***** 3 The production of information

Download Report

Transcript ***** 3 The production of information

บทที่ 3
The production of information
“สารสนเทศมีต้นทุนสูงในการผลิตแต่มีต้นทุนต่าในการทาซา้ ”
จากข้ อเท็จจริงที่กล่าวไว้ โดย Shapiro และ Varian ทาให้ เรา
ต้ องกลับมาพิจารณามิติด้านกลยุทธ์ในการแสวงหาสารสนเทศใน
จานวนที่เหมาะสม ทั้งนี้เพราะสารสนเทศไม่เพียงแต่แสวงหาได้ จาก
ธรรมชาติ – ผ่านทางการวิจัย การแสวงหาหรือการรอ – เท่านั้น
แต่อาจได้ ด้วยการซื้อหรือลอกมาจากผู้อ่นื ก็ได้
ความหวังที่จะใช้ โดยไม่จ่ายเงิน (free-rider)
สารสนเทศของผู้อ่นื และความกลัวที่จะถูกผู้อ่นื ใช้ สารสนเทศ
ของตนโดยไม่จ่ายเงินนั้น อาจมีผลลัพธ์ท่รี ้ ายแรงอย่างมาก
เพราะอาจนาไปสู่ผลลัพธ์ท่แี ตกต่างกันอย่างสุดขั้วคือ 1. ไม่มี
การผลิตสารสนเทศเลย และ 2. มีการแข่งขันอย่างเอาเป็ นเอา
ตายในการวิจัยเพื่อแย่งกันจดสิทธิบัตร ทั้งสองขั้วนี้ไม่ใช่
ผลลัพธ์ท่เี หมาะสมจากมุมมองของสังคมโดยรวม เพราะแบบ
แรกจะหมายถึงการทาวิจัยที่น้อยไป ส่วนแบบหลังจะมีการวิจัย
มากไป
ความก้ าวหน้ าทางเทคนิคเป็ นมากกว่าการประดิษฐคิดค้ น
(invention) การประดิษฐ์คิดค้ นจะมีผลก็ต่อเมื่อมีการนาไปใช้ งาน
เท่านั้น การค้ นพบแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นเรื่องหนึ่ง แต่ท่ใี ช้ งานจริงคือการใช้
เป็ นเครื่องบันทึกเทป ซึ่งก็เป็ นเรื่องของบทบาทของบุคคลที่เราเรียกกัน
ว่าผู้ประกอบการ โดยผู้ประกอบการเป็ นแกนของกระบวนการที่
Joseph A. Schumpeter เรียกว่า “การทาลายอย่างสร้ างสรร”
(creative destruction) การทาลายอย่างสร้ างสรรนี้อธิบายพล
วัตรของความก้ าวหน้ าทางเศรษฐกิจ รวมไปถึงการทาลายธุรกิจที่ไม่ใช้
แล้ ว ซึ่งถูกขับออกจากตลาดโดยเทคโนโลยี่ใหม่
เราจะพิจารณาจากแง่มุมที่ การกระทาของบุคคลหนึ่งขึ้นอยู่กบั การ
กระทาของบุคคลอื่น ปัญหาการตัดสินใจจึงกลายเป็ นเรื่องของกลยุทธ์
กลยุทธ์หมายถึง ทางเลือกการกระทาที่ดีท่สี ดุ ของนางสาวเอจากบรรดา
การกระทาที่เป็ นไปได้ จานวนหนึ่ง อีกทั้งยังขึ้นอยู่กบั ว่านายบีเลือก
กระทาอย่างไร และเป็ นจริงในทางกลับกันด้ วย โดยถ้ าทั้งสองคน
ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศ ทั้งสองต้ องเสียเวลาเหมือนๆ กัน แต่ถ้าทั้ง
สองคิดแต่จะถามอีกคนหนึ่งเกี่ยวกับการพยากรณ์อากาศ พวกเขาจะ
จบลงที่มีสารสนเทศน้ อยเกินไป
