การ บริการ สาธารณะ โดย ยึด ประชาชน

Download Report

Transcript การ บริการ สาธารณะ โดย ยึด ประชาชน

Slide 1

การบริการสาธารณะโดยยึด
ประชาชนเป็ นหลัก
ดร. กฤษณา เชยพันธุ์
ผู้อานวยการสานักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 8 ราชบุรี
สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม


Slide 2

สาระสาคัญการบรรยาย

5.

บทนา
ความหมายบริการสาธารณะ
วิวฒ
ั นาการของบริการสาธารณะ
กฎหมายทีเ่ กีย่ วกับการบริการสาธารณะ
การมีส่วนร่ วมของท้ องถิ่นและประชาชนต่ อกิจกรรมบริการสาธารณะ

6.

การสร้ างเครือข่ ายการมีส่วนร่ วมของประชาชนต่ อการบริการสาธารณะ

7.

การใช้ บริการสาธารณะของประชาชนด้ านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อม ภายใต้ แนวคิดเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน

1.

2.
3.
4.


Slide 3

1. บทนำ
ประเทศต่างๆ กาลังเร่ งรี บปรับตัวเพื่อรองรับการ
เปลี่ยนแปลงกับสิ่ งที่มากับ“โลกาภิวตั น์” เช่น
อิทธิพลจากแรงกดดันของกระบวนการพัฒนา
ของประเทศที่เจริ ญแล้ว
่ บั ระบบ
 ด้วยเหตุน้ ี ประเทศไทยจึงไม่อาจติดอยูก
ราชการระเบียบวิธีการ และโครงสร้างองค์การ
แบบเดิมเพื่อบริ หารจัดการกับปัญหาสังคมที่
ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้



Slide 4

“การบริการสาธารณะโดยยึด
ประชาชนเป็ นหลัก”
 การบริหารการปกครองก็ต้องมีการปรับเปลีย่ นกฎ

ระเบียบ และขั้นตอนต่ างๆ ตลอดจนนาเทคนิควิธีการ
สมัยใหม่ เข้ ามาใช้ เพือ่ พัฒนาองค์ การให้ มีศักยภาพใน
การให้ บริการ สร้ างสั งคมให้ น่าอยู่ และยกระดับ
คุณภาพชีวติ ของประชาชนให้ ทดั เทียมคุณภาพชีวติ
ของประเทศที่เจริญแล้ ว


Slide 5

“การบริการสาธารณะโดย
ยึดประชาชนเป็ นหลัก”
 “การบริหารจัดการท้ องถิ่นที่ด”ี จะต้องมีการเตรี ยมการพัฒนา

ทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะศักยภาพของผูน้ าองค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงแนวคิดด้าน “การบริ หาร
จัดการท้องถิ่นที่ดี” และการเสริ มสร้างศักยภาพผูน้ าเพื่อเสริ มสร้าง
สมรรถนะขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น


Slide 6

ความหมายและจุดมุ่งหมายทีเ่ กีย่ วกับ
“บริ การสาธารณะ”
 บริการสาธารณะ หมายความถึง กิจการทีอ่ ย่ ใู นความ

อานวยการ หรื อในความควบคมุ ของฝ่ ายปกครอง ทีจ่ ดั ทา
เพือ่ สนองความต้ องการของประชาชน


จุดมุ่งหมายของการบริการสาธารณะ คือการสนองความ
ต้ องการของประชาชน


Slide 7

การบริการสาธารณะที่ท้องถิน่ เข้ าไปดาเนินการ
1.
2.

