001271 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (Man & Environment)

Download Report

Transcript 001271 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (Man & Environment)

มโนทัศนเกี
่ วกับความสั มพันธของ
์ ย
์
มนุ ษยกั
้
์ บสิ่ งแวดลอม
1. ความสาคัญของโลกทีเ่ ป็ นทีอ
่ ยูของ
่
มนุ ษย ์
2. สิ่ งแวดลอมคื
ออะไรมีความสาคัญ
้
อยางไร
่
3. ความสั มพันธระหว
างมนุ
ษยกั
่
์
์ บ
สิ่ งแวดลอม
้
4. ความสาคัญของระบบนิเวศน์
5. การพัฒนาประเทศ
การบาน
คะแนนเดีย
่ ว 5% ส่วนของอ.
้
ประสิ ทธิ ์
ส่งวันอังคารที่ 6 พ.ย. 55 ตอนทายชั
ว
่ โมง
้
ให้นิสิต เตรียมกระดาษ A4 คนละ 2
แผน
่ ง
่ ให้วาดรูปในหัวขอเรื
้ อ
“สิ่ งแวดลอมที
บ
่ านของฉั
น” และ เขียน
้
้
บรรยายวาสิ
บ
่ านของฉั
นมี
่ ่ งแวดลอมที
้
้
อะไรบาง
้
รวมถึงอธิบายกลไกความสั มพันธของ
์
ระบบนิเวศนของท
านว
างมี
ความสั มพันธ ์
่
่
์
จงอธิบายองคประกอบของระบบนิ
เวศของ
์
นิสิต
จงอธิบายองคประกอบของระบบนิ
เวศของ
์
นิสิต
1. องคประกอบที
ไ่ มมี
ิ
่ ชวี ต
์
1. อนินทรียสาร
์
2. อินทรียสาร
์
3. สภาพแวดลอมทางกายภาพ
้
2. องคประกอบที
ม
่ ช
ี วี ต
ิ
์
จงอธิบายองคประกอบของระบบนิ
เวศของ
์
นิสิต
1. องคประกอบที
ไ่ มมี
ี ต
ิ
่ ชว
์
2. องคประกอบที
ม
่ ช
ี ว
ี ต
ิ
์
1.
2.
ผู้ผลิต
ผู้บริโภค
1. ผู้บริโภคขัน
้ ปฐมภูม ิ
2. ผู้บริโภคขัน
้ ทุตย
ิ ภูม ิ
้ ตติยภูม ิ
3. ผู้บริโภคขัน
3. ผู้ยอยสลาย
่
จงอธิบายองคประกอบของระบบนิ
เวศของ
์
นิสิต
การถายทอดพลั
งงานในระบบนิเวศ
่
(Energy Transfer)
การถายทอดพลั
งงานในระบบนิเวศ
่
(Energy Transfer)
ชีวต
ิ และระบบสนับสนุ นชีวต
ิ
ชีวต
ิ ดารงอยูบนโลกนี
้ได้ ตองอาศั
ย
่
้
 การไหลเททางเดียวของพลังงานคุณภาพสูง
(the one-way of high quality (unable)
energy)
 การหมุนเวียนสสาร (the cycling of
matter)
 แรงโน้มถวงของโลก
(gravity)
่
• ทีท
่ าให้ชัน
้ บรรยากาศยังคงเคลือบคลุมโลก
ชีวต
ิ และระบบสนับสนุ นชีวต
ิ
พระอาทิตย:์ แหลงพลั
งงานแหลงเดี
่
่ ยว
ของชีวต
ิ
 เป็ นแหลงพลั
งงานสาหรับการสั งเคราะห ์
่
แสง
 เป็ นพลังในการหมุนเวียนสสาร
 เป็ นแรงขับเคลือ
่ นระบบภูมอ
ิ ากาศ
โครงสรางของพระอาทิ
ตย ์
้
• ประกอบดวยไฮโดรเจน
รอยละ
๗๒
้
้
และฮี เลีย
่ ม รอยละ
๒๘
้
ลิขต
ิ ของพลังงานแสงอาทิตย ์
 มีพลังงานจากพระอาทิตย ์ ๑ ส่วนใน ๑
พันลานส
่ ่ งผานมาถึ
งโลกของเรา
้
่ วนเทานั
่ ้น ทีส
่
 รอยละ
๓๔ ของพลังงานจากพระอาทิตยที
้
์ ่
ตกมายังโลกแลวสะท
อนกลั
บออกไปดวยวิ
ธต
ี างๆ
้
้
้
่
 รอยละ
