click - โรงพยาบาลสระบุรี

Download Report

Transcript click - โรงพยาบาลสระบุรี

Neonatal
Transportation
พญ.พรมนัส พันธุ์สุจริตไทย
รพ.สระบุรี 22 ก.ย.53
ทำไมกำรส่ งต่ อมำรดำ/ทำรกขณะอยู่ในครรภ์ มำรดำ
และกำรส่ งต่ อทำรกหลังคลอดจึงมีควำมสำคัญ?




เพราะทารกบางรายจาเป็ นต้ องได้ รับการดูแลอย่ างใกล้ชิดเป็ นพิเศษ
การดูแลต้ องใช้ บุคลากรทีม่ คี วามรู้ความสามารถเฉพาะทาง อุปกรณ์
การแพทย์ ที่ทันสมัยเพือ่ ประเมินและติดตามอาการในช่ วงวิกฤต
การเคลือ่ นย้ ายทารกตั้งแต่ อยู่ในครรภ์ มารดา (Intrauterine transport) ช่ วย
ลดปัญหาต่ างๆของทารกได้ มาก และยังช่ วยให้ ทารกและมารดาผูกพันกันเป็ น
อย่ างดีต้งั แต่ ต้น
สู ติแพทย์ ผู้ส่งควรติดต่ อสู ติแพทย์ และกุมารแพทย์ ในโรงพยาบาลที่รับย้ าย
ก่อน เพือ่ ร่ วมกันวางแผนการรักษาร่ วมกัน
เป้ำประสงค์ กำรเคลื่อนย้ ำยส่ งต่ อทำรกแรกเกิด



ทีมของโรงพยาบาลต้ นทางทีจ่ ะส่ งทารกไปนั้นควรจะพยายามดูแลให้
ทารกอย่ ใู นสภาวะทีค่ งทีด่ ีทสี่ ุ ดเท่ าทีจ่ ะทาได้ ไม่ รีบส่ งทารกที่วิกฤต
เหล่านั้นเพียงให้ พ้นสถานพยาบาลของตน
การส่ งต่ อทารกที่ดีควรเป็ นการส่ งต่ อไปรับการรักษาในโรงพยาบาลทีม่ ี
ความพร้ อมและอยู่ใกล้เคียงทีส่ ุ ด เพือ่ หลีกเลีย่ งการย้ ายผู้ป่วยหลายทอด
การส่ งต่ ออย่ างมีประสิ ทธิภาพ หมายถึง การทีท่ ารกสามารถถึง
จุดหมายได้ โดยปลอดภัย ไม่ เกิดภาวะแทรกซ้ อนทีไ่ ม่ ควรเกิด
หรือสามารถคาดการณ์ และป้องกันภาวะเหล่ านั้นไว้ ก่อนได้
ทำรกรำยใดที่ควรเคลื่อนย้ ำยส่ งต่ อ


การพิจารณาการส่ งต่ อไปยังสถานพยาบาลในระดับทีส่ ู งกว่ านั้น ขึน้ อยู่
กับขีดความสามารถของแต่ ละสถานพยาบาล โดยเป็ นการปรึกษาหารือ
ร่ วมกันระหว่ างสถานพยาบาลที่ทารกคลอดกับทีจ่ ะรับส่ งต่ อว่าการส่ ง
ต่ อจะมีประโยชน์ มากน้ อยเพียงใด เมื่อเทียบกับการให้ การดูแลรักษาที่
สถานพยาบาลที่ทารกคลอด
ทารกกลุ่มทีจ่ ะต้ องเคลือ่ นย้ ายส่ งต่ อ ได้ แก่
ทารกเกิดก่ อนกาหนดมากๆ
 ทารกทีต
่ ้ องการผ่ าตัดรักษา
 ทารกทีป
่ ่ วยรุนแรง
 ทารกเป็ นโรคทีย
่ ่ ุงยาก ซับซ้ อน ต้ องการดูแลรักษาระยะยาว

