ความคิดหลัก

Download Report

Transcript ความคิดหลัก

การพัฒนาคุณภาพ
กระบวนการคิด
Dr.Bumrung Ngamkarn
วัตถุประสงค์การอบรมสัมมนา (Objective)
• ครูรูแ้ ละเข้าใจระบบของกระบวนการคิดที่เป็ นฐาน
ของกระบวนการคิดอื่น
• ครูมีพ้ นฐานด้
ื
านความคิดที่เป็ นกระบวนการมาก
พอที่จะนาไปต่อยอดฝึ กฝนตนเองให้เป็ นผูท้ ี่มีการคิด
ที่เป็ นกระบวนการ
3 ทฤษฎีที่ครอบความคิดของคนไทย
1. ทฤษฎีชะลอม
2. ทฤษฎีฆ่าวัวทิ้ง- ผลผลิตเพิ่ม
3. ทฤษฎีลกู อมในขวดโหล
ธรรมชาติการคิดของคนทั ่วไป
Being
ความเป็ นตัวเรา
โลกทัศน์
นิสยั
อารมณ์
แรงจูงใจ
กระบวนการคิดที่เป็ นจุดเน้นของกระทรวงฯ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการสร้างความตระหนัก
กระบวนการปฏิบตั ิ
กระบวนการคณิตศาสตร์
กระบวนการเรียน
กระบวนการกลุม่
กระบวนการสร้างเจตคติ
กระบวนการสร้างความรูค้ วามเข้าใจ
กระบวนการคิดที่เป็ นฐาน
กระบวนการสร้างผังความคิด (Mind Map)
กระบวนการระดมสมอง (Brainstorming)
กระบวนการคิดบูรณาการ ( Integrative Thinking)
กระบวนการคิด
กระบวนการที่สมองของมนุษย์ทาการบันทึกข้อมูลและภาพ
ต่างๆที่เรียนรูไ้ ว้ในความทรงจาและสามารถบูรณาการ
ข้อมูลและภาพเหล่านั้นกลับมาใช้ได้ตามสถานการณ์
กระบวนการคิด
กระบวนการที่สมองของมนุษย์ทาการบันทึกข้อมูลและภาพ
ที่เรียนรูไ้ ว้ในความทรงจาและสามารถบูรณาการ
ข้อมูลและภาพเหล่านั้นกลับมาใช้ได้ตามสถานการณ์
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
..
...
...
..
.
forebrain
Midbrain
Brainstem
Hippocampus
amygdala
ธรรมชาติจดั สรร
ธรรมชาติกาจัดเซลล์สมองส่วนที่ไม่ได้ใช้ท้ ิง 3 ช่วง
ช่วงที่ 1 อยูใ่ นครรภ์
ช่วงที่ 2 ช่วงเด็กเล็ก
ช่วงที่ 3 ช่วงเป็ นวัยรุน่
ไอคิวคนไทย
ไอคิวเฉลี่ยของเด็กไทยอายุ 13-18 ปี คือ 88
เรามีเด็กไอคิวสูง (ที่มีแววอัจฉริยะ)มีอยูร่ อ้ ยละ 0.1
เด็กที่มีไอคิวปกติ (90-110) อยูท่ ี่ 17%
ที่เหลือร้อยละ 80 ของเด็กไทยมีสติปัญญาต ่ากว่าค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ยไอคิวของประชากรในประเทศที่พฒ
ั นาแล้วอยูท่ ี่ 90-110
พญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ
ความจา-ความทรงจา
Memory & remembrances
ข้อมูล 1
ข้อมูล 2
คิด
ข้อมูล 3
ข้อมูล 4
ข้อมูล 5
ความ
จา
ความจา
ความสามารถในการดึงข้อมูลที่มีอยูแ่ ล้ว
ในสมองออกมาใช้ได้ ถ้าดึงออกมาใช้ไม่ได้
ทั้งๆที่ขอ้ มูลมีอยู่ ก็ไม่เรียกว่ามีความจา
เพราะจาไม่ได้...!!