๖๖ ของพลังงานจากพระอาทิตยที
้
์ ่
ตกมายังโลกถูกปรับแปลงไปเป็ นความรอน
้
 รอยละ
๐.๐๒๓ ของพลังงานจากพระ
้
อาทิตยที
่ กมายังโลก ถูกดูดซับไวโดยพื
ชสี
้
์ ต
เขียวและแบคทีเรียบางอยางเพื
อ
่ ใช้ในการ
่
สั งเคราะหแสง
ลิขต
ิ ของพลังงานแสงอาทิตย ์
ลิขต
ิ ของพลังงานแสงอาทิตย ์
วัฏจักรโภชนาการและชีวภูมเิ คมี
 การหมุนเวียนตอเนื
่ าจาก
่ ่องของมวลสารทีม
สิ่ งแวดลอมที
ไ่ มมี
ิ สู่รางของสิ
่ งมีชวี ต
ิ และ
้
่ ชวี ต
่
ยอนกลั
บสู่สิ่ งแวดลอมที
ไ่ มมี
ิ
้
้
่ ชวี ต
 วัฏจักรนี้ถูกขับเคลือ
่ นทัง้ ทางตรงและ
ทางออมโดยรั
งสี พระอาทิตย ์ และแรงโน้มถวง
้
่
ของโลก
 มีวฏ
ั จักรบางอยางที
ข
่ อยกเป็ นตัวอยาง
่
่
• วัฏจักรของอ๊อกซิเจน
• วัฏจักรของคารบอน
์
• วัฏจักรของฟอสฟอรัส
Biogeochemical Cycles: Water Cycle
วัฏจักรอุทกและน้า
วัฏจักรนี้จะทาหน้าทีร่ วบรวม ฟอกให้
สะอาด และกระจายอุปทานน้าไปยังที่
ตางๆ
ทัว่ โลก มีกระบวนการหลัก คือ
่
 การระเหย
ไอน้า
 น้าซึมน้าซับ
(evaporation)
การเปลีย
่ นจากน้าไปสู่
การระเหยของน้าที่
รากไมดู
้ ดซับไวแล
้ วส
้ ่ งไปเกิดการระเหยทีใ่ บ
 การกลัน
่ ตัว (condensation) เปลีย่ นไอน้าเป็ นหยด
น้า
(transpiration)
ทีม
่ าของน้า
 หยาดน้าฟ้า
ลูกเห็ บ
(precipitation)
ไดแก
้ ่ ฝน หิมะ
 น้าทีส
่ ะสมตัวอยูในชั
น
้ ดิน (infiltration) เป็ น
่
การเคลือ
่ นตัวของน้าใตผิ
้ วโลก
 น้าพุ (percolation) เป็ นน้าทีเ่ คลือ
่ นตัวลงผาน
่
ชัน
้ ดินและชัน
้ หิน ไปสู่พืน
้ ทีเ่ ก็บกักน้าใตดิ
้ นลึก
 น้าทา่ (runoff) เป็ นน้าทีไ่ หลลงมาตามพืน
้ ที่
ลาดชันลงไปสู่ทะเล เป็ นจุดเริม
่ ตนของวั
ฏจักร
้
ของน้าตอไป
่
วัฏจักรของน้า
วัฏจักรของน้าไดรั
่ นจาก
้ บการขับเคลือ
พระอาทิตยและแรงโน
้ มถวงของโลก
่
์
 รังสี ของพระอาทิตยส
์ ่ งผลให้เกิดการระเหย
ของน้า
 รอยละ
๘๔ ของความชืน
้ มาจาก
้
มหาสมุทรทีเ่ ป็ นแหลงสะสมน
้าทัง้ มวลทีไ่ หลลงมา
่
จากแผนดิ
่ น
Biogeochemical Cycles: Oxygen Cycle
Biogeochemical Cycles: Carbon Cycle
วัฏจักรคารบอน
์
การเคลือ
่ นตัวของอะตอมของคารบอนที
ป
่ ะปนอยู่
์
ในอากาศและน้าเขาสู
ิ (ผานการ
้ ่ สิ่ งมีชวี ต
่
สั งเคราะหแสงและเมตาบอลิ
สซึม) จนกลายเป็ น
์
ส่วนหนึ่งของพืชทัง้ หลาย อีกทัง้ ยังผานเข
าไปสู
่
้
่
่ ่น
ั คารบอนจะกลายเป็
ห่วงโซ่อาหาร ซึง่ ทีน
นส่วน
์
หนึ่งของเนื้อเยือ
่ ตางๆ
ของสิ่ งมีชวี ต
ิ และ
่
ท้ายทีส
่ ด
ุ อะตอมของคารบอน
ก็จะกลับเขาสู
้ ่
์
สิ่ งแวดลอม
้
Biogeochemical Cycles: Nitrogen Cycle
