เรียนรู้และเข้าใจนักศึกษายุคใหม่... Generation Z

Download Report

Transcript เรียนรู้และเข้าใจนักศึกษายุคใหม่... Generation Z

การสร้ างความรู้ ความเข้ าใจกระบวนการ
เรี ยนการสอน
ผู้บรรยาย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนัสนันท์ หัตถศักดิ์
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
[email protected]
เป้าหมายวันนี ้
เรียนรู้และเข้ าใจนักศึกษายุคใหม่ ...
Generation Z
 ผู้สอนในศตวรรษที่ 21
 เหลียวหลังแลหน้ าการจัดการเรี ยนการสอน

ทาความรู้จกั Generations
Gen B (Baby boomers) : ค.ศ. 1946 กลุ่มคน
ที่เกิดช่ วงหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2
 Gen X (Extraordinary Generation) :
ค.ศ. 1965
 Gen Y (Why Generation) : ค.ศ.
1980 วัยรุ่ น – วัยทางาน
 Gen Z : ค.ศ. 2000 บ้ างว่ าเป็ น iGeneration ,
internet generation หรือ Silent
Generation (เจนเงียบ)

Gen B (Baby boomers)

ลักษณะคนที่มีชีวิตเพื่อการทางาน เคารพกฎเกณฑ์
กติกา อดทน ให้ ความสาคัญกับผลงานแม้ ว่าจะต้ องใช้
เวลานานกว่ าจะประสบความสาเร็จ อีกทัง้ ยังมีแนวคิดที่
จะทางานหนักเพื่อสร้ างเนือ้ สร้ างตัว มีความทุ่มเทกับการ
ทางานและองค์ กรมาก คนกลุ่มนีจ้ ะไม่ เปลี่ยนงานบ่ อย
เนื่องจาก มีความจงรักภักดีกับองค์ กรอย่ างมาก
Gen X (Extraordinary
Generation)

ลักษณะมีแนวคิดและการทางานในลักษณะรู้ทุกอย่ างทา
ทุกอย่ างได้ เพียงลาพังไม่ พ่งึ พาใคร มีความคิดเปิ ดกว้ าง
พร้ อมรับฟั งข้ อติตงิ เพื่อการปรับปรุ งและพัฒนาตนเอง
Gen Y

เป็ นกลุ่มคนที่โตมาพร้ อมกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
เป็ นวัยที่เพิ่งเริ่มเข้ าสู่วัยทางาน มีลักษณะนิสัยชอบ
แสดงออก มีความเป็ นตัวของตัวเองสูง ไม่ ชอบอยู่ในกรอบ
และไม่ ชอบเงื่อนไข คนกลุ่มนีต้ ้ องการความชัดเจนในการ
ทางานว่ าสิ่งที่ทามีผลต่ อตนเองและต่ อหน่ วยงาน
อย่ างไร อีกทัง้ ยังมีความสามารถในการทางานที่เกี่ยวกับ
การติดต่ อสื่อสาร และยังสามารถทางานหลาย ๆ อย่ างได้
ในเวลาเดียวกัน
Gen Z
เนื่องจากการสื่อสารระหว่ างคนกลุ่มนีส้ ่ วนใหญ่ เป็ นการ
สื่อสารผ่ านข้ อความบนหน้ าจอมือถือ หรือคอมพิวเตอร์
แทนการพูด
 ไม่ ชอบเป็ นลูกจ้ าง มีความต้ องการเป็ นเจ้ าของกิจการ
ขนาดเล็ก มีความอิสระในตัวเองค่ อนข้ างสูง มีแนวทาง
เป็ นของตัวเองชัดเจน ไม่ เหมือนใคร และไม่ อยากให้ ใคร
เหมือน