กิจการทีจ่ ัดทาเพือ่ คุ้มครองประชาชน เช่นการรักษาความ
สงบเรี ยบร้อย การสงวนรักษาสาธารณสมบัติของรัฐ
กิจการทีจ่ ัดทาเพือ่ บารุงส่ งเสริม กิจการสาธารณูปโภค,
กิจการสาธารณูปการ


Slide 8

รู ปแบบการจัดทาบริการสาธารณะ
การจัดทาบริการสาธารณะ มี 3 รู ปแบบ คือ
1. ราชการ (ฝ่ ายปกครองดาเนินกิจการนั้นๆ)
2. รัฐวิสาหกิจ (หน่วยงานของรัฐที่ไม่ใช่
ส่ วนราชการเป็ นผูด้ าเนินการ)
3. เอกชน (สัมปทาน)


Slide 9

การบริ การสาธารณะ มีลักษณะสาคัญ 4 ประการคือ
1.

2.
3.
4.

เป็ นกิจการทีอ่ ยู่ในความอานวยการหรืออยู่ในความควบคุม
ของฝ่ ายปกครอง
ต้ องมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ สนองประโยชน์ สังคมส่ วนรวม
การแก้ ไขเปลีย่ นแปลงได้ โดยกฎหมาย
ต้ องดาเนินกิจการอยู่เป็ นนิจและโดยสม่าเสมอ


Slide 10

วิวฒ
ั นาการของบริการสาธารณะ
 วิวฒ
ั นาการของบริการสาธารณะทีย่ งิ่ ใหญ่ ทสี่ ุ ดคือเหตุการณ์

ภายหลังการปฏิวตั ิในฝรั่งเศส
 การเปลีย่ นแปลงการบริ การสาธารณะทีส
่ าคัญทีส่ ุ ดก็คอื หลัง

สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก มีการขาด
แคลนสิ่ งอุปโภค บริโภคอย่ างมากทาให้ แต่ ละประเทศเห็นความ
จาเป็ นของการจัดทาบริการสาธารณะ


Slide 11

วิวฒ
ั นาการบริการสาธารณะ
ในเมืองไทย

ได้เกิดขึ้นมานานแล้วตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา หน่วยงานที่จดั ว่าเป็ น
บริ การสาธารณะคือ เวียง มีหน้าที่รักษาสันติสุขของราษฎรและป้ องกัน
ประเทศ
่ วั รัชกาลที่ 5 ทรงปรับปรุ ง
 สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห
การปกครองเป็ นกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ มีหลายกระทรวงที่เกี่ยวกับ
การบริ การสาธารณะ ทรงมีพระราชดาริ ให้จดั ตั้งสุ ขาภิบาลขึ้น
 พระราชกาหนดสุ ขาภิบาลขึ้นในกรุ งเทพฯ ในปี พ.ศ. 2440 และต่อมา
ในปี พ.ศ. 2448 ได้จดั ตั้งสุ ขาภิบาลท่าฉลอม



Slide 12

การจัดทาบริการสาธารณะในรู ปแบบ
ราชการ
 บริกำรสำธำรณะส่วนกลำงทาขึน้ เพือ่ ประโยชน์ ส่วนรวมของ
ประชาชนทั้งประเทศเช่ น การรักษาความสงบ การป้ องกันประเทศ การป้องกัน
สาธารณภัย การคมนาคม การชลประทาน การศึกษา ฯลฯ

 บริกำรสำธำรณะส่วนภูมิภำคจะจัดทาตามเขตการปกครอง
ต่ างๆ โดยอยู่ภายใต้ บังคับของราชการส่ วนกลาง

 บริกำรสำธำรณะส่วนท้องถิ่นจะจัดทาเพือ่ สนองความต้ องการ
ส่ วนรวมของประชาชนเฉพาะในเขตท้ องถิ่นนั้น องค์ การบริหารส่ วนท้ องถิ่นเป็ น
ผู้ดาเนินการ มีอสิ ระ ราชการบริหารส่ วนกลางเป็ นเพียงผู้ดูแล


Slide 13

ลักษณะสำคัญของกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะ
แบบรำชกำร
1.

2.
3.

4.