ขัน้ ตอนกำรจัดกำรเคลื่อนย้ ำยส่ งต่ อทำรกจะต้ องทำอย่ ำงไร
1.
2.
3.
4.
ติดต่ อโรงพยาบาลที่จะส่ งไปรักษา เขียนชื่อโรงพยาบาลและหมายเลข
โทรศัพท์ จัดหาคู่มือ หรือแนวทางการดูแลเฉพาะโรคทีต่ ้ องการใช้ กบั ผู้ป่วย
ที่ต้องการส่ งต่ อเพือ่ ใช้ ในการเตรียมการส่ งต่ อ
แพทย์ ผู้ส่งต่ อควรติดต่ อประสานงานกับแพทย์ ผ้รู ับโดยตรง เพือ่ ให้ ข้อมูล
ปัญหาและภาวะของผู้ป่วย ผลการตรวจห้ องปฏิบัติการ การวินิจฉัย
เบือ้ งต้ น รวมทั้งการรักษาที่ให้ และการดาเนินโรค
เตรียมทารก
ให้ การดูแลต่ อเนื่อง
ขัน้ ตอนอย่ ำงน้ อยที่สุดในกำรเตรียมทำรกทุกรำยก่ อนเคลื่อนย้ ำยส่ งต่ อ
ได้ แก่ อะไรบ้ ำง
ทีมของโรงพยาบาลต้ นทางต้ องเตรียมทารกก่ อนเคลือ่ นย้ ายดังต่ อไปนี้










ตรวจสั ญญาณชีพ
ตรวจทางห้ องปฏิบัติการพืน้ ฐาน
ให้ สารนา้ ทางหลอดเลือด
ปรึกษาหารือร่ วมกัน
อธิบายผู้ปกครองถึงสภาวะของทารก ความจาเป็ นในการเคลือ่ นย้ าย
จัดเตรียมเอกสารสิ ทธิ์การรักษาพยาบาล
ทาสาเนาเวชระเบียนทั้งของมารดาและทารก เพือ่ ส่ งไปพร้ อมทารก
ภาพถ่ ายรังสี ของผู้ป่วย
ส่ งเลือดมารดา 10 มล. หากใส่ สารกันเลือดแข็งตัวด้ วยจะดีกว่ า clotted blood
ระหว่ างรอเคลือ่ นย้ ายนีต้ ้ องพยายามให้ สภาวะของทารกคงที่มากที่สุดเท่ าที่จะทาได้
ตรวจสัญญำณชีพ

อัตราการเต้ นของหัวใจ (120-160/min)

อัตราการหายใจ (30-60/min)

อุณหภูมกิ าย (36.5-37.50C)

ความดันโลหิต ตามอายุครรภ์ และอายุหลังเกิด
ตรวจทำงห้ องปฏิบัตกิ ำรพืน้ ฐำน

ตรวจระดับนา้ ตาลในเลือด (blood sugar screening test)

ตรวจระดับความเข้ มข้ นของเลือด (hematocrit)

ตรวจหาค่ าแรงดันก๊ าซต่ างๆในเลือด (blood gas)ในทารกที่ต้องช่ วย
หายใจ

การตรวจอืน่ ๆที่ต้องพิจารณาเป็ นรายๆไป
ให้ สำรนำ้ ทำงหลอดเลือด

อาจให้ ทางหลอดเลือดดาทั่วไป หรือใส่ สายสวนเข้ าหลอดเลือดดา
umbilical vein หรือหลอดเลือดแดง umbilical artery ทั้งนีข้ นึ้ อยู่
กับสภาวะของทารก ประโยชน์ เพือ่
 ให้ สารนา้ ระหว่ างการเคลือ
่ นย้ าย
 ให้ ยาในกรณีฉุกเฉิน
ปรึกษำหำรื อร่ วมกัน
ระหว่ างทีมของสถานพยาบาลทีท่ ารกคลอดกับสถานพยาบาลทีจ่ ะรับส่ งต่ อ
เกีย่ วกับรายละเอียดต่ างๆของทารก ดังนี้
 ประวัต:ิ ภาวะแทรกซ้ อนระหว่ างตั้งครรภ์ ปัจจัยเสี่ ยง Apgar scores, นา้ หนัก
และอายุครรภ์ ของทารก ภาวะแรกเกิดเป็ นอย่ างไร
 การเจ็บป่ วยปัจจบ
ุ นั : การตรวจร่ างกาย ความผิดปกติ สั ญญาณชีพ
การให้ ออกซิเจน และการใช้ เครื่องช่ วยหายใจ
 ผลการตรวจทางห้ องปฏิบัติการ: blood sugar screening test, Hct,
blood gas, chest x-ray เป็ นต้ น
 การรั กษาทีใ่ ห้ และการดาเนินโรค
 การรักษาเฉพาะทีต
่ ้ องการต่ อไป

