แผนที่เส้นทาง...สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน

Download Report

Transcript แผนที่เส้นทาง...สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน

สมาคมพัฒนาค ุณภาพสิ่งแวดล้อม
www.adeq.or.th
มิถุนายน 2555
ปี 2554
•เฮอริเคนไอรีน
•ไต้ฝุ่น นกเต็น
•ไต้ฝุ่นตาลัส
FACT เกี่ยวกับทุน
ทางธรรมชาติ
ทุนทางธรรมชาติอยู่
ในภาวะถดถอย
12 พฤษภาคม 2555 เวลา 08.06.45 a.m. ที่ศูนย์รวมตะวัน
เกี่ยวกับเชือ
้ เพลิงปิโตรเลียม
โรงเรียนเป็นแหล่ง
เรียนรู้ด้านการ
อนุรักษ์พลังงานและ
สิ่งแวดล้อมสาหรับ
เยาวชนและคนไทย
โรงเรียนมีการบูรณาการหรือผนวก
หลักการและสาระด้านการอนุรักษ์
พลังงานและสิ่งแวดล้อมเข้าในระบบ
การดาเนินงานของโรงเรียนบ้าง แต่ไม่
ทั้งระบบ (เป็นลักษณะ Event Base)
โรงเรียนมีการนาหลักการอนุรก
ั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม
ผนวกเข้าไปในการดาเนินงานของโรงเรียนทัง้ ระบบ
เยาวชนไทยมีจต
ิ สานึกในการ
อนุรักษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม
เป็ นสถานศึกษาหรือโรงเรียนที่มีการนา
หลักการและสาระด้ านการอนุรักษ์ พลังงานและ
สิ่งแวดล้ อม ผนวกเข้ าไปในการดาเนินงานของ
โรงเรียนทัง้ ระบบ
• การอนุรก
ั ษ์พลังงาน
• พลังงานไฟฟ้า
• น้ามันเชือ
้ เพลิง
• การใช้นาและน้
้
าทิง้ ในโรงเรียน
• การป้องกัน ลด และจัดการขยะ สารพิษ
ในโรงเรียน
สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน
เป็นสถานศึกษาหรือโรงเรียนทีม
่ ีการนา
หลักการและสาระด้านการอนุรักษ์พลังงาน
และสิ่งแวดล้อม ผนวกเข้าไปในการ
ดาเนินงานของโรงเรียนทัง้ ระบบ
•วิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลย ุทธ์
โรงเรียน
•แผนระยะยาวและแผนปฏิบตั ิงาน
•คณะกรรมการ ระบบงานและภาระงาน
ฝ่ายต่างๆ
•การพัฒนาบ ุคลากร
•การนิเทศและประเมินภายใน
นโยบายและ
•การสร้างแรงจูงใจ
การบริหาร
•อาคาร สถานที่ วัสด ุ คร ุภัณฑ์
จัดการ
•การเดินทาง
•การสื่อสารสัมพันธ์
•กิจกรรมร่วมกับผูป้ กครอง
•กิจกรรมร่วมกับศิษย์เก่า
•กิจกรรมร่วมกับช ุมชน
•กิจกรรมร่วมกับหน่วยราชการ
•กิจกรรมร่วมกับองค์กรทาง
สังคม
•ศูนย์สง่ เสริมเรียนรเ้ ู พื่อการ
อนุรกั ษ์ฯ
•การเข้าร่วมสมัชชาเยาวชนฯ
กิจกรรม
ชุมชนสัมพันธ์
การจัดการ
ด้านการเรียน
การสอน
กิจกรรม
พิเศษอื่นๆ
•กรอบหลักสูตร
•แผนการสอน
•กระบวนการเรียนการ
สอน
•การใช้สื่อและเทคโนโลยี
•การวัดและประเมินผล
•การจัดสภาพห้องเรียน
•การนิเทศติดตาม
•การพัฒนาบ ุคลากร
•กิจกรรมประจาวัน เช่น
เวรประจาวัน
•กิจกรรมประจาภาค
การศึกษา
•กิจกรรมในวันสาคัญ
•กิจกรรมนอกหลักสูตร
ดังนั้น
สถานศึกษาดีเด่ นด้ านพลังงาน จึงหมายถึง
โรงเรียนทีม
่ ีนโยบายด้านการอนุรก