ความเกี่ยวพันระหว่ างเจ้ าหน้ าที่ผ้ ูจัดทาบริ การสาธารณะกับฝ่ ายปกครอง มีความ
เกี่ ย วพั น กั น ในรู ป แบบของกฎหมายมหาชน คื อ ฝ่ ายปกครองมี อ านาจเหนื อ
เจ้ าหน้ าที่
การปฏิบัติหน้ าที่ของเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายปกครอง ฝ่ ายปกครองมีอานาจเหนือเอกชนโดย
กฎหมายได้ ให้ อานาจไว้ เช่ นอานาจการเวนคืน
ทรั พย์ สินที่ใช้ จัดทาบริ การสาธารณะ จะต้ องมีกฎหมายคุ้มครอง(การใช้ การเก็บ
การขาย การโอน) และจะยึดหรือบังคับไม่ ได้

เป็ นกิจการที่ประชาชนไม่ตอ้ งเสี ยค่าตอบแทนโดยตรง แต่จะเสี ยในรู ป
ของภาษีอากร

ข้ อเสี ย ของการจัดทาบริ การสาธารณะแบบราชการ การดาเนินงานที่ล่าช้ า เนื่ องจากมี
ขั้นตอนมากและ เจ้ าหน้ าที่ของรัฐขาดความกระตือรือร้ นในการดาเนินงาน


Slide 14

การจัดทาบริการสาธารณะใน
รูปรัฐวิสาหกิจ







รั ฐวิสาหกิจ หมายความว่ า บริ ษัท หรื อ ห้ างหุ้นส่ วนนิติบุคคล ซึ่ ง
ทุนทั้งสิ้นเป็ นของรัฐ หรือรัฐมีทุนรวมอยู่มากกว่ า 50%
เพื่ อ สร้ า งความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ แก่ ป ระเทศ จึ ง จัด ท าบริ ก าร
สาธารณะ ซึ่ งไม่ เ กี่ ย วกับ ความมั่น คงหรื อ ปลอดภัย ขึ้ น โดยน า
ระบบปฏิบตั ิงานที่ไม่ถือระเบียบแบบแผนราชการมาใช้
การจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งโดย พระราชบัญญัติ (การรถไฟ,
ปตท, ทศท, ทอท) / จัดตั้งโดยพระราชกฤษฎีกา (ททท, อสมท)
/ จัดตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี (สนง.ฉลากกินแบ่ ง, โรงงานยาสู บ)
การดาเนินงานในรัฐวิสาหกิจรู ปคณะกรรมการ มีร.ม.ต กระทรวง
นั้นๆเป็ นประธาน มีหน้ าที่วางนโยบาย วางข้ อบังคับ ควบคุมดูแล
ทัว่ ไป


Slide 15

วิธีการมอบบริ การสาธารณะให้เอกชนจัดทา
1. การให้ ผูกขาด คือการทีฝ่ ่ ายปกครองให้ เอกชนรับจัดทาบริการสาธารณะ
บางอย่ างไปจัดทาได้ แต่ ผ้เู ดียวในระยะเวลาหนึ่งโดยมีข้อสัญญาว่ า
เอกชนจะต้ องจ่ ายเงินจานวนหนึ่งให้ แก่รัฐ
2. การให้ สัมปทาน คือการที่ฝ่ายปกครองให้ เอกชนรับจัดทาบริการ
สาธารณะ ด้ วยทุนทรัพย์ และความเสี่ ยงภัยของเอกชน และให้ สิทธิที่
จะเรียกเก็บค่ าบริการหรือค่ าตอบแทนจากผู้ใช้

การให้ สัมปทานบริการสาธารณะเป็ นสั ญญาในทางปกครอง
ต่ างจากสั ญญาธรรมดา


Slide 16

นโยบายปัญหาและการควบคุมการจัดทา
บริการสาธารณะ
 นโยบายของรัฐในการดาเนินการบริการสาธารณะได้