ในการปรึกษาเพือ่ เคลือ่ นย้ ายส่ งต่ อผู้ป่วย ในเบือ้ งต้ นอาจยังไม่ ได้ รายละเอียด
ดังนั้นเมื่อมีข้อมลู เพิม่ เติมแล้ ว ควรโทรศัพท์ แจ้ งรายละเอียดเพิม่ เติมให้ กบั
ทีมทีร่ ั บต่ อ เพือ่ ปรึกษาหารือร่ วมกันต่ อไป
อธิบายผู้ปกครองถึงสภาวะของทารก ความจาเป็ นในการ
เคลือ่ นย้ าย
 จัดเตรี ยมเอกสารสิ ทธิ์การรั กษาพยาบาล
 ทาสาเนาเวชระเบียนทั้งของมารดาและทารก
เพือ่ ส่ งไปพร้ อมทารก
 ภาพถ่ ายรั งสี ของผู้ป่วย
 ส่ งเลือดมารดา 10 มล. clotted blood

กำรเตรี ยมทำรกก่ อนกำรเคลื่อนย้ ำย
 Respiratory
system
 Cardiovascular system
 Vascular access
 Hematologic system
 Temperature care
 CNS
 Metabolic
Respiratory system
ดูสีผวิ (cyanosis, O2saturation) การขยายตัวของทรวงอก อาการ
หอบเหนื่อย (retraction, grunting, nasal flaring)
นับ
อัตราการหายใจ และฟังเสี ยงลมหายใจที่ปอดทั้งสองข้ าง
 ตรวจภาพรังสี ทรวงอก และ blood gas ถ้ าทาได้ / มีข้อบ่ งชี้
 เปิ ดทางเดินหายใจให้ โล่ ง ถ้ าไม่ แน่ ใจว่ าทารกจะหายใจได้ ดเี พียงพอ
พิจารณาใส่ ET tube ก่ อนการเคลือ่ นย้ าย
 Monitor O2 saturation ด้ วย pulse oximeter ระหว่ างเดินทาง

Respiratory system
กรณีใส่ ET tube
 ประเมินขนาดและความลึกของ ET tube ให้ เหมาะสม โดยใช้ การฟังปอดหรื อ
chest x-ray เพือ่ ดูตาแหน่ งให้ ชัดเจน
 ยึด ET tube ให้ ติดแน่ น และตัดท่ อให้ เหลือความยาวประมาณ 3-4 ซม.จากมุม
ปากเพือ่ ลด dead space และป้ องกันไม่ ให้ ท่อหักพับ
 ระวังไม่ ให้ ET tube เลื่อนหลด
ุ หรื อเลื่อนลึก เมื่อมีการเคลือ่ นย้ ายตัวทารก และ
ดูตาแหน่ งมุมปากให้ ชัดเจนทุกครั้ง
 ช่ วยหายใจโดยใช้ neonatal self inflating bag และปรั บความแรงของการบีบ
ให้ สม่าเสมอ
 ดูสีผว
ิ การขยายตัวของทรวงอก อาการหอบเหนื่อย และฟังเสี ยงลมหายใจที่
ปอดทั้งสองข้ าง
GA (wk)
นา้ หนักตัว
< 28
< 1000 gram
2.5
28-34
1000-2000 gram
3
34-38
2000-3000 gram
3.5
> 38
ขนาด ET-tube
> 3000 gram
อุปกรณ์ ดูดเสมหะ
เปิ ดเครื่ องดูดเสมหะที่ควำมดัน 100 มม.ปรอท
ต่ อกับสำยดูดเสมหะขนำด 10F (หรื อใหญ่ กว่ ำ)
ทำกำรดูดเสมหะในปำกและจมูก
สำยดูดเสมหะ (ขนำด 5F, 6F หรื อ 8F ขึน
้ กับขนำด
ท่ อช่ วยหำยใจ)
3.5 - 4
ขนำดท่ อช่ วย
หำยใจ
ขนำดสำยดูด
เสมหะ
2.5
5F หรื อ 6F
3.0
6F หรื อ 8F
3.5
8F
4.0
8F หรื อ 10F
ตารางความลึก
ของท่ อช่ วยหายใจ
โดยประมาณจาก
ริมฝี ปากของ
ทารกตามน้าหนัก
ของทารก
เมื่อใส่ ท่อช่ วยหายใจ ตาแหน่ งปลายสุ ด
ของท่ อช่ วยหายใจควรอยู่ท?ี่
•ส่ วนปลายสุ ดของท่ อช่ วยหายใจควรอยู่
กึง่ กลางของความยาวหลอดลมคอ
ระหว่ าง vocal cords และ carina เมื่อ
เอ็กซเรย์ ปลายท่ อช่ วยหายใจจะอยู่
ความลึกของท่ อ ระหว่ างกระดูกไหปลาร้ า (clavicle) ทั้ง
ช่ วยหายใจ สองข้ างหรือต่ากว่ าเล็กน้ อย
น้าหนั ความลึก •ถ้ าใส่ ท่อช่ วยหายใจลึกเกินไป ท่ อช่ วย
ยึด ET tube ให้ ตดิ แน่ น ดูตาแหน่ งให้ ชัดเจน
ตัดท่ อให้ เหลือควำมยำวประมำณ 3-4 ซม.จำกมุมปำกเพื่อลด dead space
ระวังไม่ ให้ ET tube เลื่อนหลุด หรื อเลื่อนลึก เมื่อมีกำรเคลื่อนย้ ำยตัวทำรก
และดูตำแหน่ งมุมปำกให้ ชัดเจนทุกครั ง้
Atelectasis
Pneumothorax
ป้องกันไม่ ให้ ท่อหักัับ
Cardiovascular system