ความสามารถในการจา
ช่วงแรก
ช่วงท้าย
คาซ้าๆ
ช่วงแรก
และ/ของ
ช่วงท้าย
คาที่เชื่อมโยง/เป็ นคู่
ช่วงแรก
โต๊ะ-เก้าอี้
ซ้าย-ขวา
ช่วงท้าย
คาที่แปลก
ช่วงแรก
ช่วงท้าย
๊
ตักแตน
ชลลดา
สิ่งที่มนุษย์เหนือกว่าสัตว์โลกอื่น....
จินตนาการ
สารบัญ
กระดาษ
ปก
หนังสือ
ดินสอ
สิ่งที่มนุ ษย์เหนื อกว่าสัตว์โลลกอื่น....
จินตนาการ
สระน้ า
มะลิ
น้ าพุ
หินกาบ
สวน
ต้นไม้
นกกางเขน
บัว
อายุความทรงจา
76 - 80
75
10 - 20
5 - 10
Mind Map
ผังความคิด
มิติ
ภาพรวม
จินตนาการ
สี
จังหวะ
สังเคราะห์
รายการ
ลาดับ
รายการ
เหตุ
ผล
เส้
นบ
ลาดั
ตัเหตุ
วเลข-ค
ผลา
วิเส้เคราะห์
น
ตัวเลข
คา
วิเคราะห์
Mind Map คืออะไร
การบันทึกข้อมูลด้วยวิธีที่ทาให้เห็นภาพรวม
ก่อให้เกิดความจาที่ตดิ แน่น เกิดความเข้าใจที่รวดเร็ว
และเกิดความรูท้ ี่เชื่อมโยงและครอบคลุม
และเป็ นฐานของการเริม่ กระบวนการคิดอื่น
Mind Map ใช้เมื่อไร....
เมื่อต้องการเห็นภาพรวม
ต้องการแสดงการเชื่อมโยงข้อมูล
ระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง
และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั
ประโยชน์ของ Mind map
• Making a colorful diagram will help students
brainstorm new ideas, organize those thoughts
and be able to recall the information more easily
in the future
Mind Map :
1. ใช้เมื่อต้องการบันทึกข้อมูลเพื่อนากลับมาใช้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
2. ใช้เป็ นเครื่องมือเมื่อต้องการระดมความคิดเพื่อ
การพัฒนา สร้างสรรค์งาน จัดระบบคิดหรือใช้เป็ น
เครือ่ งมือในการแก้ปัญหา
mind map ประสิทธิภาพแห่งการ lecture
ตาราเรียน
อาณาจักรสุโขทัย
พิมพ์ดว้ ยตัวอักษร Browallia UPC
ขนาด 14 ความยาว 22 หน้า
Mind Map
อาณาจักรสุโขทัย
ความคิดหลัก :
ความคิดรอง :
อาณาจักรสุโขทัย
ที่ตง้ั -อาณาเขต
ความเจริญรุง่ เรือง
รายนามผูป้ กครอง
การล่มสลาย
อาณาเขต
พญาเลอไท
อาณาจักรสุโขทัย
Mind map for Basic
ส่วนประกอบสาคัญของ
Basic Mind Map
•
•
•
•
•
•
ความคิดหลัก
ความคิดรอง (คิดกว้าง)
ความคิดย่อย(คิดลึก)
เส้นกิ่งต่อเนื่อง กิ่งแก้ว กิ่งก้าน กิ่งแขนง
คาและวลีที่ง่ายๆ ชัดเจน
ภาพ สี และสัญลักษณ์
ทดสอบ
การเขียน Mind Map เกี่ยวกับตัวเอง
แนวคิด/ประเด็นหลัก : ตัวผูเ้ ขียนเอง
แนวคิด/ประเด็นรอง : 1………………….
2………………….
3………………….
4………………….