ลักษณะที่โดดเด่น

เกิดมาพร้อมกับสังคม internet โดยแท้จริ ง เกิดจากพ่อแม่รุ่นใหม่
อย่าง Gen X เด็กรุ่ นนี้โตสุ ดก็อายุน่าจะอยูใ่ น
ช่วง 16-17 ปี ดาเนินชีวิตแบบมีการติดต่อสื่ อสารไร้สาย และสื่ อ
บันเทิงที่คุน้ เคยต่างๆ อย่าง DVD, WWW, MSN, มือถือ,
YouTube เรี ยกได้วา่ เป็ นเด็กที่เกิดจากสังคม digital เลยก็วา่ ได้
Digital Native ซึ่งต่างจาก Gen Y ที่สมัยนั้นสื่ อ digital
ยังเป็ นอะไรที่ไกลเกินเอื้อมและ internet ยังไม่ใช่สิ่งที่อยูใ่ นระยะ
เอื้อมถึง

ความเท่ าเทียมทางเพศมีความชัดเจนทั้งในที่ทางานและที่บ้าน
เรียกได้ ว่าเด็กรุ่นนีเ้ ป็ นรุ่นแรกทีท่ ้งั พ่อและแม่ ทางาน full time
นอกบ้ านทั้งคู่ นั่นหมายความว่ าได้ รับการเลีย้ งดูโดยมากจากคน
อืน่ ทีไ่ ม่ ใช่ พ่อแม่ Gen Z เป็ นรุ่นแรกทีเ่ ห็นคนรุ่ นเดียวกันและคน
รุ่นพ่อแม่ ทรี่ ู้จักการทางานกับ technology ซึ่งต่ างจาก Gen Y ที่
พบว่ าตัวเองกับคนรุ่นพ่อแม่ อย่ าง Gen B มีความเข้ าใจ
technology ที่ต่างกันโดยสิ้นเชิง ในขณะที่ Gen Y ก้าวเข้ าสู่
internet ในช่ วงวัยรุ่นหรือวัยทางาน แต่ Gen Z เกิดมา
พร้ อมกับเทคโนโลยีเหล่านี้ บางครั้งเด็กเหล่านีอ้ าจจะจิตนาการไม่
ออกว่ า โลกที่ไร้ internet นั้นเป็ นอย่ างไร
เด็กรุ่นนี้ เป็ นตัวของตัวเองมากขึน้
เด็กรุน่ นี้ เป็ นตัวของตัวเองมากขึน้ ก้าวร้าวกว่าเด็ก
ในสมัยก่อน
กล้าพูดกล้าขอ เพราะครอบครัวสมัยใหม่ส่วนใหญ่
มีลูกเพียงหนึ่ งคน หรือสองคน (เฉลี่ย 1.5 คนต่อ
ครอบครัวในปัจจุบนั )
 เขาจึงอยู่ในสังคมครอบครัวที่มีคนน้ อยไม่เหมือน
เด็กในรุน่ ก่อน ๆ
(ประมาณ 5 คนต่อครัวเรือน)

 การไม่มีน้องหรือพี่ จึงไม่ต้องเรียนรู้ถึงการ
ต้องเสียสละ
รู้แต่ว่าพ่อแม่ต้องให้แน่ นอน อยากได้อะไรก็
ได้เลย
ไม่ต้องคอยให้พี่ได้ก่อน ไม่ต้องใช้เสื้อผ้าหรือ
ของตกรุ่นต่อจากพี่ ๆ เหมือนสมัยก่อน ความ
เป็ นตนเองจึงถูกสะสมมาตัง้ แต่เด็ก
 Older than their years: หรือทีเ่ รียกว่า
ปรากฏการณ์ KGOY (Kids Getting Older
Younger) ซึง่ หมายถึง การทีเ่ ด็ก ๆ มีการเติบโต
ทางความคิดเหมือนเด็กวัยรุน่ (Teenagers) ซึง่
เห็นได้วา่ เด็กฉลาดมากขึน้ กว่าทีเ่ คยเป็ นมาใน
อดีต ในขณะทีว่ ยั รุน่ เองก็มรี ะดับไอคิวสูงขึน้ เมือ่
เปรียบเทียบกับคนในรุน่ ก่อนหน้า
ความต้ องการของคนยุคใหม่ โดยทั่วไป
(Gen Z)
ข้ อมูล – ยุคนีเ้ ป็ นโลกแห่ งเทคโนโลยี ข้ อมูลหาได้ ไม่ ยาก
และเด็กจะเคยชินกับการหาคาตอบของทุกอย่ างได้ พ่ อแม่
ก็ควรใฝ่ หาความรู้เพื่อตามให้ ทนั ลูก ๆ ด้ วย
 Feedback – เด็กโตมาพร้ อมกับการอ่ านคอมเม้ นท์
มากมายในเฟสบุ๊ค เขาจะยอมรับได้ กับความเห็นจากคน
อื่น และก็ต้องการให้ คนอื่นเข้ ามาสนใจและให้ ความเห็น
เกี่ยวกับเขาด้ วย

