวเข้มเป็ นมันเล็กน้อย ขอบใบหยัก ใต้ใบสีขาว ขนาดของใบกว้าง 3 ซม. ยาว 5 ซม.
ดอก เมื่อต้นแก่ จะมีดอกขนาดเล็ก ลักษณะเป็ นช่อๆ ออกเป็ นกระจุกทีด่ า้ นบนของก้านใบ มีสี
ม่วง
ผล เมื่อดอกแก่จะร่วงและกลายเป็ นผล ออกเป็ นกระจุกแน่นตามข้อด้านบนของก้านใบ มีสเี ขียว
ลักษณะคล้ายหอก หุม้ เมล็ดซึง่ อยูข่ า้ งใน
ประโยชน์ เป็ นผักพื้นบ้านของภาคใต้ ใช้รบั ประทานสดเป็ นผักเหนาะ รับประทานกับนา้ พริก
แกงเผ็ด หรือขนมจีน
 สรรพคุณทางสมุนไพร
 ทัง้ ต้น ขับเสมหะ แก้ไอ หอบ แน่นหน้าอก ลาต้นใช้สบั แล้วตา พอกแผลพุพอง ส่วนของ
ใบ ขับปั สสาวะ ช่วยเจริญอาหาร แก้ทอ้ งอืดท้องเฟ้ อ แก้แน่นหน้าอก เป็ นยาขับลม ใช้ดบั กลิ่น
ปาก ลาต้นจะมีนา้ มันหอมระเหย
ผักเสี้ยนผี






ชือ่ สามัญ :Wild Spider flower, Phak sian phee.
ชือ่ วิทยาศาสตร์ :Cleoma viscosa
Linn. วงศ์ CLEOMACEAE
ลักษณะทางวิทยาศาสตร์
เป็ นพรรณไม้ลม้ ลุกทีม่ ี ขนาดเล็ก หรือจัดอยูใ่ นจาพวกหญ้า แตกกิ่งก้านสาขา
ตามลาต้นจะมีขนอ่อนสีเหลืองปกคลุมทัง้ ต้นและมีเมือกเหนียว ๆอยู่ภายในลาต้น
ใบเป็ นใบรวม ช่อหนึ่งจะมีใบอยู่ 3 - 5 ใบ ซึง่ จะออกสีเขียวอมเหลือง ลักษณะของ
ใบย่อยเป็ นรูปไข่ เนื้อในบางนุ่ม ตามผิวใบจะมีขนอ่อน ๆ ปกคลุมเช่นกัน มีกลิ่น
ฉุน กว้าง 0.5 - 1 นิ้ว ยาว 0.5 - 2 นิ้ว ดอกออกเป็ นช่อ อยูต่ ามง่ามใบ ช่อดอก
ยาวแหลม ดอกมีสเี หลืองบาง ทีป่ ลายดอกมีจงอยแหลม และมีขนปกคลุมอยู่
เล็กน้อย ผลเป็ นฝักยาว คล้ายฝักถัว่ เขียว แต่จะมีขนาดเล็กกว่ามาก ตรงปลายผล
มีจงอยแหลม ผลกว้างประมาณ 2 - 4.5 มิลลิเมตร ยาว 1 - 4 นิ้ว เมล็ดเมล็ดใน
ผลมี สีนา้ ตาลแดง ผิวย่น ใน 1 ผล มีเมล็ดจานวนมาก เมล็ดมีรูปร่างกลม ขนาด
ประมาณ 2มิลลิเมตร
สรรพคุณและวิธีใช้
ผักเสี้ยนมีนา้ มันหอมระเหย (Volatic Oil) ประกอบด้วย Cyanide ซึง่ จะ
มีผลระบบทางเดินโลหิต และสารไฮโดรไซยาไนด์ (Hydrocyanide) ซึง่ มี
พิษต่อระบบประสาทส่วนกลาง และยังมีกลิ่นเหม็นเขียวอย่างแรง เด็กรุน่ ใหม่พอ
เข้าใกล้ได้กลิ่นผักเสี้ยนก็มกั จะไม่ชอบ จึงทาให้สูญเสียโอกาสทีจ่ ะเรียนรู ้
คุณประโยชน์และภูมิปัญญาทีว่ า่ ทาไมคุณย่า คุณยาย รวมถึงคุณแม่ดว้ ยจึงชอบ
ผักเสี้ยนดองนัก
มันแกว
 ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Pachyrhizus erosus L. Urb.
ชือ่ วงศ์ : Leguminosae
ชือ่ สามัญ : Jicama, Yam bean
ชือ่ อืน่ : มันแกว (กลาง), หัวแปะกัวะ (ใต้),มันแกวละแวก มันแกวลาว (เหนือ), มันเพา (อีสาน)เครือเขาขน หมากบัง
(เพชรบูรณ์) ถัว่ กินหัว ถัว่ บ้ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
มันแกวเป็ นพืชตระกูลถัว่ ลักษณะต้นเป็ นเถาเลื้อย มีหวั ใต้ดิน เป็ นรากสะสมอาหาร โคนตันเนื้อแข็ง ใบประกอบแบบขนนก มี
ใบย่อย 3 ใบ เรียงสลับ ดอกมีสีขาวหรือชมพูเป็ นช่อ รูปร่างของดอกคล้ายดอกบัว ผลเป็ นฝักแบน มีขนปกคลุม ในหนึ่งฝักจะ
ประกอบไปด้วยเมล็ดสีเหลือง สีนา้ ตาล หรือสีแดงลักษณะสี่เหลี่ยมจัตุรสั แบน ประมาณ 8-10 เมล็ด โดยต้นมันแกว 1 ต้นมี
เพียงหัวเดียว ส่วนทีใ่ ช้รบั ประทานคือส่วนของรากแก้ว
แหล่งที่พบ
ถิ่นกาเนิดเดิมอยูใ่ นอเมริกาเขตร้อน ฟิ ลิปปิ นส์ อินเดีย จีน อินโดนีเซีย และ ไทย นิยขมปลูกเพื่อทานในส่วนของหัวสะสมอาหาร
ใต้ดิน
 ส่วนที่นามาใช้ประโยชน์ : เมล็ด และ หัว
สารสาคัญ
เมล็ดมีสาร Pachyrrizin และ rotenone ซึง่ มีฤทธิ์เป็ นยาฆ่าแมลงได้เป็ นอย่างดี และ
Pachysaponin A และ B ซึง่ เป็ นพิษต่อปลา แต่ถา้ คนทานเมล็ดแก่ของมันแกวเข้าไป จะส่งผลทาให้เม็ดเลือดแดง
แตก เกิดอาการช็อคหมดสติและหยุดหายใจได้
 สรรพคุณทางยาสมุนไพร
 มันแกวมีวติ ามิน C และเส้นใยสูง มีประโยชน์ตอ่ ระบบขับถ่าย และป้ องกันไข้หวัดได้ดีมาก ส่วนใบของมันแกวนัน้ มีคณ
ุ สมบัติใน
การรักษาโรคผิวหนังอย่างกลาก เกลื้อน และยังเป็ นยาถ่ายพยาธิทม่ี ีสรรพคุณดีตวั หนึ่ง
 เมล็ด ใช้เมล็ดบดทาผิวหนังรักษาหูด
 หญ้างวงช้าง







