การให้คำปรึกษา 1 โดย ผศ.ดร.กาญจนวัลย์

Download Report

Transcript การให้คำปรึกษา 1 โดย ผศ.ดร.กาญจนวัลย์

Counseling Psychology
Counseling Psychology
การให้ คาปรึกษา
หมายถึ ง การสนทนาอย่ า งมี จุ ด มุ่ ง หมายของบุ ค คลสองคน โดยบุ ค คลหนึ่ ง เป็ นผู้
ให้ บริ การ ซึ่ งต้ องมีความรู้ ความสามารถเฉพาะทาง สามารถนาเทคนิคต่ างๆ ในการให้ การ
ปรึ กษาไปใช้ เพื่อช่ วยเหลือแก่ บุ คคลแก่ บุ คคลอีกคนหนึ่ ง ซึ่ งมีปัญหา ให้ สามารถแก้ ไข
ปั ญ หาต่ า งๆ และมี ทั ก ษะในการแก้ ปั ญ หาอื่ น ๆ ในอนาคตได้ ด้ ว ยตนเอง มี ทั ก ษะแล ะ
ความสามารถในการตัดสิ นใจหรือแก้ปัญหา ได้ ด้วยตนเองอย่างมีประสิ ทธิภาพ
ประเภทของการให้คาปรึกษา
1. การให้คาปรึกษารายบุคคล
ประเภทของการให้คาปรึกษา
1. การให้คาปรึกษารายกลุม่
คุณลักษณะของผู ใ้ ห้คาปรึกษาทีด่ ี
1. ส่งเสริมให้กาลังใจ
2. มีความเป็ นศิลป์ในตนเอง
3. มีความยืดหยุ่น
4. มีความมัน่ คงทางอารมณ์
5. มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและห่วงใยผู อ้ นื่
6. มีสติ รู้จกั ตนเอง
7. ยอมรับตนเอง
คุณลักษณะของผู ใ้ ห้คาปรึกษาทีด่ ี
8. มีความภาคภูมใิ จทางบวก
9. เกิดความตระหนักรู้ในตนเอง
10. เปิ ดเผยตนเอง
11. มีความกล้าหาญ
12. ไม่ประเมินตัดสินบุคคล
13. อดทนต่อความกากวม ไม่ชดั เจน
14. รู้จกั พัฒนาจิตวิญญาณ
จรรยาบรรณของผู ใ้ ห้คาปรึกษา
หมวด ก สัมพันธภาพการให้คาปรึกษา
1. สวัสดิภาพของผู ร้ บั คาปรึกษา
2. สิทธิของผู ร้ บั คาปรึกษา
3. ผู ร้ บั คาปรึกษาทีผ่ า่ นการรับคาปรึกษาจากผู อ้ นื่
4. ความต้องการและค่านิยมส่วนบุคคล
จรรยาบรรณของผู ใ้ ห้คาปรึกษา
หมวด ก สัมพันธภาพการให้คาปรึกษา (ต่อ)
5. สัมพันธภาพสองสถานะ
6. ความสนิทสนมทางเพศกับผู ร้ บั คาปรึกษา
7. งานกลุ่ม
8. การยุตแิ ละการส่งต่อ
จรรยาบรรณของผู ใ้ ห้คาปรึกษา
หมวด ข การรักษาความลับ
1. สิทธิความเป็ นส่วนตัว
2. ข้อมูลคาปรึกษา
หมวด ค ความรับผิดชอบทางวิชาชีพ
1. ความรู้ทเี่ ป็ นมาตรฐาน
2. สมรรถนะของวิชาชีพ
จรรยาบรรณของผู ใ้ ห้คาปรึกษา
หมวด ง การประเมิน การวัด และการแปลผล
1. ความสามารถของการใช้และการแปรผลจากแบบทดสอบ
2. การได้รบั ความยินยอมในการอธิบายต่อผู ร้ บั การปรึกษา
3. การเลือกแบบทดสอบทีม่ คี วามเหมาะสม
4. การสร้างแบบทดสอบ
จรรยาบรรณของผู ใ้ ห้คาปรึกษา
หมวด จ การสอนและการฝึ กปฏิบตั ิ
1. ผู ใ้ ห้คาปรึกษาทาหน้าทีเ่ ป็ นผู ส้ อน ผู ฝ้ ึ กปฏิบตั ิ
2. นักศึกษา หรือผู ท้ อี่ ยู่ภายใต้การฝึ กปฏิบตั ิ
ทัศนะการมองโลกและชีวิต
มนุษย์ทุกคนต้องการความรักและความ
เข้าใจ
ต้องการมีคณ
ุ ภาพจิตที่สมบูรณ์ (สุขภาพจิตดี)
คุณภาพแห่งจิตใจ
แคบ
มองโลกในแง่ร้าย
ปรารถนาดี (แบบเก่า)
ตายตัว/ มี
มาตรฐาน
คิดเอง เออเอง
คาดหวัง
ไม่ให้โอกาส
โทษฟ้ าดิน
Toxic
ไม่ให้อภัย
ช่างตาหนิ
เปรียบเทียบ
I’m OK. You’re not OK.