ั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม
1. นโยบายและระบบการดาเนินการตามนโยบายของโรงเรียน
• มีนโยบายด้านการอนุรก
ั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม
เป็นลายลักษณ์อักษร
แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจและจุดมุ่งมั่น
 กาหนดจุดมุ่งหมาย (Target)
เป็นนโยบายที่มีแผนปฏิบัติการสนับสนุน
จัดทาแบบมีส่วนร่วม
• มีโครงสร้างรองรับมีคณะทางานด้านการอนุรก
ั ษ์พลังงาน
และสิง่ แวดล้อม
• มีการประชาสัมพันธ์หรือมีระบบสือ
่ สารในองค์กร
• ส่งเสริมการมีสว
่ นร่วมของบุคลากร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง
• มีการสนับสนุนจากโรงเรียน
• มีระบบติดตามประเมินผล
2. การจัดการด้านการใช้ทรัพยากรและ
รักษาสิ่งแวดล้อม
2.1 การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรในโรงเรียน
การจัดการด้านการใช้พลังงาน
วิธีใช้
ไฟฟ้า
อุปนิสัย
ระบบอาคาร
ระบบปรับอากาศ
และระบายอากาศ
ระบบแสงสว่าง
เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด
น้ามันเชือ
้ เพลิง
รถยนต์และการเดินทาง
อุปกรณ์
อุดรูร่ ัว
เลือกซื้อ
บารุงรักษา
มีระบบเกีย
่ วกับการ
บารุงดูแลอุปกรณ์
ไฟฟ้าและเฝ้าระวัง
เกี่ยวกับการลืมปิดไฟ
ในห้องเรียน
มีระบบตรวจสอบการปิดเปิดเครือ
่ งใช้ไฟฟ้า
กลุ่มสาระภาษาไทย
ผู้รับผิดชอบดูแลเครือ
่ งใช้ไฟฟ้าทุกชนิด
ตั้งแตเวลา 7.30-16.30 น.
วัน
จันทร์
ผู้รับผิดชอบกลุม
่ หนึง่
อ.ภาวดี ผสมทรัพย์
ผู้รับผิดชอบกลุม
่ สอง
อ.เพ็ญนภา พรมสุริยวงศ์
อังคาร
พุธ
พฤหัสบดี
ศุกร์
อ.พิมพ์พลอย รัตนมาศ
อ.ธัญจิตรา หงษ์พญา
อ.สังเวียน มณีจันทร์
อ.เรวัฒน์ พรมสะโร
อ.นันทพร พวงแก้ว
อ.บุบผา ถิระพร
อ.ชุลี ชัชวาลกิจ
อ.อัจฉราพรรณ วัฒนไชย
ระเบียบปฏิบัติ ด้านการบารุงรักษา
ที่ หัวข้อการดาเนินงาน
1 การทาความสะอาดเครือ
่ งปรับอากาศทุก
อาคาร
2
ระบบประปา
2.1 สารวจและจดบันทึกการรั่วไหล
2.2 ซ่อมแซมและตามงานตามใบแจ้งซ่อม
3
งานไฟฟ้าและอุปกรณ์การใช้ไฟฟ้า
3.1 สารวจและจดมิเตอร์การใช้ไฟฟ้า
3.2ซ่อมแซมและตามงาน
ผู้รับผิดชอบ
นายเทวานุวฒ
ั น์
นายศรีสยาม
นายบัญชา
นายวันชัย
การจัดการด้านการใช้นาในโรงเรี
้
ยน
• อุปกรณ์ เช่น ก็อกน้า สุขภัณฑ์ ฝักบัว
• พฤติกรรมการใช้ ใช้อย่างไร
• การรัว
่ ไหล  การตรวจสอบและซ่อมบารุง
2.2 การรักษาสภาพแวดล้อม
การจัดการน้าทิง้
• ระบบระบายน้า
• การจัดการไขมันในน้าทิ้ง
• การบาบัดน้าเสีย
การจัดการขยะและสารพิษ
 จัดการตั้งแต่ต้นทาง
• การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ วัสดุสิ้นเปลืองสานักงาน
• การคัดสรรอาหารที่จาหน่ายในโรงเรียน ประโยชน์ต่อ
สุขภาพ ไม่มีภาระในเรื่องบรรจุภัณฑ์
 แยกขยะ และนาขยะมาใช้ประโยชน์
