มโนภาพ(Mental imagery)

Download Report

Transcript มโนภาพ(Mental imagery)

มโนภาพ
(Mental imagery)
โดย
พระมหาเผือ
่ น
กิตฺตโิ สภโณ
• ทีบ
่ านท
านมี
หน้าตางกี
บ
่ าน
้
่
่
• ในห้องนอนทานมี
เฟอรนิ
่ น
้ิ
่
์ เจอรกี
์ ช
• ปูมก
ี ข
ี่ า
• มโนภาพ(Mental imagery)คือ ความสามารถใน
การสรางโลกแห
งประสาทสั
มผัสใหมอี
้
่
่ กครัง้ โดยไม่
ตองมี
ส่ิ งเราทางกายภาพ(Physical
stimuli) คนเรามี
้
้
ความสามารถทีจ
่ ะจินตนาการถึงประสบการณ ์
เกีย
่ วกับรส กลิน
่ และกายสั มผัส
ความเป็ นมาของการศึกษามโน
ภาพ
• วิลเฮม แมกซ ์ วุนตตั
์ ง้ สมมติฐานวา่ ภาพ(images)เป็ น
องคประกอบพื
น
้ ฐานของการมีสติระลึกรู้
์
(Consciousness) การสั มผัส(Sensation)และความรูสึ้ ก
(Feeling) วุนตยั
า่ ภาพเกีย
่ วของกั
บความคิด
์ งกลาวว
่
้
การศึ กษาภาพเป็ นวิธห
ี นึ่งเป็ นในการศึ กษาความคิด
แนวคิดนี้เชือ
่ มโยงกันระหวางจิ
่ นตนาการและความคิดซึง่
เกิดจากการอภิปรายเรือ
่ งความคิดโดยปราศจากภาพกับ
นักจิตวิทยาบางคนทีถ
่ อ
ื ตามของอริสโตเติลทีก
่ ลาวว
า่
่
“เป็ นไปไมได
ค
่ วามคิดจะปราศจากภาพ” กับบางคน
่ เลยที
้
ทีม
่ องวา่ ความคิดสามารถเกิดขึน
้ ไดโดยไม
จ
้
่ าเป็ นตองมี
้
ภาพ
• แนวคิดทีว่ า่ ภาพไมใช
่ ่ สิ่ งจาเป็ นสาหรับความคิดคือการ
สั งเกตของเซอร ์ ฟรานซิส กัลป์ตัน(1883)ทีส
่ ั งเกตพบวา่
มโนภาพและวิวฒ
ั นาการความคิด
(Imagery and Cognitive
revolution)
• การศึ กษาจิตวิทยาการรูคิ
้
้ ดและปัญญาทีเ่ กิดขึน
ในช่วงปี 1950-1960 เป็ นทีร่ จั
่ การ
ู้ กในชือ
เปลีย
่ นแปลงครัง้ ใหญทางการรู
่
้ คิด และปัญญา
(Cognitive revolution) หนึ่งในการเปลีย
่ นแปลงที่
สาคัญคืองานของอลัน พาอิวโิ อ(Alan Paivio,
1963) ทีพ
่ บหาวิธใี นการวัดพฤติกรรมทีส
่ ามารถ
นาไปใช้ในเพือ
่ อนุ มานกระบวนการรู้ คิด ตัวอยาง
่
หนึ่งคือการทดลองทีค
่ ้นพบวา่ การจดจาคานามที่
เป็ นรูปธรรม เช่น รถ บาน
ตนไม
้
้
้ ซึง่ เป็ นสิ่ งที่
สามารถจินตนาการถึงไป สามารถทาไดง้ ายกว
า่
่
การจดจาคานามทีเ่ ป็ นนามธรรม เช่น ความจริง
ความยุตธิ รรม ซึง่ เป็ นเรือ
่ งทีย
่ ากในการจินตนาการ
วิธก
ี ารดังกลาวนี้ เรียกวา การเรียนรูแบบเชือ
่ มโยง
การเรียนรูแบบเชื
อ
่ มโยงกันเป็ นคู่
้
ในการทดลองการเรียนรูแบบเชื
อ
่ มโยงกันเป็ นคู่ ผู้ถูก
้
ทดลองจะถูกให้มองคาศั พทที
่ ก
ู นาเสนอเป็ นคูเช
่ ่น
์ ถ
เรือ-ความเกลียด
รถ-บาน
จากนั้น ผู้ทดลองจะ
้
ขานคาศั พทค
้
์ าแรกเช่น ซึง่ ผู้ถูกทดลองตองตอบ
คาศั พทที
เช่น เมือ
่ ผู้ทดสอบขาน
่ นให้ถูกตอง
้
์ เ่ ป็ นคูกั
คาวา่ เรือ ผู้ถูกทดลองตองตอบว
า่ ความเกลียด
้
• จากการทดลองพบวา่ ผู้ถูกทดลองสามารถจดจาคู่
คาศั พทที
้ กวาค
่ าศั พทที
์ เ่ ป็ นรูปธรรมไดดี
์ เ่ ป็ นนามธรรม
ทาให้พาอิวโิ อสรางสมมติ
ฐานหมุดทางความคิด
้
(Conceptual peg hypothesis) ซึง่ อธิบายวา่
คาศั พทที
ค
่ าอืน
่
้
์ เ่ ป็ นรูปธรรมเป็ นจะสรางภาพที
สามารถเชือ
่ มติดกันได้
• ปี 1971 โรเจอร ์ เชพเพิรตและเจ.