วัฏจักรของไนโตรเจน
ไนโตรเจนส่วนใหญปนเปอยู
ในอากาศ
(รอย
่
่
้
ละ ๗๘ เป็ นไนโตรเจนไดออกไซด ์ หรือ
N2) แตต
าใจกั
นวา่ พืชทัง้ หลายไม่
่ องเข
้
้
สามารถใช้ไนโตรเจนจากอากาศได้ แตพื
่ ช
จะตองเปลี
ย
่ นไนโตรเจนให้มาอยูในรู
ปของแร่
้
่
ธาตุเสี ยกอนจึ
งจะใช้ได้ (พืชใช้ไนโตรเจนใน
่
รูปของ NH4และ NO3) ซึง่ ก็มแ
ี บคทีเรียหลาย
ชนิด (rhizobium) และไซอะโนแบคทีเรีย
(cyanobacteria) ทีใ่ ช้ไนโตรเจนพวกนี้ ทัง้ นี้
ไนโตรเจนจะเขาไปสูหวงโซอาหารของพืช
Biogeochemical Cycles: Phosphorous Cycle
วัฏจักรของฟอสฟอรัส
ฟอสเฟต (PO4-3) เกิดมาจากหินและแรที
่ ตกหัก
่ แ
จากนั้นฟอตเฟตก็จะละลายน้า ซึง่ ก็มก
ี ารปะปน
สะสมไปสู่สิ่ งมีชวี ต
ิ ตางๆ
ฟอสเฟตทีส
่ ะสมอยูใน
่
่
อินทรียเหล
่ นยายผ
านห
่ ้จะถูกเคลือ
้
่
่วงโซ่
์ านี
ง้
อาหาร ผานไปจากผู
้ผลิตไปองคประกอบทั
่
์
ปวงของสู่ระบบนิเวศ
ซัลเฟอรส
่ กสะสมตามธรรมชาติในรูป
์ ่ วนใหญถู
ซัลไฟดในหิ
นและแร่
์
ซัลเฟอรในบรรยากาศได
มาจากภู
เขาไฟ บึง
้
์
หนอง ทีช
่ ่ ุมน้า และหลมหนอง
ซึง่ เป็ นทีก
่ อ
่
่
มนุ ษยเกิ
้ ไดอย
้ างไร
่
์ ดขึน
วิดท
ิ ศ
ั นก
์ าเนิดโลก จาก The Miracle Planet “เปิ ดบันทึก
โลกมหัศจรรย”์ แผน
่ 2
ตอนที่ 11 ยางก
าวสู
่
้
่ งความเป็ นมนุ ษย ์ นาทีท ี่ 5 ถึง นาที
ที่ 17
วิวฒ
ั นาการของมนุ ษย ์
คุณสมบัตข
ิ องมนุ ษย ์
1. มนุ ษยเป็
่ ระเสริฐ
์ นสั ตวที
์ ป
2. เป็ นสิ่ งมีชวี ต
ิ ทีม
่ ส
ี ติปญ
ั ญาสูง มี
ความสามารถในการจา การคิด การปรับตัว
การเอาตัวรอด การวางแผน รูจั
้ กควบคุมจิตใจ
และอารมณได
ยม
้ มีการสรางขนบธรรมเนี
้
์ ดี
างๆ
วัฒนธรรม มีภาษา มีความสามารถดานต
่
้
รวมถึงสื บทอดเผาพั
กระจายไปทั
ว่ ทุก
่ นธุและแพร
่
์
มุมโลก
คาสอนตามหลักพุทธศาสนา
หลักอริยสั จ 4
1. “ทุกข”์ การมีอยูของทุ
กข ์ เกิด แก่ เจ็บ และตายลวน
่
้
เป็ นทุกข ์ ความเศราโศก
ความโกรธ ความอิจฉาริษยา
้
ความวิตกกังวล ความกลัวและความผิดหวังลวนเป็
นทุกข ์
้
การพลัดพรากจากของทีร่ ก
ั ก็เป็ นทุกข ์ ความเกลียดก็เป็ น
ทุกข ์ ความอยากความยึดมัน
่ ถือมัน
่
2. “สมุทย
ั ” เหตุแหงทุ
นความจริง
่ กข ์ ผู้คนจึงไมสามารถเห็
่
ของชีวต
ิ พวกเขาตกอยูในเปลวเพลิ
งแหงตั
่
่ ณหา ความ
โกรธ ความอิจฉาริษยา ความเศราโศก
ความวิตกกังวล
้
ความกลัว และความผิดหวัง
3. “นิโรจ” ความดับทุกข ์ ความดับทุกข ์ การเขาใจความจริ
ง
้
ของชีวต
ิ นาไปสู่การดับความเศรา้ โศกทัง้ มวล อันยังให้
เกิดความสงบและความเบิกบาน
การพัฒนากับสิ่ งแวดลอม
(Development and
้
Environment)
1.