ความเข้ าใจเทคโนโลยี – พ่ อแม่ ควรตามลูกให้ ทนั เรื่ อง
เทคโนโลยี จะได้ คุยกับลูกรู้เรื่อง
 ความเท่ าเทียมกัน – นี่คือสิ่งที่ลูก ๆ ได้ รับการสอนมาจาก
ทัง้ ในโรงเรียนและสิ่งแวดล้ อมต่ าง ๆ เพราะฉะนัน้ เมื่อไหร่
เขาเห็นว่ าคุณให้ คนอื่นมากหรือน้ อยกว่ าเขา เด็กจะรู้สึกไม่
ค่ อยพอใจ

ความยุตธิ รรมและมีเหตุผล – คุณจะสั่งลูกให้ ทาอะไรโดย
ไม่ มีเหตุผลเหมือนที่แม่ คุณทาสมัยก่ อนไม่ ได้ หรอก คาว่ า
“แม่ บอกก็ทาสิ” จะใช้ ไม่ ค่อยได้ ผลกับเด็กยุคนีแ้ ล้ ว
 การรั บฟั ง – เหมือนกับที่ลูกพร้ อมจะฟั งคอมเม้ นท์ คนอื่น
เขาก็อยากให้ คนอื่นมารับฟั งเขาด้ วย อย่ างที่บอกไปเด็ก
มักคิดว่ าเขาคือคนพิเศษเสมอ
 คาแนะนา – เมื่อลูกไม่ ร้ ู จะแก้ ปัญหาอย่ างไร สิ่งที่เราต้ อง
ทาคือเป็ นพ่ อแม่ ท่ รี อบรู้และให้ คาแนะนา เมื่อเด็กมี
ความคิดสงสัย เขาจะไม่ เก็บไว้ คนเดียว

ความเคารพ – เด็กยุคนีต้ ้ องการให้ พ่อแม่ เคารพเขาด้ วย
ทัง้ เคารพเรื่องความคิด การตัดสินใจ ฯลฯ
 กฎระเบียบ – ด้ วยการศึกษาที่สอนเรื่ องกฎระเบียบมาก
ขึน้ เด็กก็จะคาดหวังให้ ทุกอย่ างมีระเบียบ และคุณก็ต้อง
ทาตามกฎด้ วยนะคะ เพื่อให้ ลูกเคารพคุณมากขึน้

เรื่ องจริ งที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ ของคนGen Z
1. สมาร์ ทโฟนเป็ นอวัยวะของชาว Gen Z
โทรศัพท์ มือถือ ทัง้ กลุ่มสมาร์ ทโฟน หรือแท็บเล็ตถือว่ าเป็ น
อวัยวะที่ 33 ของชาว Gen Z ต้ องมีลูกเล่ นหลายอย่ าง
ทัง้ โทร ทัง้ แชต ถ่ ายรูป ฟั งเพลง เล่ นเกม ดูคลิป ฯลฯ ที่
ตอบสนองวงจรชีวิตดิจทิ ลั โลกออนไลน์ สาหรับชาว
Gen Z ไม่ ใช่ โลกเสมือนแต่ คือโลกความจริงอีกโลกเลย
ทีเดียว ฝรั่งให้ ลักษณะของ Gen Z ว่ า Digital in
their DNA เลยทีเดียว โลกดิจทิ ลั สาหรับคนรุ่ นนี ้
สาคัญยิ่งกว่ าตัวเงินจริงๆ เพราะไม่ มีเงินยังยืมเพื่อนได้ แต่
ถ้ าไม่ มีโทรศัพท์ (ไว้ แชตหรืออื่นๆ) แทบจะเฉาตาย