there and then
คุณภาพแห่งจิตใจ
มองโลกในแง่ดี
กว้าง
ปรารถนาดี (แบบใหม่)
ยืดหยุ่น
กล้าเผชิญ
หวัง
ให้โอกาส
ยอมรับความจริง
Tonic
ให้อภัย
ชื่นชมเป็ น
I’m OK, You’re OK.
here and now
ไม่เปรียบเทียบ
คุณภาพแห่ งจิต
Toxic
สภาวะ
 แคบ
 ตายตัว / มีมาตรฐาน
(Unhealthy)
 คาดหวัง
 ไม่ ให้ โอกาส
 ไม่ ให้ อภัย
 ช่ างตาหนิ
 เปรียบเทียบ
 there and then
 I’m OK, You’re not OK.
 โทษฟ้าดิน
 คิดเอง เออเอง
 ปรารถนาดี (แบบเก่ า)
 มองโลกในแง่ ร้าย
อาการ
 เครี ยด
 เคียดแค้น
 น้อยใจ
 ไม่พอใจ
 โกรธ
 หงุดหงิด
 เอาชนะ
 เก็บตัว
 ขี้กลัว
 ลน
 ขี้บ่น
การสื่ อสาร
 พูดทำร้ำย
 พูดอย่ำงมีอำรมณ์
 พูดให้ทอ้ ถอย
 พูดประชดประชัน
 ปฏิเสธอย่ำงก้ำวร้ำว
 ปฏิเสธไม่เป็ น
 พูดมำก
 นึกถึงแต่ตนเอง
 นินทำว่ำร้ำย
 โอ้อวด
 ปกป้ องตนเอง
 อ้อมค้อม
คุณภาพแห่ งจิต
Tonic
(Healthy)
สภาวะ
อาการ
การสื่ อสาร
 กว้าง
 ร่ าเริง
 พูดสร้ างสรรค์
 ยืดหยุ่น / อิสระ
 หวัง
 ให้ โอกาส
 ให้ อภัย
 ชื่นชมเป็ น
 ไม่ เปรียบเทียบ
 เบิกบาน
 แจ่ มใส
 มีชีวติ ชีวา
 มีอารมณ์ ขนั
 สนุกสนาน
 เป็ นสุ ข
 มัน่ คง
 พูดมีเหตุผล
 พูดให้ กาลังใจ
 พูดให้ อภัย
 ปฏิเสธอย่ างอ่ อนโยน
 บอกกล่ าวอย่ างเข้ าใจ
 พูดปลอบใจ
 นึกถึงผู้อนื่
 ยกย่ อง ชมเชย
 สุ ภาพอ่ อนโยน
 สื่ อสารได้ ตรงกับความคิด
 here and now
 I’m OK. You’re OK.
 ยอมรับความจริง
 กล้ าเผชิญ
 ปรารถนาดี (แบบใหม่ )
 มองโลกในแง่ ดี
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
1. การสร้างสัมพันธภาพ
2. การสารวจปัญหา
4. การยุตกิ ารปรึกษา
5. การวางแผนแก้ไขปัญหา
3. การเข้าใจปัญหาทีแ่ ท้จริง
จีน แบรี่ (2549)
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
T  การเชือ่ มสมาน (Tuning)
I  การพินจิ รอยแยก (Identify Split)
R  การเข้าใจเห็นจริง (Realization)
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การเชือ่ มสมาน (Tuning)
คือ การที่ Co เข้าใจในจิตใจของ Cl อย่างแนบสนิทเป็ นเนือ้ เดียวกัน
โดย Co ต้องละทิ้งตนเอง เพือ่ ให้มจี ติ ใจทีส่ งบนิง่ สามารถสังเกต
เปิ ดใจรับรู้เรือ่ งราวและภาวะความทุกข์ของ Cl อย่างครบถ้วนและ
ชัดเจน
Co เป็ นเพือ่ นร่วมทาง ร่วมรับรู้ และเข้าใจความรู้สกึ ทีเ่ กิดขึน้ ในใจ
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การเชือ่ มสมาน (Tuning)
การเกิดสัมพันธภาพทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ต้องอาศัย...