วัดความดันโลหิตโดยใช้ cuff ขนาดที่เหมาะสม ในขณะที่ทารกสงบหรือหลับ
BP cuff ขนาดที่เหมาะสม คือ มีความกว้ างของ cuff อย่ างน้ อย 2 ใน 3 ของ
ต้ นแขนหรือขา
นับอัตราการเต้ นของหัวใจ และฟังเสี ยง heart sound
ประเมิน perfusion ของผิวหนัง ควร < 3 วินาที
ถ้ ามีความดันโลหิตต่า พิจารณาให้ IV fluid หรือ inotropic drugs ตามสาเหตุ
ระวังการให้ ออกซิเจนในรายทีส่ งสั ย PDA dependent cyanotic heart
disease เพราะจะทาให้ ทารกอาการเลวลง
Vascular access

ปรั บอัตราการไหลของ IV fluid ให้ เหมาะสม
ทารกครบกาหนด 65 ml/kg/day
 ทารกเกิดก่ อนกาหนด 60ml/kg/day



วิธีทดี่ ีทสี่ ุ ดคือ ใช้ infusion pump หรือ syringe pump
บันทึกปริมาณสารละลายทีเ่ หลือในขวดก่อนเดินทาง
Vascular access
• ตรวจสอบตำแหน่ งทีใ่ ห้ IV fluidว่ ำยังใช้ ได้ ดี ไม่ บวม
ไม่ มีเลือดไหลซึมบริเวณข้ อต่ อของสำยต่ ำงๆไม่ หลวมหลุดง่ ำย
Hematologic system





ทบทวนประวัติการเสียเลือด และตรวจหาอาการของการเสียเลือด เช่ น
หัวใจเต้ นเร็ว ความดันโลหิตต่า ซีด
ตรวจร่ างกายหาตาแหน่ งเลือดออกที่ active โดยเฉพาะจากขั้วสะดือทีใ่ ส่
umbilical catheter หรือข้ อต่ อ IV fluid หลุด แล้วมีเลือดออกจากเส้ นเลือดที่
ยังเปิ ดอยู่
ระดับ Hct อาจไม่ ต่า เนื่องจากระยะที่เสี ยเลือดใหม่ ๆ ค่ า Hct อาจยังไม่
เปลีย่ นแปลง
ถ้ ามีประวัติเสี ยเลือดมากและทารกมีอาการ ให้ PRC transfusion ก่อน
ทบทวนประวัติทเี่ สี่ ยงต่ อการเกิดภาวะเลือดข้ น (polycytemia) และตรวจหา
อาการของเลือดข้ น เช่ นสี ผวิ แดงมากกว่ าปกติ ระดับนา้ ตาลในเลือดต่า อาการ
หอบเหนื่อย ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ทำรกต้ องเสียเลือดปริมำณเท่ ำใดจึงเกิดภำวะ SHOCK
ทารกเสี ยเลือดในปริมาณ > 25%ของปริมาณเลือดในร่ างกาย
จะทาให้ เกิดภาวะ shockได้ เช่ น
 ทารกนา้ หนักแรกเกิด 2000กรั ม