กาหนดไว้ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติฉบับ
ที่ 2 เน้ นความสาคัญของภาคเอกชน ฉบับที่3 เน้ นใน
ด้ านการมีส่วนร่ วมของราชการทั้งส่ วนกลาง ส่ วนภูมภิ าค
และส่ วนท้ องถิ่น ฉบับที่4 มีนโนบายทีจ่ ะแก้ ไข
ข้ อบกพร่ องและปัญหาด้ านบริการและการบริหารงาน
เงินทุนทีใ่ ช้ จัดทาบริการสาธารณะ ส่ วนใหญ่ แล้ วจะใช้ จาก
งบประมาณของรัฐ


Slide 17

แหล่งเงินทุนของการบริการสาธารณะ
เงินทุนของราชการ มาจาก
แหล่งต่างๆดังนี้

เงินงบประมาณรายปี


 เงินกู้(ภายใน ภายนอก

ประเทศ)

 เงินทุนของรัฐวิสาหกิจ มาจาก

แหล่งต่างๆดังนี้
 งบลงทุนของรัฐวิสาหกิจมาจาก
งบประมาณแผ่นดิน
 จากเงินกู้ภายในและ
ต่างประเทศ
 จากรายได้ของรัฐวิสาหกิจ(รายได้
ทีไ่ ด้ ค่าตอบแทนการใช้ บริการจาก
ประชาชน)


Slide 18

ปัญหาที่เกี่ยวกับการ
จัดทาบริการสาธารณะ
1. ส่ วนราชการ มีปัญหาด้ านการศึกษา ด้ านสาธารณสุ ข ด้ านสวัสดิการ
สงเคราะห์
 2. รัฐวิสาหกิจ มีปัญหาทีร่ ะบบการทางานคล้ ายคลึงกับข้ าราชการทาให้ การ
ดาเนินงานไม่ คล่องตัวสมกับความมุ่งหมายของการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ คือ
ปัญหาการแต่งตั้งผูบ้ ริ หาร ซึ่งไม่ได้คานึงถึงผลงานและความสามารถ
รัฐวิสาหกิจบางประเภทตั้งผูบ้ ริ หารโดยไม่คานึงถึงความสามารถในการ
บริ หารงาน และกฎหมายแรงงาน รัฐวิสาหกิจอยูภ่ ายใต้กฎหมายแรงงาน
เหมือนเอกชน บางทีกาหนดสิ ทธิไว้เกินขอบเขตการกาหนดอัตราเงินเดือน
พนักงานรัฐวิสาหกิจเงินเดือนสูงกว่าข้าราชการมาก ทาให้รายจ่ายมากกว่า
ข้าราชการ และยังมีโบนัสด้วย



Slide 19

ปัญหาที่เกีย่ วกับการจัดทาบริการสาธารณะ (ต่ อ)
3. เอกชนทีไ่ ด้ รับสั มปทานบริการสาธารณะ เอกชนมักจะเพิ่ม
ค่ าบริการอยู่เสมอ และถึงแม้ ฝ่ายปกครองจะมีอานาจควบคุม
แต่ กไ็ ม่ ได้ เข้ าควบคุมอย่ างใกล้ชิด กิจการบางอย่ างเอกชนใช้
เป็ นข้ อต่ อรองกับรัฐบาลในการเรียกร้ องต่ างๆ อาจเกิดความ
เดือดร้ อนกับประชาชนและเกิดความไม่ สงบภายในประเทศ


Slide 20

กฎหมำยที่
เกี่ยวกับ
กำรบริกำร
สำธำรณะ



กฎหมายมหาชน คือ มุ่งในการคุ้มครองสิ ทธิ
เสรีภาพ รวมถึงผลประโยชน์ ของประชาชนอัน
เกีย่ วกับการบริการสาธารณะ