2. Gen Z เป็ นมนุษย์ ข้อมูลและสถิตทิ ่ หี ่ วงอนาคต
 Gen Z ติดโลกออนไลน์ จึงรั บข้ อมูลข่ าวสารมากกมาย
อย่ างรวดเร็ว ทัง้ ข่ าวทันโลก และวิเคราะห์ สถิตเิ รื่ องต่ างๆ
เพื่อคาดการณ์ อนาคต ดังนัน้ ชาว Gen Z จึงเป็ นทัง้ คน
ชอบตัดสินใจทาอะไรอย่ างรวดเร็ว ไม่ ชอบรอคอย แต่ ก็
เป็ นคนที่กลัวอนาคตด้ วย เรียนอะไรดีไม่ ตกงาน อาชีพ
อะไรมั่นคง มีแนวโน้ มว่ าจะเลือกงานที่เงินดีมากกว่ าที่ชอบ
จริงๆ ข้ อมูลที่เข้ าหาชาว Gen Z อาจทาให้ Gen Z
เองกลายเป็ นคนที่กลัวที่จะตัดสินใจเรื่องอาชีพการงานใน
อนาคต

3. Gen Z เชื่อมโลก เชื่อมวัฒนธรรม
 คน Gen Z เปิ ดกว้ างทางความคิดและวัฒนธรรมที่
แตกต่ างมากขึน้ เพราะเพียงลัดนิว้ เดียว ก็สามารถคุยกับ
เพื่อนต่ างชาติท่ มี ีจากอีกซีกโลกได้ แม้ ว่าจะต่ างพืน้ ฐาน
วัฒนธรรมก็อาจมีความชอบความบันเทิงเดียวกัน ซึ่งการ
เชื่อมโลกแบบนี ้ ทาให้ Gen Z มีความรู้สึกเปิ ดกว้ างใน
การยอมรับความแตกต่ างได้ ง่ายมากขึน้ มีแนวโน้ มที่จะ
ปรับทัศนคติได้ ดี ไม่ แบ่ งแยกชนชัน้ สีผิว ศาสนา หรือ
ประเพณีท่ แี ตกต่ าง แต่ ก็อาจจะยิ่งเทิดทูนความเป็ นทุน
นิยมมากขึน้