 ปริมาณเลือดในร่ างกาย 90ml/kg
= 90ml x 2kg = 180ml
 ปริมาณเลือดที่เสี ยออกจากร่ างกายแล้ วทาให้ เกิดภาวะ shock
= 180ml x 25% total blood volume = 45 ml (ประมาณ 3
ช้ อนโต๊ ะ)
Temperature care
กลไกการสูญเสียความร้ อนมี 4 ประการ คือ
 การนา (conduction)
 การพา (convection)
 การแผ่ รังสี (radiation)
 การระเหยของน้าจากผิวหนัง (evaporation)
ป้ องกันการสูญเสียความร้ อนระหว่ างเดินทาง
 เมือ
่ ทารกมีอุณหภูมกิ ายตา่ (< 36.50c)ให้ แก้ ไขก่ อนส่ งต่ อ เพือ่ ให้ ทารกมี
อุณหภูมกิ าย 370c (36.5-37.50c)
 พิจารณาใช้ ผ้าอ้ อมสาเร็ จรู ป
Hypothermiaทำให้ เกิด?

Hypoglycemia อัตราการเผาผลาญพลังงานเพิม่ มากขึน้ เพือ่ สร้ างความ
ร้ อน โดยนา glycogen ที่สะสมไว้ มาใช้ และใช้ นา้ ตาลในเลือดเร็วกว่ า
ปกติ จึงเกิดภาวะนา้ ตาลในเลือดต่าได้
 Acidosis เกิดจาก brown fat ถูกสลายเพือ
่ ให้ เกิดความร้ อน และfatty
acid และ lactic acid (จากการสลาย glucose ทีไ่ ม่ สมบูรณ์ ) จะเพิม่ ขึน้
ในกระแสเลือด pH ในเลือดต่า เกิดภาวะเลือดเป็ นกรด

Hypoxia ทารกต้ องใช้ ออกซิเจนเพิม่ ขึน้ ในการเพิม่ ความร้ อน เช่ น
Temp. 350C ทารกใช้ O2 > 2เท่ าของ Temp.370C