กฎหมายมหาชน คือ บัญญัติเกีย่ วกับการใช้
อานาจ และหน้ าที่แก่ หน่ วยงานของรัฐ หรือ
เจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐ ในการปกครองประเทศและ
การบริการสาธารณะ โดยมีองค์ กร หลักเกณฑ์
และกระบวนการ ในการตรวจสอบ และ
ควบคุม การใช้ อานาจตามหน้ าที่ ทีก่ ฎหมาย
กาหนดไว้ ด้วย


Slide 21

จาก “พรบ.กาหนดแผนและการกระจาย
อานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน
การจัดระบบบริการสาธารณะ พ.ศ. 2542”
“มาตรา 17ให้ อบจ. มีอานาจและ หน้ าที่ในการ
จัดระบบบริการสาธารณะเพือ่ ประโยชน์ ของ
ประชาชนในท้ องถิน่ ของตนเอง อาทิเช่ น

การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิน่
การคุ้มครอง ดูแลทรั พยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้ อม การป้ องกันมลพิษ
การจัดการศึกษา พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม
การส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของราษฎรในการพัฒนา
ท้ องถิ่น
ฯลฯ


Slide 22

การมีส่วนร่ วมของประชาชนต่ อกิจกรรมบริการสาธารณะ







การกระจายอานาจสู่ ท้องถิ่นในช่ วงเวลา 10 ปี (พ.ศ. 2544-2554) คณะกรรมการ
กระจายอานาจให้ แก่ท้องถิ่นได้ กาหนดวิสัยทัศน์ ไว้ ว่า ประชาชนในท้ องถิ่นจะมี
คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้
ประชาชนเข้ ามามีส่วนร่ วมในการกาหนดบทบาท การตัดสิ นใจ การกากับดูแล
การตรวจสอบ ตลอดจนการสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมขององค์ กรปกครอง
ส่ วนท้ องถิ่น
อปท. มีการพัฒนาศักยภาพทางด้ านการบริหารจัดการและการคลังท้ องถิ่นที่
พึง่ ตนเอง และเป็ นอิสระมากขึน้
ผูบ้ ริ หารท้องถิ่นจะเปลี่ยนบทบาทจากฐานะผูจ้ ดั ทาบริ การสาธารณะมาเป็ น
ผูอ้ านวยการการบริ หารจัดการ “กิจการบริ การสาธารณะ”


Slide 23

การส่ งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม เป็ นอานาจหน้ าที่
ขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น

 กระทรวง ทส.ได้ มีดาเนินการเปิ ดรับกระบวนการมีส่วน

ร่ วมขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นที่และประชาชนใน
การกาหนดนโยบายบริการสาธารณะ เพือ่ สนองตอบการ
ส่ งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม ตลอดช่ วงทีผ่ ่ านมา
ในหลายโครงการ


Slide 24

การมีส่วนร่วมการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม








การพัฒนาเครือข่ ายองค์ กรชุ มชนเพือ่ ฟื้ นฟู
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อมในพืน้ ทีล่ ่ ุมนา้
การส่ งเสริมการสร้ างเครือข่ ายอาสาสมัครพิทกั ษ์
สิ่ งแวดล้ อมเพือ่ การแลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ เกิด
ความเข้ มแข็งภายในเครือข่ ายและระหว่ างเครือข่ ายในการ
เฝ้ าระวังคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม
เครือข่ ายจัดการมูลฝอยแบบครบวงจร เสริมสร้ างจิตสานึก
ของประชาชนในการคัดแยกขยะและนากลับมาใช้ ประโยชน์
จัดตั้งกลุ่มเครือข่ ายการอนุรักษ์ ทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่ง
จัดตั้งหมู่บ้านอนุรักษ์ ต้นนา้ หมู่บ้านพิทกั ษ์ ป่าเพือ่ ชีวติ และ
เครือข่ ายไฟป่ า


Slide 25

การสร้ างเครือข่ ายการมีส่วนร่ วมของประชาชนต่ อการ
บริการสาธารณะ
การส่ งเสริมเครือข่ ายมีกระบวนการดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.