1. การมองด้านดีงาม (Positive Regard)
คือ การยอมรับในตัว Cl อย่างไม่มเี งือ่ นไข ทัง้ ทัศนคติ ความคิด ความรู้สกึ
ค่านิยม ตัวตนทัง้ หมดของ Cl
2. ความเป็ นธรรมชาติ (Genuineness)
คือ การเป็ นตัวของตัวเองของ Co โดยปราศจากการแต่งเติม ความสอดคล้องกัน
ระหว่างความรู้สกึ กับการกระทาและคาพู ด โดยไม่สูญเสียความเป็ นตัวตนของตนเอง
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การเชือ่ มสมาน (Tuning)
การเกิดสัมพันธภาพทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ต้องอาศัย...
3. ความเข้าอกเข้าใจ (Empathy)
คือ ความสามารถในการเข้าใจ Cl ตามกรอบความคิดของ Cl คิดร่วมกันมิใช่คดิ
แทนกัน คิดล้าไปล่วงหน้า หรืออินกับเรือ่ งราวนัน้ ๆ (Sympathy)
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การเชือ่ มสมาน (Tuning)
ต้องอาศัยทักษะพืน้ ฐานต่างๆ เช่น
1. การใส่ใจด้วยภาษาท่าทาง
1.1 การใส่ใจด้วยการแสดงออกจากภาษาพู ด
1.2 การใส่ใจด้วยการแสดงออกจากภาษาท่าทาง
เช่น สภาพที่ สวล. ระยะห่าง การวางตัว การเคลือ่ นไหว สีหน้า
สายตา น้าเสียง การแต่งกาย ฯลฯ
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การเชือ่ มสมาน (Tuning)
ต้องอาศัยทักษะพืน้ ฐานต่างๆ เช่น
2. การเริม่ ต้นการสนทนา
- เริม่ ต้นการพู ดคุยด้วยบรรยากาศทีอ่ บอุ่น มีไมตรี ยิม้ แย้ม
- Small talk เรือ่ งกลางๆ เหตุการณ์ทวั่ ๆ ไป ใช้เวลาสัน่ ๆ เพือ่ ...
- ทาความเข้าใจในกระบวนการให้การปรึกษา เพือ่ ทราบถึงบทบาททีช่ ดั เจน
โดย... ชีแ้ จงวัตถุประสงค์ เป้ าหมายทีต่ ้องการ กระบวนการ บทบาท ความลับ
เวลา เป็ นต้น
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การเชือ่ มสมาน (Tuning)
บทบาท Co :) ...
1. ความพร้อมทัง้ กายและใจ
2. การต้อนรับ
3. Small talk
4. ใส่ใจด้วยท่าที และคาพู ด
5. การตัง้ คาถาม
6. การสร้างความเข้าใจในกระบวนการ
ผลที่ Cl ได้รบั :) ...
1. อบอุ่นใจ
2. ลดความตึงเครียด
3. ไว้วางใจ
4. เข้าใจกระบวนการ
5. ทราบวัตถุประสงค์ทแี่ น่นอน
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การพินจิ รอยแยก (Identify Split)
คือ การร่วมค้นหา ความทุกข์ใจ กระวนกระวายใจ ไม่มคี วามสุข โกรธเคือง
โดยเกิดจาก...
ความยึดมัน่ ถือมัน่
ความคาดหวัง
ความปรารถนา
การไม่ชอบการเปลีย่ นแปลง
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การพินจิ รอยแยก (Identify Split)
Cl มักถูกปกคลุมด้วยกลไกป้ องกันตนเอง (Defense Mechanism)
Co ต้องมีใจทีส่ งบนิง่ เพือ่ ...
สังเกตปัญหา
รับรู้และเข้าใจปัญหา บนรากฐานความจริง
“SPLIT” หมายถึง รอยแยกในใจระหว่างความเป็ นจริง
และความคาดหวัง ของบุคคลทีเ่ กิดขึน้ ...