ถ้ าปอดปกติ ทารกจะเพิม่ RR เพือ่ เพิม่ O2 และจะแสดงหายใจลาบาก
(grunting, nasal flaring, retractions, tachypnea)
กลไกกำรสูญเสียควำมร้ อน
การนา (conduction): เกิดขึน้ เมือ่ ทารกสั มผัสกับวัตถุที่เย็นโดยตรง
 เตียงทารกต้ องอุ่นก่ อนใช้ งาน
 ปูผ้าบนที่นอน หรื อเครื่ องชั่ งที่เย็น
 ระวังผ้ าเปี ยกที่ตด
ิ ตัวเด็ก(ผ้ าอ้ อมและผ้ าปูที่นอน)
 แนะนาให้ ใช้ ผ้าอ้ อมสาเร็ จรู ป
กลไกกำรสูญเสียควำมร้ อน
การพา (convection): เกิดขึน้ ได้ เมื่อมีลมเย็นพัดผ่ านรอบๆตัวทารก
 ลมจากเครื่องปรับอากาศและพัดลม
 ใช้ การเปิ ดหน้ าต่ างแทนการเปิ ดประตูต้ ูอบเด็ก และปิ ดทันที
 เลือกใช้ ออกซิ เจนที่อ่ น
ุ และมีความชื้น
 เช็ดตัวให้ แห้ ง
กลไกกำรสูญเสียควำมร้ อน
การแผ่ รังสี (radiation): เมื่อทารกอยู่ใกล้แต่ ไม่ ได้ สัมผัสกับวัตถุทเี่ ย็น
โดยตรง ทารกจะแผ่ ความร้ อนไปทีว่ ตั ถุทใี่ กล้ทสี่ ุ ด
 ในตู้อบทารกจะเสี ยความร้ อนไปยังผนังของตู้อบซึ่งเย็นเนื่องจาก
อุณหภูมิห้อง
 รั กษาอุณหภูมิในห้ องทารกให้ อ่ น
ุ แม้ ทารกจะอยู่ในตู้อบ
 ใช้ ต้ ูอบทารกผนัง 2 ชั้ น (double wall incubator) ถ้ าเป็ นไปได้
 วางทารกให้ ห่างจากหน้ าต่ างหรือผนังทีเ่ ย็น (crib & single wall incubator)
อาจใช้ ผ้าห่ มทีห่ นาคลุมตู้อกี ชั้น
 ใช้ ผ้าอุ่น หรื อถุงถั่วเขียวอุ่นวางข้ างตัวเด็ก(thermal warming pack)
กลไกกำรสูญเสียควำมร้ อน
การระเหยของน้าจากผิวหนัง (evaporation): เกิดขึน้ เมื่อของเหลว
ระเหยออกจากพืน้ ผิวที่อ่ นุ เมือ่ ทารกตัวเปี ยกจะสู ญเสี ยความร้ อน
เพิม่ ขึน้ อย่ างชัดเจน
 ทาให้ ทารกตัวแห้ ง
 ป้องกันโดยใช้ ถุงพลาสติกหรื อพลาสติกห่ ออาหาร wrap sterile
ห่ อตัวเด็ก
 เปลีย
่ นผ้ าที่เปี ยกทันที เลือกใช้ ผ้าอ้ อมสาเร็จรู ป
Temperature care
Transport incubator

ตั้งอุณหภูมิในตู้เท่ ากับ neutral thermal environment (NTE)

ถ้ าอุณหภูมิของอากาศภายนอกต่า หรือทารกนา้ หนักน้ อยมาก
หรือใช้ single wall incubator or crib ให้ ใช้ แผ่ นพลาสติกครอบตัว
ทารกอีกชั้น และใช้ ผ้าหนาๆคลุมตู้

ไม่ วาง incubator ในตาแหน่ งทีม่ ีลมพัด หรือแอร์ เป่ าโดยตรง

เปิ ดตู้ให้ น้อยทีส่ ุ ดเพือ่ ให้ อุณหภูมิตู้คงที่
Neutral Thermal Environment Temperature (NTE)
Neutral Thermal Environment Temperature (NTE)
•ถ้ ำอุณหภูมขิ องอำกำศภำยนอกต่ำ หรื อทำรกนำ้ หนักน้ อยมำก
•หรื อ single wall incubator/crib
•ให้ ใช้ แผ่ นพลำสติกครอบตัวทำรกอีกชัน้ และใช้ ผ้ำหนำๆคลุมตู้
CNS





ประเมินระดับความรู้สึกตัว
สั งเกตอาการการเคลือ่ นไหวผิดปกติ เช่ น jitteriness หรือชัก
ทบทวนประวัติการใช้ ยาทีม่ ผี ลต่ อระบบประสาท ระดับนา้ ตาลในเลือด
และelectrolyte
ช่ วยหายใจในรายทีร่ ะดับความรู้สึกตัวไม่ ดี
ให้ ยากันชัก ถ้ ามีอาการชัก
Metabolic


ตรวจระดับน้าตาลในเลือด (dextrostix) ถ้ าต่า (DTX<40mg%) ต้ องให้
การรักษา และตรวจซ้าทุกครึ่งชั่วโมง ในระหว่ างเดินทางจนกว่าจะปกติ
ตรวจระดับ electrolyte ก่อนการส่ งต่ อ (ถ้ ามีข้อบ่ งชี้)
ระหว่ ำงรอเคลื่อนย้ ำยนีต้ ้ องพยำยำมให้ สภำวะของทำรกคงที่
มำกที่สุดเท่ ำที่จะทำได้