เมตสเลอร ์
์
(Rogers Shapperd & J. Metzler) ไดอนุ
้ มาน
กระบวนการรู้ คิดและปัญญาโดยการใช้การวัดเวลา
ทางความคิด(Mental chronometry)เพือ
่ หาเวลาที่
จาเป็ นสาหรับการรองรับงานทางความคิด(Cognitive
task) โดยผู้ถูกทดลองจะตองดู
ภาพสองภาพทีร่ ป
ู ทรง
้
• การทดลองของเชพเพิรตและเมตสเลอร
พบว
า่ ยิง่
์
์
รูปทรงของภาพแตกตางกั
นเทาใด
เวลาทีใ่ ช้ในการ
่
่
ตอบก็จะยิง่ นานขึน
้ ซึง่ ตีความไดว
้ า่ ผู้ถูกทดลอง
ตองใช
่ เปรียบเทียบวา่
้
้เวลาในการหมุนภาพเพือ
รูปทรงของภาพทัง้ สองตรงกันหรือไม่ งานวิจย
ั ถือได้
วาเป็
ั ชิน
้ แรกทีใ่ ช้วิธก
ี ารทางปริมาณ
่ นงานวิจย
(Quantitative method)เพือ
่ ศึ กษาจินตนาการและ
ชีใ้ ห้เห็ นวาจิ
่ นตนาการและการรับรูอาจใช
้
้กลไก
รวมกั
น
่
มโนภาพกับการรับรู้
• จากการทดลองหลายครัง้ สตีเฟน กอสส์ลิน(Stephen
Kosslyn) ไดสร
วา่ จินตนาการและการรับรูมี
้ างทฤษฎี
้
้
ความคลายคลึ
งกัน
้
• ในการทดลองกอสลินไดขอให
้
้ผูถู
้ กทดลองจดจาภาพ
เช่น ภาพเรือ จากนั้น ให้สรางมโนภาพของวั
ตถุในใจ
้
จากนั้นให้เพงความสนใจไปยั
งส่วนตางๆของวั
ตถุน้น
ั
่
่
จากนั้น ผู้ทดลองจะถามวา่ มีวต
ั ถุตางๆอยู
ตรงบริ
เวณ
่
่
นั้นหรือไม่ ถาผู
ั ใน
้ ้ถูกทดลองมองเห็ นวัตถุน้น
จินตนาการให้กดปุ่ม จริง ถามองไม
เห็
้
่ นให้กดปุ่ม ไม่
จริง
• กอสลินไดให
้ ้คาอธิบายวา่ ถาจิ
้ นตนาการและวัตถุ
เหมือนกันในแงเกี
่ วของกั
บพืน
้ ที(่ spatial) ผู้ถูกทดลอง
่ ย
้
ควรใช้เวลามากขึน
้ หากวัตถุอยูห
ดเริม
่ ต้นออกไป
่ างจากจุ
่
ซึง่ ในการทดลองกอสลินพบวาเป็
่ นเช่นนั้น
• เพือ
่ ทีจ
่ าตอบปัญหาดังกลาวกอสลิ
นและคณะไดท
่
้ า
การทดลองโดยให้ผู้ถูกทดลองจดจาภาพเกาะทีม
่ ี
สถานที่ 7 แหง่ จากนั้นให้ผู้ถูกทดลองจินตนาการ
วาก
่ นึ่งไปยังอีกทีห
่ นึ่ง การ
่ าลังเดินทางจากทีห
ทดลองนี้ให้ผลเช่นเดียวกับการทดลองครัง้ แรกคือ
หากสถานทีส
่ องแหงห
น ผู้ถูกทดลองจะใช้เวลา
่ างกั
่
ในการสแกนหานานกวาพื
้ ทีท
่ อ
ี่ ยูใกล
กั
่ น
่
้ น ซึง่ เป็ น
การสนับสนุ นแนวคิดทีว่ า่ มโนภาพนั้นเป็ นเรือ
่ ง
เกีย
่ วกับพืน
้ ที่
• แมกอสลิ
นจะสรุปวา่ งานวิจย
ั ของเขาชีว้ า่ การ
้
จินตนาการเกีย
่ วของกั
บการเป็ นตัวแทนของพืน
้ ที่
้
(Spatial representation) แตพิ
ิ น
ิ (Pylyshyn,
่ ลช