5. Gen Z มีแนวโน้ มเป็ นมนุษย์ หลายงาน ความอดทนต่า
ชีวติ ดิจทิ ัลที่รวดเร็วทาให้ เด็กรุ่ น Gen Z มีความอดทนรอคอย
ต่า ชอบทางานหลายๆ อย่ างพร้ อมกัน ในมุมหนึ่งอาจมองว่ าการ
ทาหลายๆ อย่ างพร้ อมกันเป็ นเรื่ องดูเก่ ง แต่ จริงๆ การทาการบ้ าน
ฟั งเพลง ดูทีวี แชตกับเพื่อน และคุยกับแม่ หรื ออื่นๆ ไปพร้ อมๆ
กัน ทาให้ ประสิทธิภาพในการรั บรู้ และการทางานแต่ ละชิน้ ลดลง
โดยที่ไม่ ร้ ู ตัว ซึ่งในส่ วนนีพ้ ่ อแม่ ของชาว Gen Z ต้ องสอนให้ เด็ก
รุ่ นนีม้ ีสมาธิกับงานด้ วย ที่สาคัญต้ องระมัดระวังอย่ าให้ ตดิ อยู่ใน
โลกดิจทิ ัลมากนัก ไม่ อย่ างนัน้ อาจมีปัญหาติดเทคโนโลยีอย่ าง
อาการติดอินเทอร์ เน็ต (Internet addiction)
6. Gen Z ยังต้ องการความรั กและความห่ วงใย
 แม้ Gen Z จะมี DNA เป็ นรหัสดิจท
ิ ัล แต่ การพูดคุยติดต่ อ
ผ่ านเทคโนโลยีอย่ าง facebook หรื อโซเซียลมีเดียอื่นๆ ก็ยังไม่
สามารถแทนที่การคุยจริงๆ ได้ แม้ จะมีอโิ มติคอนมากมายก็
ตามแต่ เรื่ องบางเรื่ องข้ อความไม่ สามารถสื่อความรู้ สกึ ที่แท้ จริงได้
และเด็กๆ ทุกคนก็ยังต้ องการความเข้ าใจจากผู้ใหญ่ อันเป็ น
พืน้ ฐานของมนุษย์ อยู่แล้ ว ยังอยากให้ ผ้ ูใหญ่ แสดงความรู้ สึกห่ วงใย
แม้ ว่าจะต้ องการโลกส่ วนตัวขนาดไหนก็ตาม ผู้ใหญ่ ต้องปรั บตัว
มากที่จะยอมรั บการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วของเทคโนโลยีเท่ าๆ กับที่
วิถีของชาว Gen Z ที่รวดเร็วเช่ นกัน

7. โลกเร็ว ฉันเร็ว
 ฮีโร่ ของ Gen Z มักเป็ นคนดังที่อายุใกล้ เคียงตัวเอง ที่
สร้ างแรงบันดาลใจได้ อย่ างดารา นักร้ อง นักเขียน
มากกว่ าฮีโร่ ตัวอย่ างเศรษฐีพนั ล้ านที่ประสบความสาเร็จ
จากเสื่อผืนหมอนใบแบบเมื่อสามสิบก่ อน เพราะ
เทคโนโลยีตอบสนองได้ แทบทุกอย่ าง ชาว Gen Z จึง
คิดว่ า “ทาได้ ทุกอย่ าง” ดังนัน้ ชาว Gen Z แล้ ว แทบ
จะไม่ เข้ าใจในเรื่อง ช้ าๆ ได้ พร้ าสองเล่ มงามเท่ าไหร่ ชอบ
ที่จะประสบความสาเร็จอย่ างรวดเร็ว

Gen Z เป็ นเจ้ าหนูจาไม (ทาไม)
 ชาว Gen Z ต้ องการคาอธิบายมากขึน
้ ต้ องมีเหตุผล
ต้ องรู้สึกว่ าได้ เข้ าใจกับทุกเรื่องในชีวิต อยากมีส่วนร่ วมใน
ครอบครัว ต้ องการตัดสินใจชีวิตตัวเอง (แม้ จะสับสนและ
กลัวอนาคตก็ตาม) ดังนัน้ จึงกล้ าคิดกล้ าและกล้ าถามมาก
ขึน้ กว่ าคนรุ่ นก่ อน

Gen Z หาความรู้ ได้ ทุกที่
 การเรี ยนรู้ ของชาว Gen Z เน้ นผ่ านเทคโนโลยีสมัยใหม่ มากขึน
้
ถ้ าสามารถจัดห้ องเรี ยน จัดบ้ านนาเอาเทคโนโลยีมาเสริมกับ
กิจกรรม ให้ แรงจูงใจ มีการแข่ งขัน มีรางวัล จะช่ วยให้ ชาว Gen
Z กระตือรื อร้ นในการเรี ยนรู้ มากขึน้ บอกเลยว่ า Gen Z
เกลียดการเรี ยนแบบบรรยายมากๆ แล้ วก็ชอบข้ อมูลแนวกราฟ
ภาพ สถิตชิ ัดเจน เน้ นข้ อมูลสัน้ ๆ ที่เข้ าใจง่ ายๆ เพราะมีแนวโน้ มว่ า
ชาว Gen Z จะเริ่มต้ นจดจาข้ อมูลได้ ดีจากข้ อมูลสัน้ ๆ เหล่ านี ้
ตามแบบฉบับโลกออนไลน์ ท่ ขี ้ อมูลไหลเร็วไงล่ ะ ที่สาคัญชาว
Gen Z มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีมากขึน้ ดังนัน้ จึง
เข้ าถึงข้ อมูลความรู้ ได้ อย่ างไม่ จากัด