ฯลฯ
ความคิดหลัก
แกนหรือศูนย์กลางของประเด็น (concept)
“ลดภาวะโลกร้อน”
ประเด็น/ความคิดรอง
ความคิดที่ขยายออกไป (คิดกว้าง)
ความคิดหลัก :
ลดภาวะโลกร้อน
1. การอุปโภคบริโภค
2. การคมนาคม
3. การใช้พลังงาน
4. ดูแลธรรมชาติ
5. การใช้เทคโนโลยี
ความคิดย่อย
ขยายประเด็นรอง (คิดลึก)
ความคิดรอง
1. การอุปโภคบริโภค
- งดการใช้ถุงพลาสติก
- งดใช้ภาชนะโฟมและพลาสติก
- งดใช้สเปร์ที่มีสาร CFC
- แยกขยะ
กิ่งก้ าน
กิ่งแก้ ว
กิ่งแขนง
ความคิดหลัก concept
ลดภาวะโลกร้อน
Mind map for beginner
• ความคิดหลัก :
ชุมชนของฉัน
ความคิดรอง (คิดกว้าง)
-
คนในชุมชน
อาชีพของคนในชุมชน
สิ่งก่อสร้าง
ยานพาหนะ
ความคิดย่อย (คิดลึก)
1. คน
- คนไทย
- คนจีน
- คนแขก (อิสลาม)
2. อาชีพของคนในชุมชน
- หมอ
- ตารวจ
- พ่อค้า
- ครู
3. สิ่งก่อสร้าง
- โรงเรียน
- โรงแรม
- ร้านค้า
- บ้านเรือน
-ห้องแถว
4. ยานพาหนะ
- รถยนต์
- รถบรรทุก
- รถโดยสาร
- รถพยาบาล
โรงเรียน
โรงแรม
ร้านค้า
บ้านเรือน
ห้องแถว
ชุมชนของฉัน
รถบรรทุก
รถโดยสาร
รถพยาบาล
พ่อค้า
ตารวจ
ชุมชนของฉัน
รถกะบะ
รถเก๋ง รถ 6 ล้อ
รถ10 ล้อ
รถบรรทุ
ก
ขายอาหาร
รถ 18 ล้อ
ขายรถยนต์ รถไถนา
พ่อค้า ขายไอศครีม จราจร เดินเท้า
ตารวจ ขายเสื้อผ้า
รถยนต์
สายตรวจ
จักรยานยนต์
หมอฟั น สอบสวน
หมอรักษาตา
กระดูก
หมอทาคลอด
ผ่าตัด
สมอง
หัวใจ
กระบวนการคิดแบบ
ระดมสมอง
Brainstorming
การระดมสมอง คือ
ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น
ร่วมกันระหว่ า งสมาชิ ก เพื่ อ
เป็ นแนวทางที่ จ ะน าไปสู่ ก าร
ปฏิ บัติงานทั้งด้านการพัฒนา
และการแก้ปัญหา เราเรียกว่ า
การคิ ด แบบไร้ แ บบแผน
(Free
Form
Thinking)
เป็ นการพัฒนากระบวนการ
คิดไปสู่การคิดรูปแบบอื่ นๆ
จะน าไปสู่ อ งค์ค วามรู ้ การ
ว า ง แ ผ น ง า น ก า ร ส ร้ า ง
ทีมงาน การบริการและการ
ปฏิบตั ิงานด้านอื่นๆที่สาคัญ
คือ ระหว่างการระดมสมอง
นั้น.....
ความคิดหนึ่งจะก่อให้เกิดอีก
ความคิดหนึ่งเสมอ.......
กฎของการระดมสมอง
•
•
•
•
•
•
ทุกคนได้แสดงความเห็นอย่างอิสระ
ฟั งคนอื่น ไม่วิจารณ์ ไม่แทรกคนอื่น
ความเห็นยิง่ มากยิง่ ดี ไม่เน้นข้อเท็จจริง
ไม่ปะทะคารม
เมื่อได้ผลแล้ว ต้องนาผลไปเข้าสูก่ ระบวนการปฏิบตั ิตอ่ ไป
การระดมสมองต้องฝึ กฝน ทาซ้ าๆ
เมื่อจะระดมสมอง....