ความคาดหวัง
“รอยแยก”
SPLIT
ความเป็ นจริง
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การพินจิ รอยแยก (Identify Split)
บางครัง้ เราอาจต้องอาศัยการเงียบ (Silence) ซึง่ ก็คอื ช่วงเวลาระหว่าง
กระบวนการปรึกษาทีไ่ ม่มกี ารสือ่ สาร ซึง่ มี 2 ลักษณะคือ
1. เงียบแบบไม่มเี สียงอะไรจากทัง้ สองฝ่ าย
2. เงียบแบบมีเสียงบางอย่าง เช่น เสียงอืม... เสียงพู ดขาดๆ หายๆ ซึง่ เป็ นการ
แสดงความวิตกกังวล หรือแสดงถึงอารมณ์บางอย่าง
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การพินจิ รอยแยก (Identify Split)
การเงียบ (Silence) แบ่งเป็ นสองแบบ คือ...
1. เงียบทางบวก
เงียบเพือ่ ช่วยให้ Cl ได้มเี วลาคิด ไตร่ตรอง หรือระบายความรู้สกึ นัน้ ๆ ออกมา โดย..
- เว้นจังหวะของการพู ด
Co ควรสรุป และใช้คาถามปลายเปิ ดเกีย่ วกับประเด็นนัน้ ๆ
- การเงียบด้วยความรู้สกึ เจ็บ หรือเสียใจ
Co ควรให้กาลังใจ สะท้อนความรู้สกึ หรือถามถึงความหมายของการเงียบ
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การพินจิ รอยแยก (Identify Split)
- การเงียบเพือ่ รอคอยให้ Co พู ดอะไรบางอย่าง เพือ่ ให้กาลังใจ หรือให้ขอ้ มูล
Co ควรตีความ หรือคาถาม
- การเงียบเพือ่ ต้องการเวลาคิด และทาความเข้าใจ
Co ไม่ควรขัดจังหวะคิด ควรรอจนกว่า Cl จะพร้อมพู ด
-การเงียบเพือ่ พักฟื้ นจากความเหนือ่ ยล้า
Co ควรให้การยอมรับ ร่วมรับรู้ เข้าใจความรู้สกึ ให้กาลังใจ
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การพินจิ รอยแยก (Identify Split)
การเงียบ (Silence) แบ่งเป็ นสองแบบ คือ...
2. เงียบทางลบ
เงียบเพือ่ กลัว อาย ไม่สบายใจ ต่อต้าน ปฏิเสธ โดย..
- การเงียบทีแ่ สดงถึงความไม่สบายใจ
Co ควรสร้างบรรยากาศให้คลายความกังวล กลัว ไม่ไว้ใจ หรือSmall talk
- การเงียบ ไม่พร้อมทีจ่ ะพู ดเรือ่ งนัน้ ๆ
Co ควรพู ดข้อตกลงเรือ่ งการรักษาความลับ บทบาท ประโยชน์ท ี่ Cl จะได้รบั
กระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
 การเข้าใจเห็นจริง (Realization)
Co เอื้อให้ Cl เข้าใจชีวติ
- ตระหนักชัดถึงสิง่ ทีต่ นเองต้องการ
- มองเห็นแนวทางในการกล้าทีจ่ ะก้าวออกจากความทุกข์
- สลายอคติทมี่ คี วามปรารถนาส่วนตนซ่อนอยู่
- มีชวี ติ อยู่กบั ความจริงได้อย่างกลมกลืนด้วยสติปญั ญา
กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ของผู ร้ บั การปรึกษา
1. การสังเกตตนเอง (Self-Awareness)
Cl ตระหนักรู้ถงึ ภาวะในใจซึง่ เป็ นสิง่ ทีก่ าลังเผชิญ กาลังรู้สกึ หรือกาลังคิดหา
คาตอบอย่างชัดเจน โดยเริม่ ต้นจาก...
- การสังเกตตนเองจากการสนทนา
- การสังเกตตนเองจากความเงียบ
- การสังเกตตนเองจากเรือ่ งราวของเพือ่ นสมาชิกในกลุม่
- การหันหลังกลับมาสังเกตตนเองมากขึน้
กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ของผู ร้ บั การปรึกษา
2. การสารวจ (Exploration)
Cl เริม่ สารวจและทาความเข้าใจตนเองในด้านอารมณ์ ความรู้สกึ กับความเป็ น
จริงทีเ่ กิดขึน้ โดยเริม่ ต้นจาก...