• Reuse, Recycle (ธนาคารขยะ)
• การแปรรูปขยะเปียกให้เป็นปุ๋ย
3. การจัดการด้านการเรียนการสอน
บูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ
จัดทาแผน/กิจกรรมการเรียนการสอนด้านพลังงาน
และสิง่ แวดล้อม พัฒนารูปแบบและเทคนิค สื่อการเรียน
การสอน
การจัดกิจกรรมนอกห้องเรียน เช่น ค่ายวิทยาศาสตร์
ค่ายลูกเสือสิง่ แวดล้อม ค่ายจริยธรรม (สิ่งแวดล้อม)
การจัดกิจกรรมพิเศษ เช่น สัปดาห์วท
ิ ยาศาสตร์ การ
แข่งกีฬาสี งานลอยกระทง งานวันสิง่ แวดล้อมไทย
การบูรณาการความรูด
้ า้ นพลังงานเข้าใน
สาระวิชาหลัก 8 กลุ่มสาระ
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
วิทยาศาสตร์
การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี
สุขศึกษาและ
พละศึกษา
หัวเรื่อง
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
ภาษา
ต่างประเทศ
ศิลปะ
ขั้นตอนการบูรณาการ
1. กาหนดเป้าหมายของการบูรณาการ (สาระ
ความรูด
้ า้ นการอนุรก
ั ษ์พลังงาน)  สิ่งที่เราอยาก
เห็นหรือฝันให้เกิดขึน
้ กับนักเรียน
2. กาหนดมาตรฐาน ตัวชี้วด
ั  ตัวที่จะบอกว่าเรา
ได้อย่างที่เราฝัน ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
หรือไม่
3. ศึกษาข้อมูลพืน
้ ฐานที่จาเป็นต่อการบูรณาการ
สาระด้านพลังงานในสาระวิชาหลัก
4. วิเคราะห์ขอ
้ มูลพื้นฐานและจัดทาแผนการสอน
ในแต่ละกลุม
่ สาระ
 โครงสร้างความรูข
้ องกลุม
่ สาระ 8 กลุ่มสาระ
•ภาษาไทย
•ภาษาต่างประเทศ
•การงานอาชีพและเทคโนโลยี
•ศิลปะ
•สุขศึกษาและพละศึกษา
•สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
•วิทยาศาสตร์
•คณิตศาสตร์
•หาความสัมพันธ์
ระหว่างสาระ
•คัดเลือกสาระพลังงาน
ตามวัตถุประสงค์ของ
หลักสูตร
•จาแนกสาระตาม
 โครงสร้างความรูเ้ กีย
่ วกับพลังงาน ระดับชั้น
•ร้อยเรียงเนือ
้ หา
• เนื้อหาด้านพลังงาน
• ข้อมูลพลังงานในท้องถิน
่
• ข้อมูลการใช้พลังงานในโรงเรียน
สิ่งสาคัญ
การเชื่อมโยงสาระวิชากับหัวเรื่อง
วิเคราะห์สาระวิชาหลัก (เนือ
้ หา กิจกรรม และ
จุดประสงค์การเรียนรู้) ว่ามีส่วนใดบ้างที่
สัมพันธ์กับเรือ
่ งทีก
่ าหนด และจะต้องคานึงถึง
ความสมบูรณ์ของเรื่อง รวมทัง้ ตอบสนอง
จุดประสงค์ของการเรียนรู้ (หลอมจุดประสงค์
การเรียนรูข
้ องเรือ
่ งนั้นเข้าด้วยกัน)
การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Interdisplinary)
การกาหนดหัวเรือ
่ ง (Theme)
1. เป็นเรือ
่ งทีผ
่ เู้ รียนสนใจ และมีโอกาสได้เลือกเรียน
2. เป็นเรือ
่ งทีส
่ ามารถโยงความสัมพันธ์ได้หลายวิชา
หรือหลายกลุ่มสาระ
3. เป็นเรือ
่ งทีน
่ ักเรียนมีประสบการณ์เดิมอยูแ
่ ล้วและ
สอดคล้องกับชีวต
ิ จริงและมีความหมายต่อผูเ้ รียน
4. เป็นเรือ
่ งทีม
่ แ
ี หล่งความรูใ
้ ห้ผเู้ รียนได้ศึกษาคิดค้น