1. คนที่รว่ มต้องเป็ นสมาชิก
2. กาหนดเป้าหมายที่ชดั เจน
3. แต่งตัง้ หัวหน้าในที่ประชุม
4. แต่งตัง้ ผูท้ าหน้าที่บนั ทึก
5. บรรยากาศต้องชวนให้แสดงความคิดเห็น
6. สมาชิกทุกคนได้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลาย
7. มีการนาความคิดเห็นมาจัดหมวดหมู่ เพื่อดาเนินการใน
ขั้นตอนการปฏิบตั ิ
ขั้นตอนการระดมสมอง
• การสารวจปั ญหา (Define Problem)
• การสร้างความคิด (Generating Ideas)
• การพัฒนาแนวทางแก้ไข (Developing the Solution)
กรณีตวั อย่าง
การระดมสมอง
การสร้างความพึงพอใจให้แก่ผปู ้ กครอง
ในปี การศึกษา 2556
โรงเรียนต้องการให้ครูได้ตระหนักถึงความสาคัญ จึงเปิ ดประเด็น.......
มีสว่ นใดที่ผปู ้ กครองยังไม่พึงพอใจการดาเนินงานของโรงเรียน
ขั้นสารวจปั ญหา Define Problem
ส่วนที่ผปู ้ กครองยัง
ไม่พึงพอใจการดาเนินงาน
ของโรงเรียน
เปิ ดประเด็น
จัดกลุ่มความไม่พึงพอใจ
ของผูป้ กครอง
ขยายความคิด
รวบรวมความคิด
เมื่อได้กลุม่ ของปั ญหา (ตัวอย่าง) ปั ญหาเร่งด่วนคือ
ผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนตกต ่า
เข้าสูข่ ้นั ตอนการสร้างความคิดว่า
มีสาเหตุใดที่ทาให้ผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนตกต ่า
ขั้นสร้างความคิด Generating Ideas
สาเหตุที่ทาให้
ผลการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ของ
นักเรียนตกต ่า
ตั้งสมมุตฐิ าน หาเงื่อนไขของสาเหตุ
.............
.............
.............
.............
.............
.............
จัดกลุ่มสาเหตุ
จัดกลุ่มสาเหตุ
รวบรวมความคิด เลือกแนวทางแก้ไข
ปรากฏว่าสาเหตุที่ตอ้ งแก้ปัญหาโดยด่วนคือ
ครูผสู ้ อนคณิตศาสตร์ไม่เพียงพอ
ระดมสมองครั้งที่ 3 ในหัวข้อ
วิธีแก้ไขกรณีครูคณิตศาสตร์ไม่เพียงพอ
ขั้นพัฒนาหนทางแก้ไข(Developing the Solution)
วิธีแก้ไขกรณีครู
คณิตศาสตร์
ไม่เพียงพอ
ร่วมกันหาหนทางแก้ไข
.............
.............
.............
.............
.............
.............
จัดกลุ่มวิธีการแก้ไข
รวบรวมแนวทางการแก้ไข
แล้วนาไปดาเนินการต่อ
การคิดเป็ นกระบวนการก่ อให้ เกิดปั ญญา
เพราะจะเห็นภาพรวม
ทาให้ คิดกว้ าง คิดลึก คิดไกล และก้ าวข้ ามความคิดที่ยดึ เอาตัวตน
เป็ นหลัก ซึ่งการคิดแบบนีไ้ ม่ เคยก่ อให้ เกิดปั ญญา และไม่ เคยประสบ
ผลสาเร็จในการแก้ ปัญหาหรือสร้ างสรรค์ ส่ งิ ใดๆได้
Warren Edward Buffett