1973)เห็ นแยงว
การทีจ
่ น
ิ ตนาการเกีย
่ วของกั
บ
้ า่
้
พืน
้ ที่ ไมได
า่ สิ่ งทีเ่ ป็ นตัวแทนทัง้ หมด
่ หมายความว
้
เกีย
่ วกับพืน
้ ที่ นอกจากนี้งานวิจย
ั ทางดานจิ
ตวิทยา
้
การรูคิ
กรู้
้ ดและปัญญาส่วนใหญชี
่ ว้ า่ เราไมได
่ ระลึ
้
(aware)ตลอดเวลาวามี
้ ในใจของเรา พิ
่ อะไรเกิดขึน
ลิชน
ิ เรียก จินตนาการทีเ่ กีย
่ วกับพืน
้ ทีว่ า่
epiphenomenon ซึง่ หมายถึง บางสิ่ งทีเ่ กีย
่ วข้องกับ
กลไกการเกิดจินตนาการ แตความจริ
งแลวไม
ได
่
้
่ ้
เป็ นส่วนหนึ่งของกลไกนั้น
• ตัวอยางของอิ
พเิ ฟนอมินอน เช่น ไฟทีเ่ คสคอมพิวเตอร ์
่
ทีก
่ ระพริบถีๆ่ เวลาทีค
่ อมพิวเตอรก
ก
์ าลังทางานอยางหนั
่
แมไฟกระพริ
บดังกลาวจะเป็
นตัวบอกวาคอมพิ
วเตอรก
้
่
่
์ าลัง
ทางานอยางหนั
ก แตก็
ว
ท
่ าอยู่
่
่ ไมสามารถบอกได
่
้ างานที
่
นั้นคืออะไร และแมว
บดังกลาวออก
้ าจะเอาไฟกระพริ
่
่
คอมพิวเตอรก็
์ ยงั สามารถทางานไดอยู
้ ดี
่
• พิลช
ิ น
ิ ไดเสนอว
า่ กลไกทีจ
่ าเป็ นตอการจิ
นตนาการคือ
้
่
สิ่ งทีเ่ รียกวา่ การสรางตั
วแทนในรูปของประพจน์
้
(Propositional representation) ซึง่ หมายถึง
ความสั มพันธที
่ ก
ู ทาให้เป็ นตัวแทนดวยสั
ญลักษณที
์ ถ
้
์ เ่ ป็ น
นามธรรม อยางเช
่
่ น สมการ หรือคาพูด เช่น “แมว
อยูใต
่ โต
้ ๊ ะ”
• ตรงกันขาม
Spatial representation เกีย
่ วของกั
บการ
้
้
• ตามทัศนะของพิลช
ิ น
ิ จินตนาการคือการสรางตั
ว
้
แทนทีเ่ ป็ นตัวเชือ
่ มโยงระหวางวั
นไมใช
่ ตถุเขาด
้ วยกั
้
่ ้
การสรางภาพวั
ตถุทม
ี่ ข
ี นาดพืน
้ ที่
้
• อยางไรก็
ตาม แนวคิดของพิลช
ิ น
ิ ถือวาได
ว
่
่
้ าเป็
่ น
เสี ยงส่วนน้อย เนื่องจากนักจิตวิทยาส่วนใหญเชื
่ วา่
่ อ
การจินตนาการเป็ นแบบ Spatial representation
การเปรียบเทียบจินตนาการและ
การรับรู้
• เพือ
่ ทีจ
่ ะศึ กษาขนาดของวัตถุและพืน
้ ทีใ่ นจินตนาการ
กอสลิน(1978) ไดให
้ ้ผู้ถูกทดลองจินตนาการถึงวัตถุ
2 สิ่ ง เช่น ช้างกับกระตาย
อยูใกล
ๆกั
่
่
้ น จากนั้น
ถามวา่ เห็ นหนวดของกระตายหรื
อไม่ และส่วน
่
อืน
่ ๆ โดยสลับไปเรือ
่ ยๆโดยผู้ถูกทดลองตองตอบ
้
คาถามให้เร็วทีส
่ ุด
• ผลการทดลองชีใ้ ห้เห็ นวา่ ส่วนตางๆที
ผ
่ ้ถู
ู กทดลอง
่
ถูกขอให้จินตนาการถึงจะชัดเจนเมือ
่ ถูกขยายเต็ม
พืน
้ ทีก
่ ารมอง
• นอกจากนี้กอสลินยังให้ผู้รับการทดลองจินตนาการ