2.
3.
4.
ทรัพยากร
ประชากร
การใช้ทรัพยากรของแตละคน
่
ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร ์
เทคโนโลยีและระบบเศรษฐกิจ
ตัวอยางปั
ญหาสิ่ งแวดลอมที
ม
่ ผ
ี ลกระทบตอ
่
้
่
สั งคมมนุ ษย ์
โลกมีทรัพยากรจากัดเป็ นสั จธรรม ยิง่ กวานั
่ ้น
ปริมาณของทรัพยากรยังลดลงเรือ
่ ยๆ เพราะเรา
นามาใช้ให้หมดไปอีกดวย
จากวันทีบ
่ รรพบุรษ
ุ ของ
้
มนุ ษยถื
้ มา ประชากรโลกเพิม
่ ขึน
้ อยาง
์ อกาเนิดขึน
่
ตอเนื
ี วา่ 7 พันลานคนแล
ว
่ ่องจนในขณะนี้มก
้
้ แตละ
่
คนใช้ทรัพยากรเพือ
่ ดารงชีวต
ิ นับจากวันทีเ่ รามี
เทคโนโลยีใหมในรู
ปของการรูจั
่
้ กทาเกษตรกรรมแทน
การเก็บของป่าและลาสั
่ ตว ์ เราแตละคนใช
่
้ทรัพยากร
เพิม
่ ขึน
้ ซึง่ แสดงออกมาทางการขยายตัวของเศรษฐกิจ
้ มาเพือ
่ แก้ปัญหา
เทคโนโลยีเป็ นสิ่ งทีเ่ ราคิดคนขึ
้ น
มันมีคุณอนันต ์ แตก็
ั แฝงโทษมหันตมาด
วย
โทษ
่ มก
์
้
บางอยางมองเห็
นไดง้ าย
แตบางอย
างมองไม
ค
น
่
่
่
่
่ อยเห็
่
เช่น เทคโนโลยีนิวเคลียรซึ
์ ง่ สามารถผลิตพลังงานได้
ปัจจัยเหลานี
่ ้ยงั ผลให้มีการแยงชิ
่ งทรัพยากรกัน
อยางกว
างขวางและอย
างเข
มข
้ เรือ
่ ยๆ วิธแ
ี ยงชิ
่
้
่
้ นขึ
้ น
่ ง
กันบางอยางอาจมองเห็
นไดง้ าย
แตบางอย
างอาจมอง
่
่
่
่
ไมค
น เช่น การยึดครองสิ นทรัพยของคนอื
น
่
่ อยเห็
่
์
จากในระดับบุคคลจนถึงระดับประเทศซึง่ นาไปสู่การ
ทะเลาะเบาะแวง้ ความขัดแยง้ สงครามและความฉ้อ
ฉลดวยกลยุ
ทธต
้
์ างๆ
่
การแยงชิ
้ ทัง้ ทีค
่ นส่วนใหญมี
่
่ งเกิดขึน
่ ทุกอยางที
่
รางกายต
องการแล
ว
้ เพราะเราส่วนใหญซึ
่
้
้ มันเกิดขึน
่ ง่
ดความสุขเป็ นจุดหมายในชีวต
ิ คิดไมถึ
ลวนยึ
่ งวา่
้
หลังจากรางกายได
รั
้ งตนแล
ว
่
้ บการตอบสนองเบือ
้
้ การ
ใช้ทรัพยากรเพิม
่ ขึน
้ ทัง้ เพือ
่ การบริโภคในชีวต
ิ ประจาวัน
และเพือ
่ การสะสมวัตถุไมท
่ ขึน
้ ตามไป
่ าให้ความสุขเพิม
การพัฒนากับสิ่ งแวดลอมและคุ
ณภาพ
้
สิ่ งแวดลอมกั
บคุณภาพชีวต