- บรรยากาศทีอ่ บอุ่น ปลอดภัย
- เกิดความรู้สกึ ไว้วางใจ
- ระลึกถึงความทุกข์ในใจ
- รู้สกึ มัน่ ใจ มองเห็นแนวทางแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้
กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ของผู ร้ บั การปรึกษา
3. การตรวจพิจารณา (Examnation)
Cl เริม่ ตรวจสอบ ใคร่ครวญเรือ่ งราวทีเ่ กิดทุกข์ โดยเริม่ ต้นจาก...
ใคร่ครวญรอยแยกของความคาดหวังความยึดมัน่ กับความเป็ นจริงของชีวติ
ความคาดหวัง
“รอยแยก”
ความเป็ นจริง
SPLIT
เพือ่ ขยายมุมมอง ทัศนะทีค่ บั แคบของ Cl ให้กว้างขึน้ ชัดเจนขึน้
กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ของผู ร้ บั การปรึกษา
4. การเกิดความงอกงาม (Growth)
Cl มีความเข้าใจโลก ชีวติ และธรรมชาติตามความจริง โดยเริม่ ต้นจาก...
Co เอื้อให้ Cl เห็นประเด็นในชีวติ ทีด่ งี าม
Co เอื้อให้ Cl เห็นคุณค่าและความหมายของชีวติ
Co เอื้อให้ Cl เห็นมุมมองของชีวติ ทีก่ ว้างขึน้
Co เอื้อให้ Cl รับรู้มุมชีวติ ในส่วนทีด่ งี ามมากกว่ายึดส่วนทีบ่ กพร่อง
Cl มีกาลังใจ และมีความมัน่ ใจในการดาเนินชีวติ
Cl เกิดการพัฒนาตนเองไปในทางทีส่ ร้างสรรค์
กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ของผู ร้ บั การปรึกษา
5. การแก้ปญั หา (Problem Solving)
Cl เข้ า ใจถึง ปัญ หาที่ค้ า งใจ และมองเห็น ทางออกของปัญ หาด้ ว ยตัว เอง
โดยเริม่ ต้นจาก...
Co เอื้อให้ Cl ตระหนักคิด ใคร่ครวญระหว่างรอยแยกของความคาดหวัง
ความยึดมัน่ กับความเป็ นจริงของชีวติ
Co เอื้อให้ Cl เกิดความเข้าใจและมองปัญหาตามความจริง
กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ของผู ร้ บั การปรึกษา
6. การเข้าใจเห็นจริง (Realize)
Cl เกิดกระบวนการทางปัญญา เรียนรู้ เข้าใจชีวติ และโลกตามความเป็ นจริง
โดยเริม่ ต้นจาก...
- Co เอื้อให้ Cl เข้าใจเหตุแห่งความทุกข์
- Co เอื้อให้ Cl คลายความคาดหวัง
- Co เอื้อให้ Cl ยอมรับและอยู่กบั ความเป็ นจริงในชีวติ ของตนเองได้
- Co เอื้อให้ Cl มีภาวะโล่งใจ โปร่งใจ
ทักษะการให้การปรึกษา
 การต้อนรับ/ทักทาย
 การใช้คาถาม
 การติดตามเรือ่ งราว
 การฟั งทีช่ ดั เจน
ทักษะการให้การปรึกษา
 การเงียบ
 การสรุป
การให้ขอ้ มูลคาแนะนา
 การส่งต่อผู เ้ ชีย่ วชาญ
การต้อนรับ/ทักทาย
 ภาษาท่าทาง (Nonverbal)
 ภาษาคาพู ด (Verbal)
1. ภาษาท่าทาง (Nonverbal)
การสื่อความหมาย
1. ภาษากาย 55 %
2. น้าเสียง 38 %
3. ภาษาพู ด 7 %
1. ภาษาท่าทาง (Nonverbal)
 การประสานสายตา  น้าเสียง
 สีหน้า
 การวางตัว วางท่านัง่
 กิรยิ าอาการ
 การแต่งกาย
 ระยะห่าง
 สถานที่ บรรยากาศ
2.ภาษาคาพู ด (Verbal)
 กล่าวต้อนรับ
 กล่าวทักทายในเรือ่ งทัว่ ไป (Small Talk)
 กล่าวคาพู ดเพือ่ เริม่ ต้นการสนทนา
การใช้คาถามอย่างสร้างสรรค์
 คาถามปิ ด (Close Questioning)
 คาถามเปิ ด (Opened Questioning)
การติดตามเรื่องราว
(Tracking)
ทุกข์
ปญหานา
ปญหาทีแ่ ท้จริง
“ปัญหา” ทีบ่ ุคคลนามาปรึกษา
 ปัญหานา (Surface Problem)
 ปัญหาทีแ่ ท้จริง (Real Problem)
ปัญหานา (Surface Problem)
 ผู ร้ บั การปรึกษายังไม่ไว้วางใจ
 ผู ร้ บั การปรึกษากาลังสับสนกับตนเอง
ปัญหาที่แท้ (Real Problem)
 ผู ้ ให้การปรึกษาและผู ร้ บั การปรึกษามีสมั พันธภาพทีด่ ี
 ผู ร้ บั การปรึกษาวางใจทีจ่ ะเล่าปัญหาทีแ่ ท้จริงของตน
การพิจารณาปัญหา
 ปัญหาภายนอก
 ปัญหาภายใน
ปัญหา..ภายนอก..