มุมมองในการทางาน

โดยวัยรุ่ นยุคใหม่ (Young Professionals at
Work) มีมุมมองการทางานดังนี ้
* กลุ่ม Generation Z ตระหนักว่ าการใช้
เวลากับการติดต่ อสื่อสารเรื่องส่ วนตัวในระหว่ างชั่วโมงการ
ทางานถือว่ าเป็ นสิทธิท่ พ
ี วกเขาสามารถทาได้
* กลุ่ม Generation Z มีความต้ องการที่จะ
รักษาความสมดุลระหว่ างการทางานและโลกชีวิต
มุมมองในการทางาน

วัยรุ่ นยุคใหม่ ต้องการใช้ เวลาการสื่อสารระหว่ างการทางาน
กับชีวิตส่ วนตัว แต่ สามารถรักษาสมดุลได้ ส่ วนองค์ กรใน
ฝั นชอบองค์ กรแนวราบ ไม่ มีการจัดแบ่ งตาแหน่ งฝ่ ายที่
ยุ่งยากซับซ้ อน ชอบทางานเป็ นทีมและอยู่กับคนที่อายุ
ไล่ เลี่ยกัน ได้ รับFeed back ตลอดเวลา

วัยรุ่ นนีม้ ีความกระตือรือร้ นและเอาใจใส่ ต่องานที่ได้ รับ
มอบหมาย แต่ ทงั ้ นี ้ พวกเขาก็ยังคงคานึงถึงโลกชีวิตส่ วนตัว
ของพวกเขาด้ วย ดังนัน้ พวกเขาจึงมองว่ าการเช็ค
Facebook หรือการแชต (Chat) การ line
ข้ อความส่ งหาคนอื่นๆในช่ วงเวลาทางานตลอดวัน เป็ น
สิทธิท่ พ
ี วกเขาควรจะได้ รับ
สถิติที่น่าสนใจสาหรับGen Z
91% ของวัยรุ่ นมีการโพสต์ รูปภาพของตัวเองใน
Social Media ในขณะที่ 24% มีการโพสต์ วีดโี อ
ของตัวเอง
 53% ของวัยรุ่ นมีการโพสต์ เปิ ดเผยอีเมล์ ของตัวเองใน
Social Media ในขณะที่ 20% มีการเปิ ดเผยเบอร์
โทรศัพท์
 26% ของวัยรุ่ นบอกว่ าให้ ข้อมูลปลอมบน Social
Media เพื่อช่ วยป้องการความเป็ นส่ วนตัว

สถิติที่น่าสนใจสาหรับGen Z
Face book
 ในบรรดาความสัมพันธ์ บน Face book นัน
้ กลุ่มที่
เป็ นเพื่อนมากที่สุดคือเพื่อนที่โรงเรียน ในขณะที่ครูและ
อาจารย์ จะมีเพียง 30%
 33% ของเพื่อนบน Face book ไม่ เคยมีการเจอตัว
จริงแต่ อย่ างใด
 30% มีการติดตามดารา นักกีฬา หรื อคนมีช่ ือเสียง
 60% มีการตัง้ Face book Profile เป็ น
Private Account แต่ มีเพียง 24% ที่ใช้
Twitter Private Account