ิ
้
Rachel Carson (1907-1964) เธอ
เป็ นนักวิทยาศาสตร ์ นักนิเวศวิทยา และ
นักเขียน เป็ นบรรณาธิการหนังสื อเกีย
่ วกับ
ทะเลทีข
่ ายดีมากทีส
่ ุดในสหรัฐอเมริกา เมือ
่
ปี ค.ศ.1962 เธอเขียนหนังสื อทีท
่ รงคุณคา่
มากทีส
่ ุดเลมหนึ
่งขึน
้ มา คือ Silent Spring
่
ซึ่ง ถือ เป็ นการช็ อ กวงการมาก เพราะเธอ
เ ส น อ ใ ห้ ค ว่ า บ า ต ร ดี ด ี ท ี แ ล ะ ส า ร ป ร า บ
ศั ต รู พ ืช ชนิ ด อื่น ๆ ที่เ ป็ นอัน ตรายอย่างยิ่ง
หนังสื อ Silent Spring (1962) ของ Rachel
Carson ถูกแปลเป็ นภาษาไทยโดยใช้ชือ
่ เรือ
่ งวา่
เงามฤตยู (บางคนแปลวา่ ฤดูใบไม้ผลิทไี่ ร้เสี ยง
หรือ ฤดูใ บไม้ ผลิท ี่เ งีย บสนิ ท ) โดยคุ ณ หญิง ดิฐ
การภักดี (สายหยุด บุญรัตพันธุ)์ และหมอมวิ
ภา
่
จักรพันธ ์ โรงพิมพคุ
่
์ รุสภาลาดพร้าวพิมพเผยแพร
์
เมือ
่ ปี พ.ศ.2517 และ 2525 หนังสื อเลมนี
่ ้ ไ ดท
้ า
ให้ เกิด ความส านึ ก ในปั ญ หาสิ่ งแวดล้ อมเกิด ขึ้น
อ ย่ า ง ช้ า ๆ แ ล ะ เ ริ่ ม ตื่ น ตั ว ม า ก ขึ้ น ๆ โ ด ย
Carson ระบุ ว่าความก้ าวหน้ าทางการผลิต และ
การค้าซึง่ ผลักดันโดยการพัฒนาทางวิทยาศาสตร ์
Carson ชีว้ า่ สารประกอบจาพวก
Chlorinated Hydrocarbon เช่น DDT ไม่
เพียงแตจะท
าลายแมลงศั ตรูทเี่ ป็ นเป้าหมาย
่
เทานั
ิ ทีเ่ ป็ นประโยชน์
่ ้น แตยั
่ งทาลายสิ่ งมีชวี ต
อืน
่ ๆ ดวย
ซึง่ การทาลายสิ่ งมีชวี ต
ิ ทีไ่ มใช
้
่ ่
เป้าหมายมีดวยกั
นสองลักษณะ คือ 1) เขา้
้
ทาลายสิ่ งทีไ่ มใช
่ ่ เป้าหมายโดยตรง มีการ
ค้นพบวา่ DDT เป็ นพิษตอปลาโดยเฉพาะที
ม
่ ี
่
ขนาดเล็ก (ลูกปลา หรือปลาทีม
่ อ
ี ายุน้อย) ปู
และสั ตวน
่ ๆ และ 2) การเขาท
้ าลายสิ่ งที่
์ ้าอืน
ไมใช
หมายถึง การ
่ ่ เป้าหมายทางออม
้
ตกคางในธรรมชาติไดเป็ นระยะเวลานาน . . .
ธุรกิจทีข
่ าดความรับผิดชอบทัง้ ภายในและ
ภายนอกประเทศ
ความกาวหน
้
้ าของวิทยาศาสตรและ
์
เทคโนโลยี
การเปลีย
่ นแปลงระบบนิเวศนที
่ าดความยัง้
์ ข
คิด