อย่างหลากหลายและเชือ
่ มโยงความสัมพันธ์กับ
ท้องถิน
่ กับความรูท
้ เี่ ป็นสากล
5. เป็นเรือ
่ งทีเ่ หมาะสมกับระดับความสามารถของ
ผู้เรียนและส่งเสริมการพัฒนาผูเ้ รียนรอบด้าน
6. การตัง้ ชื่อเรือ
่ งต้องทันสมัยและน่าสนใจ
การทาบัญชีคาร์บอน
Accounting
Carbon Footprint
การวัดการเกิดก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ สามารถทาได้ คอื
• การใช้ ไฟฟ้าของโรงเรียน
• การใช้ นา้ มันเชื้อเพลิง และการเดินทาง
• ขยะของโรงเรียน
• การใช้ ผลิตภัณฑ์ อนื่ ๆ
โดยประเมินเป็ นปริมาณของ
ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์
1. วัดจากการใช้นามั
้ นเชื้อเพลิงโดยตรง
•การเผาไหม้ของน้ามันเชื้อเพลิง เช่นจากการ
ใช้รถยนต์
• การใช้เชื้อเพลิงในการทาให้ได้ไฟฟ้าโดยตรง
เช่น การใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าของโรงเรียน
• การเดินทางของ ครู บุคลากรของโรงเรียน
นักเรียน เพื่อมาคานวณหาค่าเฉลี่ย
• การเดินทางที่ขึ้นตรงต่อโรงเรียน เช่น รถตู้
ของโรงเรียน รถบัสของโรงเรียน
2. วัดจากการใช้ไฟฟ้า
ส่วนใหญ่การเกิดก๊าซ CO2 โดยทางอ้อมจะมา
จากการใช้ไฟฟ้า ที่มาจากสายส่ง หรือไฟฟ้าที่
ซื้อมานั่นเอง โดยค่าเฉลี่ยของก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ทเี่ กิดจากการใช้ไฟฟ้า
ของประเทศไทยต่อหน่วย (กิโลวัตต์-ชั่วโมง)
อยู่ที่ 0.5 กิโลกรัมของคาร์บอนไดออกไซด์
(EGAT2007) ขึ้นอยู่กับเชื้อเพลิงที่ใช้ในการ
ผลิตไฟฟ้า
3. ที่มาอื่นๆ ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
• การเดินทางของพ่อค้า แม่ค้า กรณีมีการซื้อหรือ
เลี้ยงอาหาร
• การใช้ก๊าซหุงต้ม เพื่อประกอบอาหารของโรงเรียน
• การเดินทางของผู้ปกครองนักเรียน
• การเกิดก๊าซมีเทน จากขยะในโรงเรียน (สามารถ
ประเมินเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้)
• การจัดกิจกรรมนอกโรงเรียน เช่นการพานักเรียนไป
ทัศนศึกษา (การขึ้นรถ ลงเรือ )
• การคานวณหาคาร์บอนที่มาจาก วัสดุสิ้นเปลืองต่างๆ
อุปกรณ์เครื่องใช้ เฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ ถ้าหาได้
4. การขยายผลสู่โรงเรียนใกล้เคียงและชุมชน
การทางานร่วมกับหน่วยงานอืน
่ เช่น ร่วมกับอาเภอ
ชุมชน หรือโรงเรียนอืน
่ ๆ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
อนุรักษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม ฯลฯ หรือทาในรูปของ
ภาคีเครือข่ายต่างๆ
การเผยแพร่ความรูด
้ า้ นการอนุรก
ั ษ์พลังงานและ
สิ่งแวดล้อมสูช
่ ม
ุ ชน
แผนที่เส้นทางสู่การเป็น
สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน
1. จัดตั้งคณะทางาน จัดทาและประกาศนโยบาย
• ได้คนทางาน
• บุคลากรมีความเข้าใจ มีวิสัยทัศน์และเป้าหมายร่วม