วา่ หากเดินเขาหาวั
ตถุ(Mental walk task) ตองใช
้
้
้
ระยะหางแค
ไหนภาพจึ
งเต็มพืน
้ ทีก
่ ารมองผลการ
่
่
ความเกี่ยวข้องกันระหว่างมโน
ภาพกับการรับรู้
• ปี 1910 คีเวส เพอรกี
้ าการ
์ (้ Cheves Perky) ไดท
ลองเพือ
่ อธิบายความเกีย
่ วของกั
นระหวางมโนภาพกั
บ
้
่
การรับรู้ โดยมีแนวคิดวา่ หากมโนภาพและการ
รับรูมี
ิ ธิพลตอกั
้ อท
่ นและกันแสดงวาใช
่
้กลไกเดียวกัน
ในการทดลองเพอกีไ้ ดให
้ ้ผู้ถูกทดลองมองภาพสร้าง
มโนภาพวัตถุตางๆ
เช่น กลวย
บนจอ
่
้
ขณะเดียวกันเพอกีก
้ ็ไดฉายแสงทึ
มของภาพนั้น
้
เช่นกัน
• ทีน
่ ่ าสนใจคือ คาอธิบายเกีย
่ วกับวัตถุในมโนภาพ
ของผู้รับการทดลองตรงกับภาพแสงทึมๆทีเ่ พอกี
้ าย
้ ฉ
เช่น อยูในแนวตั
ง้ เหมือนกัน ทีน
่ ่ าสนใจยิง่ ไปกวา่
่
คือผู้ถูกทดลองทัง้ 24 คนไมมี
่ ใครทราบเลยวา่ มี
• งานวิจย
ั ของมาธา ฟารา(Matha Farah,1983) ได้
แสดงให้เห็ นถึงการมีอท
ิ ธิพลตอกั
บรู้
่ นระหวางการรั
่
และมโนภาพ โดยฟาราไดขอให
้
้ผู้รับการทดลอง
สรางมโนภาพตั
วอักษร H หรือ T บนจอ เมือ
่
้
จินตนาการชัดเจนแลวให
้
้กดปุ่มซึง่ จะสรางแสงแฟรช
้
เป็ นรูปสี่ เหลีย
่ มจตุรส
ั สองอัน หนึ่งในเส้นฉาก
ประกอบดวยอั
กษรเป้าหมายซึง่ เป็ นไดทั
้
้ ง้ H หรือ T
หน้าทีข
่ องผู้รับการทดลองอยูในแสงแฟรชครั
ง้ ที่ 1
่
หรือครัง้ ที่ 2
• ผลการทดลองพบวา่ ถูกตรวจจับไดถู
า่
้ กตองมากกว
้
เมือ
่ ผู้รับการทดลองจินตนาการตัวอักษรเดียวกัน
มากกวาตั
่
่ วอักษรอืน
มโนภาพกับสมอง
Imagery and Brain
นิวรอนทีเ่ กีย
่ วกับมโนภาพและ
สมอง
• การศึ กษาของเกเบรียล เครยแมน(Grabial
์
Kreiman)ทีท
่ าในผู้ป่วยโรคลมชักทีฝ
่ ังอิเลคโทรดเพือ
่
หาแหลงที
่ เ่ ป็ นสาเหตุของโรค พบวา่ นิวรอน
หลายๆตัวตอบสนองตอวั
ไม
่ ตถุบางอยางแต
่
่ ตอบสนอง
่
ตอวั
เช่น นิวรอนบางตัวตอบสนองตอ
่ ตถุบางอยาง
่
่
ภาพลูกเบสบอล แตไม
อภาพหน
่ ต
่ อสนองต
่
่
้ าคน แม้
ในยามหลับตาก็ตาม เครยแมนเรี
ยกนิวรอนเหลานี
่ ้
์
วา่ นิวรอนเกีย
่ วกับมโนภาพ(Imagery neuron)
การสรางภาพสมอง(Brain
้
imaging)
• ตัง้ แตต
1990 เป็ นตนมา
มีงานวิจย
ั มากมายที่
่ นปี
้
้
ทาการทดลองโดยสรางภาพการท
างานของสมอง
้
โดยใช้เครือ
่ ง PET scan(Positron emission
tomography) หรือ fMRI(Functional magnetic