เป็ นปั ญหาที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
 การเจ็บป่วย การสูญเสีย เสือ่ มสลาย
 ปัญหาเกีย่ วกับสังคม
 ปัญหาเกีย่ วกับสภาพแวดล้อม
ฯลฯ
ปัญหา..ภายใน...
คือ ปัญหาทีเ่ กีย่ วกับจิตใจของบุคคล เป็ นความทุกข์ใจทีเ่ กิด
จากการขาดความเข้าใจในความเป็ นจริงของโลกและชีวติ
 มีความเกีย่ วโยงกับปัญหาภายนอก
เป็ นปัญหาทีเ่ กิดจากรอยแยกระหว่างความคาดหวังและ
ความเป็ นจริงไม่สอดคล้องกัน
การเงียบ
 การเงียบทางบวก (Positive Silence)
 การเงียบทางลบ (Negative Silence)
การฟั งทีช่ ดั เจน
 เนือ้ หา (Content)
 ความรู้สกึ (Feeling)
อุปสรรค...ของการรับรู้และเข้าใจที่ชดั เจน
การสรุป
 เป็ นการรวบรวมเรือ่ งราวทีไ่ ด้สนทนา
 เห็นทิศทางการสนทนา
 สามารถจับประเด็นสาคัญได้
การส่งต่อผูเ้ ชี่ยวชาญ
 เมือ่ ผู ร้ บั การปรึกษาไม่พร้อม
 เมือ่ ผู ร้ บั การปรึกษาร้องขอ
 เมือ่ ผู ้ ให้การปรึกษาไม่มคี วามรู้/ความชานาญในเรือ่ งนัน้
การส่งต่อที่ดี
 ผู ร้ บั การปรึกษาเป็ นผู ต้ ดั สินใจเองและไปด้วยความเต็มใจ
แนวทางการ..แก้ไขปัญหา..
 ให้ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้อง  เปลีย่ นพฤติกรรม
 รับฟั งอย่างเข้าใจ ควบคุมตนเอง
 เปลีย่ นความคิด
 ต้อนรับความจริงแล้วปล่อยวาง
 ลงมือทาแล้วจึงจะโล่งใจ
 ฝึ กความชานาญ
ข้อควรตระหนักในการให้การปรึกษา
การแก้ไขปัญหาไม่มวี ธิ กี ารหรือกฎเกณฑ์ทแี่ น่นอนตายตัว
การปรึกษาไม่ใช่การแนะนาให้ปฏิบตั ติ ามความคิดเห็นของผู ้ ให้การปรึกษา
แต่ ควรให้ผู้รบั การปรึกษาเป็ นผู ้ตดั สินใจและรับผิดชอบการตัดสินใจ
ของตน
ผู ้ ให้ก ารปรึก ษาไม่ ใ ช้ ม าตรฐานของตนเองในการตัด สิน หรือ ประเมิน
ผู ร้ บั การปรึกษา/ปัญหา/วิธกี ารแก้ปญั หา
 ผู ้ ให้การปรึกษาควรมีทศั นะเปิ ดกว้าง
 การรักษาความลับเป็ นจรรยาบรรณทีส่ าคัญของการปรึกษา