ชือ่ อืน่ หวายงวงช้าง (ศรีราชา), หญ้างวงช้างน้อย (เหนือ) ผักแพวขาว (กาญจนบุรี), กุนอกาโม (มลายู)
ชือ่ วิทยาศาสตร์ Heliotropium indicum Linn.
ชือ่ วงศ์ BORAGINACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป็ นพืชล้มลุกเกิดตอนฤดูฝน ถึงหน้าแล้งตาย สูง 15-50 เซนติเมตร มีขนหยาบๆ ปกคลุมทัง้ ต้น
ใบ ออกสลับกัน ลักษณะทรงกลมรีหรือป้ อมๆ ปลายใบแหลมสัน้ กลางใบกว้างออก ฐานใบเรียวต่อลงมาถึงก้านใบ
ตัวใบยาว 3-8 เซนติเมตร มีขน ผิวใบมีรอยย่นขรุขระ ขอบใบมีรอยหยักเป็ นคลื่น ช่อดอกเกิดทีย่ อดหรือซอกใบ ยาว
3-10 เซนติเมตร
ดอก เกิดอยูท่ างด้านบนด้านเดียว บานจากโคนไปปลายช่อดอก ปลายช่อโค้งงอคล้ายงวงช้างชูข้ ึน กลีบเลี้ยงสีเขียว มี
5 กลีบ กลีบดอกสีฟ้าใกล้ขาวติดกันเป็ นหลอด ทีข่ อบมีรอยแยกตื้นๆ แบ่งเป็ น 5 กลีบบานออกกลีบดอก ประมาณ 5
มิลลิเมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-3.5 มิลลิเมตร มีเกสรตัวผู ้ 5 อันติดอยู่ ด้านในมีกา้ นเกสรตัวเมีย 1 อัน รังไข่เป็ นรูป
จานแบนๆ ผลยาว 4-5 มิลลิเมตร เกิดจากการทีร่ งั ไข่ 2 อันรวมตัวติดกัน
มักพบตามทีช่ ้ นื แฉะ เช่น ตามริมแม่นา้ ลาคลอง หรือทางนา้ แหล่งนา้ ต่างๆ ท้องนาหรือตามทีร่ กร้างต่างๆ ตามวัดวา
อารามทัว่ ๆ ไป และมีปลูกเก็บมาขายเป็ นยาสดตามสวนยาจีนต่างๆ

สรรพคุณทางสมุนไพร
ใบ รสเย็นเฝื่ อน ตาคัน้ เอานา้ หยอดหู แก้ฝีในหู ปวดหู หยอดตาแก้ตาฟาง อมกลัว้ คอ แก้เจ็บคอ แก้กระหายนา้ ดื่ม
ลดนา้ ตาลในเลือด ทาแก้สิว
ดอก,ราก รสเย็นเฝื่ อน ต้มดื่มพอเหมาะ ขับระดู ใช้มากอาจทาให้แท้งได้
ราก รสเย็นเฝื่ อน คัน้ เอานา้ หยอดตา แก้ตาเจ็บ ตามัว
ทัง้ ต้น รสเย็นเฝื่ อน ต้มดื่ม ดับพิษร้อน แก้ปวดอักเสบ แก้เจ็บคอ ขับนิ่วในกระเพาะปั สสาวะ ขับปั สสาวะ แก้ไข้ แก้
ปากเปื่ อย แผลบวม มีหนอง แก้ตาฟาง แก้พิษตานซาง