resonance imaging) เช่นงานวิจย
ั ของเลบิฮันและ
คณะ(LeBihan and coworkers (1993)ทีพ
่ บวา่
การทางานบริเวณสมองส่วนcortex เพิม
่ มากขึน
้ เมือ
่ ผู้
ถูกทดลองคิดหรือจินตนาการ
• แมการสร
างภาพการท
างานของสมองจะบอกเราวา่
้
้
การรับรูและมโนภาพมี
ใช้กลไกการทางานเดียวกัน
้
แตก็
่ อาจเป็ นเพียง epiphenomenon ตามแนวคิด
ของพิลช
ิ น
ิ คือบอกไดว
ิ กรรมบางอยางเกิ
ดขึน
้
้ า่ มีกจ
่
เทานั
ไดอย
ดเจนวา่ มโนภาพ
่ ้น แตไม
่ อาจระบุ
่
้ างชั
่
เป็ นผลมาจาการทางานของสมองส่วนดังกลาว
ดวย
่
้
เหตุนี้ สตีเฟน กอสลินและคณะ(1999)จึงไดท
้ าการ
ทดลองโดยใช้เทคนิคทีเ่ รียกวา่ transcranial
magnetic stimulation (TMS) ซึง่ เป็ นการส่ง
สนามแมเหล็
กรบกวนสมองส่วนตางๆเพื
อ
่ ดูกระทบ
่
่
การทดลองพบวา่ การรบกวนสมองส่วนvisual
cortex ส่งผลให้การทางานช้าลงทัง่ ในดานรั
บรู้และ
้
การสรางมโนภาพ นอกจากยังสนับสนุ นวา สมอง
กรณีศึกษาทางประสาทจิตวิทยา
• คนไขหญิ
งชือ
่ M.G.S.
้
ไดรั
้ บการผาตั
่ ดเอาส่วน
หนึ่งของสมองส่วน
occipital lope ดานขวา
้
ออกเพือ
่ รักษาโรคลมชัก
อยางขั
น
้ รุนแรง หลัง
่
การผาตั
่ ดพบวาระยะ
่
การมองเห็ นวัตถุเต็มตัว
เปลีย
่ นแปลงในมโนภาพ
ของเธอเปลีย
่ นแปลงจาก
15ฟุต เป็ น 35 ฟุต
ปัญหาดานการรั
บรูที
่ วของกั
บ
้
้ เ่ กีย
้
ปัญหาดานการสร
างมโนภาพ
้
้
• งานวิจย
ั จานวนมากพบวา่ คนไขที
่ มองเสี ยหาย
้ ส
มักจะมีปญ
ั หาดานการรั
บรูและการสร
างมโนภาพ
้
้
้
ตัวอยางเช
่ ญ
ู เสี ยความสามารถในการ
่
่ นคนทีส
มองเห็ นสี เกิดเพราะสมองเสี ยหายจะสูญเสี ย
ความสามารถในการสรางมโนภาพเป็
นสี เช่นเดียวกัน
้
• คนไขที
่ มองส่วนparietal lope เสี ยหายจะสูญเสี ย
้ ส
ความสามารถในการมองเห็ นอีกครึง่ หนึ่งของภาพที่
มองเห็ นทีเ่ รียกวา่ Unilateral neglect
• E. Bisiach and G. Luzzatti (1978) ไดศึ
้ กษาการ
สรางมโนภาพของคนที
ม
่ อ
ี าการ neglect พบวา่
้
เขาสูญเสี ยความสามารถในการจินตนาการดานของ
้
ภาพทีเ่ ขามองไมเห็
่ นเดียวกัน ซึง่ เป็ นการยืนยันวา่
ความไมเกี
่ วของกั
นระหวางการ
่ ย
้
่
รับรูและการสร
างมโนภาพ
้
้
• คนไขชื
่ R.M. ซึง่ สมองส่วน occipital และ
้ อ
parietal lope เสี ยหายถือไดว
้ าเป็
่ นกรณีตวั อยางของ
่
การรับรูปกติ
แตมโนภาพเสื
่ อมถอย โดย R.M.