กาหนดข้ อตกลงร่ วมกัน
จัดทาวิสัยทัศน์
จัดทาแผนปฏิบัติการระดับท้ องถิ่น
ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการบนพืน้ ฐานการมีส่วนร่ วม
และ
การติดตามประเมินผลโดยมีตวั ชี้วดั


Slide 26

เป้ าหมายการให้บริการสาธารณะ
ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศดีขนึ้
 ประชาชนทุกภาคส่ วนมีนา้ คุณภาพเหมาะสมใช้ อย่ างพอเพียง
ภายใน 5 ปี
 คุณภาพสิ่ งแวดล้ อมของประเทศดีขน
ึ้
 ระบบข้ อมูลด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อมมีความ
สมบูรณ์ ทันสมัย และเป็ นปัจจุบันอยู่เสมอ



Slide 27


นโยบายและแนวทางด
าเน

การ
เป้ าหมายการให้บริการสาธารณะ (ต่อ)
ทีส่ าคัญ 9 ประการ


แหล่ งความรู้ แหล่ งนันทนาการ องค์ ความรู้ และกระบวนการ
เรียนรู้ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม สาหรับ
ประชาชนได้ รับการพัฒนาอย่างต่ อเนื่อง



ประชาชนมีคุณภาพชีวติ ดีขนึ้ และมีส่วนร่ วมในการดูแล
รักษาจัดการ และใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมของประเทศอย่างยัง่ ยืน


Slide 28

แนวทางการดาเนินการ
แนวทางที่ 1 พัฒนาองค์ กรและระบบบริ หารจัดการให้
ทันกับการเปลี่ยนแปลง
 พัฒนากลไกและระบบการบริหารให้ มี
ประสิ ทธิภาพทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับของประชาชนและทุก
ภาคส่ วน
 พัฒนาข้ อมูลและแหล่ งการเรียนรู้ ให้ ตอบสนองต่ อ
ความต้ องการของประชาชน
 การเพิม
่ ประสิ ทธิภาพการบริหารและบริการโดยใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารที่ทนั สมัย


Slide 29

แนวทางการดาเนินการ(ต่ อ)
แนวทางที่ 2 สงวน อนุรักษ์ ฟื้ นฟู และจัดการการใช้ ประโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติ
 สงวน อนุรักษ์ ฟื้ นฟู จัดการการใช้ ประโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติโดยวิธีบูรณาการในเชิงรุ ก
 ส่ งเสริมให้ ประชาชนเข้ ามีส่วนร่ วมในการใช้ ประโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็ นธรรมและยัง่ ยืน
 สร้ างระบบและเครือข่ ายเพือ่ เฝ้ าระวัง และแจ้ งเตือนภัย
ประชาชนในพืน้ ที่เสี่ ยงภัยและภัยธรรมชาติ


Slide 30

แนวทางการดาเนินการที่ 3 ฟื้ นฟูสิ่งแวดล้ อมป้ องกัน
และลดมลพิษ


1.
2.

โดยมุ่งเน้ นให้ ประชาชนได้ รับการบรรเทาความเดือดร้ อนจาก
ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมและอยู่ในสิ่ งแวดล้ อมทีด่ ี และประชาชนมี
ส่ วนร่ วมในการป้องกัน ฟื้ นฟูสิ่งแวดล้ อม โดย
สร้ างกลไกและระบบเรื่องราวร้ องทุกข์ ด้านสิ่ งแวดล้ อม
ส่ งเสริมทุกภาคส่ วนมีส่วนร่ วมในการฟื้ นฟูดูแลรักษา
สิ่ งแวดล้ อม


Slide 31

การให้ บริการสาธารณะของประชาชนด้ านการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม ภายใต้ แนวคิดเพือ่ การพัฒนา
ที่ยงั่ ยืน






รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ทีก่ าหนดให้ มีการ
กระจายอานาจและให้ ประชาชน ชุ มชน องค์ กรปกครองส่ วน
ท้ องถิ่นมีบทบาทร่ วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม
แผนแม่ บทของโลกด้ านสิ่ งแวดล้ อมเพือ่ สร้ างการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน
ได้ กาหนดกิจกรรมต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการพัฒนาในมิตดิ ้ าน
เศรษฐกิจ สั งคม และสิ่ งแวดล้ อมอย่ างสมดุล มุ่งเน้ นการพัฒนา
เศรษฐกิจทีร่ ับผิดชอบต่ อสั งคม
การคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม ควรเปิ ดโอกาส
ให้ กลุ่มต่ างๆ เข้ ามามีส่วนร่ วม เพือ่ ก่ อให้ เกิดการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
ร่ วมกัน และเพือ่ ประโยชน์ ของคนรุ่ นต่ อๆไป


Slide 32

สรุป
 ตั้งแต่ มก
ี ารกระจายอานาจให้ แก่ องค์ กรปกครองส่ วน

ท้ องถิ่นพ.ศ.2543 นั้น เป้าหมายหนึ่งได้ แก่ การถ่ ายโอน
ภารกิจในการจัดบริการสาธารณะของรัฐให้ แก่ องค์ กร
ปกครองส่ วนท้ องถิ่น


Slide 33

การจัดบริการสาธารณะ
การจัดบริการสาธารณะของรัฐให้ แก่ องค์ กรปกครองส่ วน
ท้ องถิ่น ซึ่งมีท้งั ทีท่ ้ องถิ่นทาอยู่แล้ ว และทีจ่ ะต้ อง
ดาเนินการต่ อไป แต่ ต้องเพิม่ ปริมาณและคุณภาพ
มาก กว่ าเดิม เช่ น การศึกษา เป็ นต้ น หรือภารกิจที่
ท้ องถิ่นไม่ เคยให้ บริการแต่ จะต้ องเริ่มเป็ นผู้ให้ บริการ
และดาเนินการเอง


Slide 34

การจัดการบริการสาธารณะเพื่อการ
พัฒนาอย่างยังยื
่ น
เพือ่ ให้ อปท. สามารถรับโอนและดาเนินการตามภารกิจ
ต่ อไปได้ น้ัน จะต้ องมีการแก้ไข
กฎหมาย ระเบียบ หรือคาสั่ งเพือ่ รองรับอานาจ
หน้ าทีข่ อง อปท.


Slide 35

ภาพรวม ความก้ าวหน้ าหรือถอยหลังของการกระจาย
อานาจ โดยสรุ ปแล้ วมีดงั นี้


การยอมรับของกระทรวง ทบวง กรม เริ่มเปลีย่ นไปในทางที่
ดีขนึ้ เพราะแรงต่ อต้ านในเรื่องนีล้ ดน้ อยลง และเริ่มมี
แนวโน้ มทีจ่ ะเป็ นไปในทิศทางทีด่ ขี นึ้



องค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นเริ่มมีการพัฒนาที่ดี
ขึน้ โดยเฉพาะการพัฒนาประสิ ทธิภาพการทางานและการ
จัดการบริการสาธารณะ



บทบาทท้ องถิ่นมีความชัดเจนมากขึน้ หลังจากที่ ได้ มี
ประกาศเรื่องการกาหนดอานาจและหน้ าทีก่ ารจัดระบบ
บริการสาธารณะของอบจ. เมือ่ วันที่ 13 สิ งหาคม 2547