หากเปรี ยบชีวติ เหมือนนาฬิกาในหนึ่งวัน ตัง้ ค่ าให้ อายุขัยเฉลี่ยอยู่
ที่ 80 ปี ขณะนีช้ ีวติ เรากี่โมงแล้ ว ซึ่งคาตอบที่ได้ เป็ นเรื่ องที่ทาให้
หลายคนประหลาดใจ เพราะชีวติ ที่เราคิดว่ าดาเนินมานานแสน
นานแล้ วนัน้ อาจอยู่ในช่ วงเช้ าตรู่ ของวันก็เป็ นได้ เพราะหากคุณ
อายุ 20 ปี นาฬิกาชีวติ ของคุณจะตรงกับเวลา 6 โมงเช้ า ชีวติ เพิ่ง
เริ่มต้ น …หากอายุ 30 ปี นาฬิกาชีวติ จะตรงกับ 9 โมงเช้ า อันถือ
เป็ นเวลาเริ่มงานของหลายคน …หากอายุ 35 ปี นาฬิกาชีวติ จะ
อยู่ท่ ี 10 โมงครึ่ง ซึ่งถือเป็ นยามสายที่ร่างกายพร้ อมทาอะไรหลาย
อย่ างแล้ ว …และหากอายุ 40 ปี นาฬิกาชีวติ จะตรงกับตอนเที่ยง
พระอาทิตย์ ยังคงร้ อนแรงและเหลือเวลาอีกมากมายกว่ าจะหมดวัน
…เห็นไหมว่ าชีวติ ไม่ ได้ ดาเนินมายาวไกลจนเปลี่ยนแปลงอะไร
ไม่ ได้ เสียหน่ อย

คิมโดรันพูดถึงเรื่อง “ฤดูกาลที่ตวั คุณผลิบาน” โดยเล่ าถึง
ดอกไม้ แต่ ละชนิดซึ่งผลิบานในฤดูกาลของมันเอง ดอก
บ๊ วย ดอกซากุระ ดอกกุหลาบ ดอกทานตะวัน ดอก
เบญจมาศ ดอกคามิลเลีย ดอกไม้ เหล่ านีล้ ้ วนผลิบานอย่ าง
งดงามในช่ วงเดือนที่แตกต่ างกัน ดอกไม้ ต่างมีช่วงเวลา
เปล่ งประกายเป็ นของตัวเอง เช่ นกันกับคนเรา

“จงขึน้ รถไฟชีวิตสักครัง้ ” โดยอาจารย์ คิมเขียนแนะนา
นักศึกษาที่กาลังจะก้ าวไปสู่โลกแห่ งการทางานว่ า บริษัท
ต่ างๆ อยากได้ คนที่ทางานเป็ นจริงๆ ไม่ ใช่ คนที่มีลิสต์
ความสามารถในใบสมัครงานยาวเป็ นหางว่ าวแต่ ชีวิตนีไ้ ม่
เคย ทางานจริงจังเสียที ดังนัน้ อย่ ามัวแต่ ลังเล จงขึน้ รถไฟ
ชีวิตเพื่อเริ่มต้ นเดินทาง เพราะงานแรกไม่ ใช่ ตัวตัดสิน
ความสาเร็จของชีวิต

ความจริงแล้ วงานที่สาคัญที่สุดในชีวิตไม่ ใช่ งานแรก แต่
เป็ นงานสุดท้ าย อย่ ารีบร้ อนตัดสินผลแพ้ ชนะจากการ
ประลองครัง้ แรก การแข่ งขันต้ องดูนานๆ ถึงจะรู้ว่า
ท้ ายที่สุดใครเป็ นผู้ชนะ …สิ่งสาคัญไม่ ใช่ จะออกเดินทาง
แบบไหน แต่ จะก้ าวออกเดินทางในชีวิตที่เหลืออยู่
อย่ างไร”
อาจารย์บทบาทที่เปลี่ยนแปลงไป
ครูต้องไม่ สอน แต่ ต้องออกแบบการเรียนรู้
 และอานวยความสะดวก (facilitate)
 การเรี ยนรู้ ให้ นักเรี ยนเรี ยนรู้ จาก
 การเรี ยนแบบลงมือทา หรื อปฏิบัติ
 แล้ วการเรี ยนรู้ ก็จะเกิดจากภายในใจและ
 สมองของตนเอง การเรี ยนรู้ แบบนีเ้ รี ยกว่ า
 PBL (Project-Based Learning)

ทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ ที่คนทุกคนต้ องเรียนรู้
ตัง้ แต่ ชัน้ อนุบาล
 ไปจนถึงมหาวิทยาลัย และตลอดชีวิต คือ 3R x 7C
 3R ได้ แก่ Reading (อ่ านออก), (W)Riting
(เขียนได้ ) และ (A)Rithmetics (คิดเลขเป็ น)

7C ได้ แก่ Critical thinking & problem
solving (ทักษะด้ านการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ และ
ทักษะในการแก้ ปัญหา)
 Creativity & innovation (ทักษะด้ านการ
สร้ างสรรค์ และนวัตกรรม)
 Cross-cultural understanding (ทักษะ
ด้ านความเข้ าใจต่ างวัฒนธรรม ต่ างกระบวนทัศน์ )
 Collaboration, teamwork &
leadership (ทักษะด้ านความร่ วมมือการทางานเป็ น
ทีม และภาวะผู้นา)

Communications, information &
media literacy (ทักษะด้ านการสื่อสาร
สารสนเทศ และรู้เท่ าทันสื่อ)
 Computing & ICT literacy (ทักษะด้ าน
คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
 Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และ
ทักษะการเรียนรู้ )

คุณลักษณะของครู /อาจารย์ในยุคศตวรรษที่ 21
1. Experience คือ มีประสบการณ์ การเรี ยนรู้ แบบใหม่ ใช้
เครื่ องมือต่ างๆ เช่ น Internet , e-Mail การใช้ CD
2. Extended คือ มีทักษะการค้ นหาความรู้ ได้ ตลอดเวลา เพราะ
เทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ต สามารถใช้ ได้ ตลอด 24 ชั่วโมง ที่ไหนก็ได้
ใช้ เวลาว่ างให้ เป็ นประโยชน์ ในการหาความรู้ ด้วยเทคโนโลยี
3. Expanded คือ การขยายผลของความรู้ นัน้ สู่นักเรี ยน
ประชาชนทั่วไป และชุมชน สามารถถ่ ายทอดความรู้ ลง CD ,
VDO โทรทัศน์ หรือบน Web เพื่อให้ เกิดหารเพิ่มความรู้ ท่ ีเป็ น
ประโยชน์ ของบุคลากรโดยรวม
4.Exploration คือ สามารถเลือกเนือ้ หาที่ทนั สมัย
เอกสารอ้ างอิง ค้ นคว้ าทัง้ สาระและบันเทิง เพื่อให้ เกิด
ความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อนามาออกแบบการเรียนการสอน
5. Evaluation คือ เป็ นนักประเมินที่ดี สามารถใช้
เทคโนโลยีในการประเมินผล
6. End-User คือ เป็ นผู้ใช้ ปลายทางที่ดี เช่ น สามารถ
Browse ไป Web Site ที่มีคุณค่ าบนอินเทอร์ เน็ต
และเป็ นผู้ใช้ เทคโนโลยีได้ อย่ างหลากหลาย
7. Ethics คือมีคุณธรรมจริยธรรมในการจัดการเรียนรู้ ให้
ผู้เรียน
8. Engagement คือ ครูท่ รี ่ วมมือกันแลกเปลี่ยน
ความเห็น หาแนวร่ วม เพื่อให้ เกิดชุมชน เช่ น การคุยกัน
บน Web ทาให้ มีความคิดใหม่ ๆ มีข้อเสนอแนะ เกิด
ชุมชนครูบน Web
9. Efficient and Effective คือ ครูท่ มี ี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล จะต้ องเป็ นผู้ใช้ เทคโนโลยี
ได้ อย่ างคล่ องแคล่ ว เป็ นผู้ผลิต ผู้กระจาย และผู้ใช้ ความรู้