• ได้ตัวแทนเข้ามาร่วมกระบวนการ
การจัดตั้งคณะทางานและสร้างทีมงาน
• แต่งตัง้
• ให้แต่ละฝ่าย/แผนกคัดเลือกส่งตัวแทน
• เปิดรับสมัคร
www.adeq.or.th
จัดตั้งคณะทางานตามประเด็นทีจ
่ ะทา
• คณะทางานอนุรก
ั ษ์พลังงาน
• คณะทางานอนุรก
ั ษ์นา้
• คณะทางานจัดการขยะ
• ฯลฯ
จัดตั้งคณะทางานตามหน้าทีท
่ จ
ี่ ะทา
• คณะทางานด้านการจัดกิจกรรมรณรงค์
• คณะทางานด้านการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี
• คณะทางานหลักสูตรและการเรียนการสอน
• ฯลฯ
www.adeq.or.th
ผู้อานวยการ
มูลนิธิ, สมาคม
ต่ างๆ
นโยบายและ
แผน
งานนโยบายและ
แผน การติดตาม
ประเมินผลการ
ดาเนินงานตาม
แผน ฯลฯ
วิชาการ
พัฒนาหลักสูตร
วัดและประเมินผล
การจัดการเรี ยนรู้
งานพัฒนาสื่อ
นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีทางการ
ศึกษา ฯลฯ
ศูนย์ และองค์ กร
เครือข่ ายต่ างๆ
บริหารทั่วไป
อาคารสถานที่
ยานพาหนะ
พัสดุ จัดซือ้
บัญชี การเงิน
ประชาสัมพันธ์
ฯลฯ
บริหารกิจการ
นักเรียน
งานสามะโน
นักเรี ยน กิจกรรม
นักเรี ยน งาน
ส่ งเสริมวินัย
คุณธรรมและ
จริยธรรม กีฬาสี
ฯลฯ
พัฒนาคุณภาพ
การศึกษาวิจัย
งานวิจัยเพื่อ
พัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
งานประกัน
คุณภาพ
การศึกษา ฯลฯ
คณะทางานอนุรก
ั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม โรงเรียน...
คณะกรรมการอานวยการด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่ งแวดล้อม
คณะกรรมการสนับสนุน
นโยบายและแผน
ประชาสัมพันธ์
คณะกรรมการดาเนินงาน
การใช้พลังงาน
การใช้น้ าและน้ าทิ้ง
การจัดการขยะ
การมีส่วนร่ วมของบุคลากร
สภาพแวดล้อมและภูมิทศั น์
หลักสูตรและการเรี ยนการสอน
คุณภาพอากาศในโรงเรี ยน
คณะกรรมการติดตามและประเมินผล
2. เข้ารับการฝึกอบรมที่ศน
ู ย์รวมตะวัน
เพื่อเรียนรูเ้ กี่ยวกับ...
•การอนุรก
ั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม
•แนวทางในการสารวจการรัว
่ ไหลในการใช้พลังงานและ
ทรัพยากรอื่นๆ
•การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการมีสว
่ นร่วมในการอนุรก
ั ษ์
พลังงานและสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน
•Roadmap สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน
•การทางานเป็นทีม
•รู้จัก/แลกเปลีย
่ นเรียนรูก
้ ารดาเนินงานของแต่ละโรงเรียน
และห้ามพลาด ในการเข้าร่วมกิจกรรม
การประชุมปฏิบต
ั ก
ิ าร การจัดทาแผนปฏิบต
ั ก
ิ ารอนุรก
ั ษ์
พลังงานและสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน  เดือนกรกฎาคม
การประชุมชี้แจงแนวทางในการกรอกแบบประเมิน
มาตรฐานสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน  เดือนกันยายน
และ...