ทั้งให้ ได้ รับออกซิเจนเพียงพอ
ควบคุมอุณหภูมิกายของทารกให้ คงที่
ความดันโลหิตคงที่
ติดตามตรวจสั ญญาณชีพ ภาวะทางเมตาบอลิกของผู้ป่วย
เหล่านีเ้ ป็ นระยะๆประมาณทุก 30 นาที อาจต้ องเจาะตรวจเลือด ถ่ ายภาพ
รังสี ทรวงอกซ้าตามความจาเป็ นในแต่ ละราย
ระหว่ ำงเคลื่อนย้ ำยทำรกต้ องเฝ้ำระวังให้ สภำวะของทำรกคงที่
มำกที่สุดเท่ ำที่จะทำได้



ติด stethoscope บนหน้ าอกทารกก่อนทาการห่ อตัว เพือ่ วัดอัตราการเต้ น
ของหัวใจได้ ทุก 15-30 นาที ร่ วมกับเฝ้ าสั งเกตสี ผวิ บริเวณใบหน้ าและริม
ฝี ปาก
ตรวจสอบตาแหน่ งทีใ่ ห้ นา้ เกลือว่ าไม่ มีการเลือ่ นหลุดของสายและข้ อต่ อ
รวมทั้งปริมาณ IV fluid ทีไ่ ด้ รับไป ทุก 15-30 นาที
หากทารกอาการเลวลงในระหว่ างทาง ควรพิจารณาหยุดรถเพือ่ ทาหัตถการ
หรือแวะรับความช่ วยเหลือที่โรงพยาบาลใกล้เคียงก่อน
หลักกำรทั่วไปในกำรจัดระบบกำรส่ งต่ อทำรก



มีการติดต่ อประสานงานระหว่ างผู้ส่งและผู้รับ ก่ อนทาการส่ งต่ อทุกครั้ง
ผู้ส่งต่ อควรเลือกโรงพยาบาลรับส่ งต่ อที่มีขดี ความสามารถในการแก้ ปัญหาของทารกได้
โทรศัพท์ ติดต่ อแจ้ งข้ อมูลกับโรงพยาบาลที่รับส่ งต่ อ












ประวัติ อาการเจ็บป่ วยปัจจุบัน การวินิจฉัย
การรักษาที่ทารกได้ รับและการดาเนินโรค
เวลาที่จะออกเดินทางและคาดว่าจะไปถึง
ชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ ของแพทย์ หรือพยาบาลผู้ส่งต่ อที่สามารถติดต่ อกลับได้ โดยตรง
แพทย์ หรือพยาบาลที่ตอบรับทารกให้ คาแนะนาเกีย่ วกับการรักษาที่ควรได้ รับเพิม่ เติม และการแก้ ไข
ปัญหาที่คาดว่ าอาจเกิดขึน้ ระหว่ างเดินทาง
แจ้ งบิดา มารดา หรือญาติของทารกให้ ทราบถึงเหตุผลและขอความยินยอมที่จะส่ งต่ อ
ให้ บิดามารดามีโอกาสได้ เห็น หรือสั มผัสทารก และอธิบายสภาวะทารกให้ ทราบเป็ นระยะ
ควรมีบิดา มารดา หรือญาติเดินทางไปพร้ อมกับทารกด้ วย
ทารกที่อยู่ในภาวะวิกฤตต้ องได้ รับการแก้ ไขที่จาเป็ นเพือ่ ให้ อาการคงที่พอสมควรก่ อนส่ งต่ อ ไม่ รีบส่ ง
เพียงเพือ่ ให้ พ้นจากสถานพยาบาลของตน
บุคลากรที่นาส่ งต่ อสามารถให้ การดูแล แก้ ปัญหา และให้ การรักษาที่จาเป็ นแก่ ทารกขณะเดินทางได้
มีการเฝ้ าระวังและติดตามอาการ สั ญญาณชีพของทารกในขณะเคลือ่ นย้ ายทุก 15-30 นาที
ให้ ความอบอุ่นแก่ ทารกอย่ างเพียงพอ
กำรปฏิบัตกิ ับบิดำมำรดำของทำรกที่จะเคลื่อนย้ ำยส่ งต่ อ
(Caring for Parents of Transported Babies)