Slide 36

ภาพรวม ความก้ าวหน้ าหรือถอยหลังของการ
กระจายอานาจ โดยสรุปแล้ วมีดงั นี้ (ต่ อ)
4. ประชาชนในท้องถิ่นมีความตื่นตัวทางการเมืองมาก
ขึ้น โดยเฉพาะการติดตามตรวจสอบการทางาน
ขององค์กร ปกครองส่ วนท้องถิ่นทั้งโดยตรงและ
โดยอ้อม เช่น ผ่านทางสภาท้องถิ่น
5. เจตนารมณ์ทางการเมืองของรัฐบาลมีความชัดเจน
มากขึ้น แต่ในทางปฏิบตั ิทาได้มากน้อยแค่ใหน
เป็ นอีกเรื่ องหนึ่ง ดังเช่นกรณี ของการเพิ่มรายได้
ให้กบั อปท. ร้อยละ 35 ในปี 2549 ที่เป็ น
เป้ าหมายแต่ในปี 2548 เพิ่งดาเนินการ ได้เพียง
ร้อยละ 23.5 เท่านั้น


Slide 37

ปัจจัยการจัดการบริการสาธารณะความก้ าวหน้ าหรือ
ถอยหลังของท้ องถิ่น
1.ความเหมาะสมกับขนาดของภารกิจทีถ่ ่ ายโอน
ให้ กบั อปท. และงบประมาณทีจ่ ัดสรรให้
แต่ ละท้ องถิ่น
2. การมีส่วนร่ วมของประชาชนใน อปท. ยังมี
น้ อยมาก อันเนื่องมาจากการขาดกลไกใน
การทางานของท้ องถิ่นยังไม่ เพียงพอและ
มีประสิ ทธิภาพที่จะดึงให้ มีส่วนร่ วมของ
ประชาชน


Slide 38

ปัจจัยการจัดการบริการสาธารณะความก้ าวหน้ าหรือถอยหลังของ
ท้ องถิ่น
3.ในส่ วนของราชการที่เกีย่ วข้ อง ยังไม่ สามารถตอบสนองเจตนารมณ์ ของ
คณะกรรมการ กระจายอานาจที่ได้ วางไว้ และส่ วนราชการที่มีหน้ าที่
สนับสนุนการกระจายอานาจ เช่ น สานักงบประมาณ ขณะนีย้ งั ไม่ สามารถ
ยุติเรื่องการแต่ งตั้ง ปปช. และกสช. กทช. ทีล่ ้วนแล้วแต่ มีประเด็นการเมือง
มาเกีย่ วข้ องด้ วยทั้งสิ้น
4. คณะกรรมการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น รวมทั้ง
สานักงานคณะกรรมการกระจายอานาจ ยัง ไม่สามารถจัดทาคู่มือการ
ทางานและคู่มือมาตรฐานการทางานให้กบั อปท. ได้ เพราะต้องไป ทางาน
ด้านธุรการเสี ยส่ วนใหญ่ รวมทั้งทางานเชิงรับมากกว่าเชิงรุ ก


Slide 39

ประเด็นสาคัญสุ ดท้ าย
การเตรียมงานหรือการถ่ ายโอนบุคลากรไปพร้ อมกับ ภารกิจนั้น ไม่
สามารถดาเนินการตามแผนได้ เพราะความต้ องการบุคลากรของ
ท้ องถิ่นกับข้ าราชการทีจ่ ะโอนไม่ ตรงกัน เนื่องจากในข้ อเท็จจริงหาก
พิจารณาในเชิงคณิตศาสตร์ คือปริมาณ สามารถทาได้ แต่ ในเชิงการ
บริหารและการจัดการล้มเหลวโดยสิ้นเชิง เพราะการถ่ ายโอน คนเกิด
จากปัจจัยผลักมากกว่ าปัจจัยดูด
 ผูบ
้ ริ หารให้ความสาคัญกับการพัฒนา “คน” ซึ่งเป็ น ทรัพยากรที่สาคัญ
ในการขับเคลื่อนภารกิจที่จะรับโอนน้อย ความหวังที่จะให้การกระจาย
อานาจคืบหน้าไปไม่ได้ เพราะด้วย อปท. ยังคงคานึงถึงเสถียรภาพ
ทางการเมือง มากกว่าที่จะมองถึงการพัฒนาของท้องถิ่น



Slide 40

จบการนาเสนอ