กิจกรรมพลังงานสัญจร (Energy Road show) 10 ครั้ง
สาหรับโรงเรียนทีเ่ ข้าร่วมโครงการสถานศึกษาดีเด่นด้าน
พลังงาน (เงื่อนไข  ต้องเป็นโรงเรียนที่สง่ แผนฯ ปฏิบต
ั ก
ิ าร
การอนุรก
ั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อมของโรงเรียน มายัง
กฟน. หรือ สพส. แล้วเท่านั้น)
3. สารวจข้อมูลด้านการใช้พลังงานในโรงเรียน
• ได้ข้อมูลการใช้พลังงานในโรงเรียน
• รู้ปัญหาเกีย
่ วกับการใช้พลังงานของโรงเรียน
• ปัญหาทางด้านเทคโนโลยี
• ปัญหาด้านการบารุงรักษา
• ปัญหาเกีย
่ วกับการใช้พฤติกรรมการใช้
• รู้ศักยภาพและแนวทางในการดาเนินงาน ทาให้
วางแผนได้ตรงประเด็น
แนวทางการสารวจข้อมูลพลังงาน
• กาหนดขอบเขตและขัน
้ ตอนการเก็บข้อมูลทางด้านพลังงาน
•จัดทา Flow-Chart, แบบฟอร์มสารวจการรัว
่ ไหลและสูญเสีย
•เก็บข้อมูลการใช้พลังงาน: ปริมาณ (ตรวจสอบบิลค่าไฟ
ย้อนหลัง) และรูปแบบการใช้ (ปิดเทอมและเปิดเทอมในและ
นอกเวลาทาการ) การสูญเสียและรัว
่ ไหล
• วิเคราะห์ข้อมูล: หาแนวทางในการจัดการ กาหนดเป้าหมาย
สารวจการใช้และรัว
่ ไหลสูญเสีย
• ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ
• ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
• เครื่องใช้ไฟฟ้าอืน
่ ๆ
• ยานพาหนะ
อย่าลืม ! ต้อง
สารวจทัง้
โรงเรียน
• สารวจทางด้านเทคโนโลยี
• พฤติกรรมการใช้ และ
• การบารุงรักษา
แบบสารวจปริมาณการใช้ ไฟฟ้า (นา้ มันเชื้อเพลิง, นา้ , ปริมาณขยะ)
เดือน
ปริมาณการใช้ (kWh)
ค่ าไฟ (บาท)
รายละเอียดการใช้
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
สิ งหาคม
กันยายน
เปรี ยบเทียบระหว่างเปิ ด-ปิ ดภาคการศึกษา, ในเวลางานและนอกเวลางาน วันหยุด
รถยนต์และการเดินทาง
• ทางเลือกในการเดินทาง
• ชนิดของรถยนต์
• พฤติกรรมการใช้
• การบารุงรักษา
• มาตรการตรวจสอบการใช้
น้ามันของรถโรงเรียน
4. นาเสนอข้อมูล
• ข้อมูลถูกจัดอย่างเป็นระบบ
• บุคลากรและนักเรียนได้รข
ู้ อ
้ มูลการใช้พลังงานของโรงเรียน
5. ร่วมกันจัดทาแผนปฏิบัติการอนุรักษ์
พลังงานและสิ่งแวดล้อม (พลังงาน น้า ขยะ)
6. ช่วยกันปฏิบัตต
ิ ามแผนฯ
อย่าลืม !!! ประชาสัมพันธ์ก่อนการดาเนินการทุกครัง้
7. ประเมินผลการดาเนินงานและปรับปรุงแก้ไข
• ตรวจสอบการดาเนินงาน
• จัดประชุมคณะทางาน เพื่อติดตามความก้าวหน้า
• จัดแสดงความก้าวหน้าของการดาเนินงานด้วยกราฟ
ตารางรูปภาพหรือวิธก
ี ารอืน
่ ๆ
• ปรับปรุงแนวทางการดาเนินงาน
• รักษามาตรฐาน
•จัดทา Check List เพื่อตรวจสอบ
การดาเนินงานอย่างต่อเนือ
่ ง
•ขอคาแนะนาจากหน่วยงานที่
ดาเนินงานด้านการอนุรก
ั ษ์พลังงาน
8. กรอกแบบประเมินมาตรฐานฯ และ
เตรียมพร้อมสาหรับการตรวจประเมินในพืน
้ ที่
โดยการประเมิน...
• เน้นทีก
่ ารให้ความรูแ
้ ละแนวทางในการดาเนินงาน เพื่อให้โรงเรียน
สามารถดาเนินงานด้านการอนุรก
ั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อมได้อย่างเป็น
รูปธรรม
• เน้นทีค
่ วามมุง่ มัน
่ และความตัง้ ใจของโรงเรียนในการดาเนินงานด้านการ
อนุรก
ั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อมอย่างเป็นระบบและเป็นองค์รวมอย่าง
ต่อเนือ
่ ง มากกว่าทีจ
่ ะเน้นการวัดเชิงปริมาณ
โรงเรียนที่ผา่ นการประเมินได้รบ
ั โล่และเงินรางวัล
สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้ อม
ศูนย์รวมตะวัน
สมาคมพัฒนาคุณภาพสิง่ แวดล้อม
โทร 02-800-2424
http://www.adeq.or.th
ค่ายฝึกอบรม “คณะทางานรักษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม”
โครงการสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน
สนับสนุนโดยการไฟฟ้านครหลวง