วิธีการส่ งเสริมการสร้ างสายสั มพันธ์ ระหว่ างบิดามารดากับทารก
 การให้ บิดามารดาได้ เห็น ได้ สัมผัสลูกของตน (Seeing and touching)
การได้ เห็นหรือสั มผัสลูกจะลดความทุกข์ ระทมได้ เร็วกว่ าการปล่อยให้
บิดามารดาไม่ ได้ รู้ ไม่ ได้ เห็น ไม่ ได้ สัมผัส ได้ แต่ จินตนาการเอาเอง
 เครื่ องมือ อุปกรณ์ ช่วยชี วต
ิ ต่ างๆ ทีใ่ ช้ อยู่กบั ทารกอาจทาให้ บิดามารดา
กลัว วิตกกังวลได้ มาก การอธิบายพอเป็ นสั งเขปจะช่ วยลดปัญหา
ดังกล่าว
 การพูดคุย อธิบายให้ บิดามารดาได้ เข้ าใจสภาพความเป็ นไปของโรค
อย่ างตรงไปตรงมา
กำรปฏิบัตกิ ับบิดำมำรดำของทำรกที่จะเคลื่อนย้ ำยส่ งต่ อ
(Caring for Parents of Transported Babies)


ข้ อมูลสภาวะทีเ่ กีย่ วข้ องกับทารกทีค่ วรบอกกับสมาชิกในครอบครัว ต้ องชัดเจน
แจ่ มแจ้ ง อธิบายซ้าๆเป็ นเรื่องจาเป็ น ข้ อมูลสาคัญต้ องอธิบายอย่ างตรงไปตรงมา
แต่ ไม่ จาเป็ นต้ องอธิบายภาวะแทรกซ้ อนต่ างๆโดยละเอียดไปหมดก่อนเกิดขึน้
จริง
จะทาอย่ างไรกับกรณีทบี่ ิดามารดามีความต้ องการพิเศษนอกเหนือจากปกติ
 ถ้ าทาได้ ควรมีพน
ื้ ทีแ่ ยกเฉพาะ ทาให้ ไม่ ต้องเผชิญกับสิ่ งแวดล้อมจากบิดา
มารดาคู่อนื่ ๆทีม่ ีลูกปกติ หรือป่ วยน้ อยกว่ า
 ระยะเวลาในการเยี่ยมเด็กที่ไม่ จากัดจะช่ วยลดความตึงเครียดของบิดา
มารดา ถ้ าทารกส่ งต่ อไปแล้ว ควรเปิ ดโอกาสให้ มารดาได้ รับข้ อมูลทาง
โทรศัพท์ จากบุคลากรในสถานพยาบาลทีท่ ารกอยู่
บทสรุ ป
สนับสนุนให้ บิดามารดาได้ เห็น และสั มผัสทารก
 ให้ ข้อมูลสภาวะของเด็กที่เป็ นจริ ง ซ้าๆ แก่ บิดามารดา
 ควรบอกข่ าวร้ ายต่ อเมื่อมีภาวะแทรกซ้ อนเกิดขึน
้ จริง
 ต้ องทราบข้ อมูลที่ทีมเคลือ
่ นย้ ายส่ งต่ อให้ แก่ บิดามารดา
 พยายามจัดหาห้ องให้ มารดาได้ อยู่เป็ นส่ วนตัว
 ให้ ยด
ื หยุ่นเวลาในการเยีย่ มทารก
 พูดคุยให้ กาลังใจบิดามารดาและสมาชิ กในครอบครั ว
 ถ่ ายภาพและพิมพ์ ลายฝ่ าเท้ าของทารกมอบให้ หากบิดามารดา
ต้ องการ

Thank You
A&B: Airway & Breathing
 C: Circulation & Vascular access
 D: Disability
 E: Exposure/Environment control
 F: Fluid & Lines stabilization &
management
 G: Give comfort measures
 H: History & head to toe examination
 I: Inform consent & information record/
communication

A&B: Airway & Breathing





ประเมินทั้ง upper และ lower airway (lung
parenchyma)
Cyanosis, oxygen saturation,
Respiratory failure: grunting, flaring ala nasi,
chest wall retraction, apnea
Blood gas
Monitoring
Basic check & preparedness prompt
to transfer

ควรเตรี ยม และเช็คอุปกรณ์ ยา สารน้ าและเครื่ องมือต่างๆให้พร้อมอยู่
เสมอ เช่น ออกซิเจน แบตเตอรี่ ของเครื่ องมือ laryngoscope
infusion pump เครื่ องดูดเสมหะ transport incubator