้
่
สามารถรูจั
ี่ ยูต
้ กวัตถุทอ
่ อหน
่
้ าและเขียนภาพไดอย
้ าง
่
ถูกตอง
แตไม
ยนภาพวัตถุจากความทรง
้
่ สามารถเขี
่
จาหรือมโนภาพได้ นอกจากนี้ยงั ประสบปัญหาทีใ่ น
การตอบคาถามทีต
่ องมโนภาพเช
้
่ น “องุนกั
่ บส้ม อัน
ไหนลูกใหญกว
่ ากั
่ น”
• กรณีตรงกันขาม
เช่น คนไขชื
่ C.K. เป็ น
้
้ อ
นักศึ กษาปริญญาโททีถ
่ ก
ู รถชนขณะวิง่ ออกกาลังกาย
มีปญ
ั หา visual agnosia คือ บอกไมได
่ ว
้ าวั
่ ตถุท ี่
อยูต
่ อหน
่
้ าเขาคืออะไร แตเขาสามารถวาดภาพจาก
่
การใช้มโนภาพในการ
เพิ่มความสามารถใน
การจา
Method of Loci
• วิธก
ี ารดังกลาวนี
้เกิดจากตานานกรีกเมือ
่ 2,500ปี
่
กอนว
า่ ซิโมนิเดส(Simonides) กวีชาวกรีกไดรั
่
้ บ
เชิญให้ไปทานอาหารคา่ และเกิดอุบต
ั เิ หตุหลังคาพัง
ลงมาทับแขกทีร่ วมงานเสี
ยชีวต
ิ มายทาให้ยากลาบาก
่
ในการแยกแยะวาผู
่ ้ตายเป็ นใคร ซิโมนิเดสไดใช
้ ้
วิธก
ี ารจาแนกวาผู
่ ้ตายเป็ นใครจากการสรางมโนภาพ
้
เกีย
่ วกับตาแหน่งทีน
่ ่งั รอบโต๊ะอาหารทีผ
่ ้ตายนั
ู
่ง เป็ น
ทีข
่ องเทคนิคการเพิม
่ ประสิ ทธิภาพการจาโดยสร้าง
มโนภาพสถานทีท
่ เี่ ราคุ้นเคยเช่น บาน
ทีท
่ างาน
้
จากนั้นให้วางภาพสิ่ งทีเ่ ราตองการจ
าไวต
้
้ าแหน่งใด
ตาแหน่งหนึ่งทีง่ ายต
อการจ
า
่
่
เทคนิคภาพกับคา(Pegword
technique)
• เทคนิคนี้คลายกั
บ Method of Loci เพียงแตเปลี
่ น
้
่ ย
จากการจับคูภาพกั
บสถานทีเ่ ป็ นจับคูกั
่
่ บคาทีเ่ ป็ น
รูปธรรมแทน เช่น หนึ่ง-ผึง้ สอง-กลอง
สาม้
ยาม
สี่ -ชี ห้า-ป้า หก-นก เจ็ด-เป็ ด จากนั้นก็
่
สรางจิ
นตนาการวัตถุดงั กลาวกั
บสิ งทีต
่ องการจ
า
้
่
้