จากมิติของกลยุทธ์ คาถามว่า “ทาเองหรือซื้อ” สารสนเทศจะ
กลายเป็ นเรื่องที่ยุ่งยาก ผู้คนจะใช้ ความพยายามน้ อยลงในการทา
การวิจัยจากมุมมองของสังคม เป็ นผลจากการหวังที่จะใช้ โดยไม่
จ่ายเงินในสารสนเทศของคนอื่น หรือเพราะกลัวที่คนอื่นจะมาใช้
สารสนเทศของตนโดยไม่จ่ายเงินก็ได้ หรือผู้คนอาจใช้ จ่ายมาก
เกินไปในการวิจัยในมุมมองของสังคม ทั้งนี้เพื่อหวังกอบโกย
ความสามารถทากาไรไปจากคู่แข่ง
การใช้สารสนเทศโดยไม่จา่ ยเงิน
สาหรับบุคคลหนึ่งที่อยู่อย่างโดดเดี่ยว คาถามว่า “สารสนเทศ
ที่มีราคาสูงจานวนเท่าใดที่ควรจะแสวงหา” เป็ นคาถามที่หาคาตอบ
ค่อนข้ างง่าย อย่างน้ อยก็เป็ นไปตามกฏเกณฑ์ทางเศรษฐศาสตร์ท่กี ล่าว
ไว้ ก่อนหน้ านี้ (MR = MC) แต่ในกรณีท่มี ีผ้ ูคนเกี่ยวข้ องหลายคน
การหาสมดุลระหว่างมูลค่าหน่วยเพิ่มกับต้ นทุนหน่วยเพิ่ม กลายเป็ น
เรื่องที่ซับซ้ อนมากขึ้น เช่น มูลค่าหน่วยเพิ่มในสารสนเทศของนางสาว
เอเอง จะขึ้นอยู่กบั จานวนการวิจัยของนายบี และเป็ นจริงในทาง
กลับกัน ต้ นทุนของนายบีในการได้ มาซึ่งสารสนเทศขึ้นอยูก่ บั ความ
พยายามวิจัยของนางสาวเอ
ความเป็ นไปได้ ในการใช้ โดยไม่จ่ายเงินลดแรงจูงใจทั้งสองด้ านของ
การผลิตสารสนเทศ มันลดต้ นทุนให้ กบั ผู้ท่ใี ช้ โดยไม่จ่ายเงิน และ
ลดกาไรที่ได้ จากการผลิตสารสนเทศของผู้ท่ถี ูกเอาเปรียบจากการใช้
โดยไม่จ่ายเงิน ทาให้ ท่จี ุดดุลยภาพ จะมีการผลิตสารสนเทศน้ อย
กว่าระดับที่เหมาะสมจากมุมมองของสังคมโดยรวม สารสนเทศมี
การผลิตต่ากว่าระดับเพราะมีคุณสมบัติบางอย่างของสินค้ า
สาธารณะคือ 1. สารสนเทศชิ้นเดียวกันสามารถใช้ ได้ โดยผู้คน
มากกว่าหนึ่งคน (ไม่ต้องแย่งกันใช้ ) (non-rival) 2. เป็ นเรื่อง
ยากที่จะกีดกันคนอื่นๆ จากการได้ และหรือใช้ สารสนเทศชิ้นหนึ่งๆ
(non-excludability)
แนวทางการแก้ ไขประการหนึ่งสาหรับการผลิตต่าระดับของความรู้คือ การ
ทาให้ เป็ นของส่วนตัว (privatization) (ความสามารถกีดกันที่จัดตั้งขึ้น)
นักวิจัยอาจพยายามที่จะเก็บการค้ นพบของเขาไว้ เป็ นความลับ กรีกโบราณ
ใช้ คาว่า sycophant (fig-talker) กับบุคคลประเภทที่โง่พอที่จะ
เปิ ดเผยถึงบริเวณที่เขาพบผลไม้ ท่มี ีค่าอย่างมาก แต่การเก็บเป็ นความลับก็
มีผลลบอย่างใหญ่หลวงต่อสังคมโดยรวมเหมือนกัน เพราะทาให้ ไม่มีการ
เผยแพร่ความรู้ และจึงมีผลต่อการใช้ สนิ ค้ าสาธารณะนี้ให้ มปี ระสิทธิภาพ
ความพยายามที่จะแก้ ไขการผลิตต่าระดับโดยไม่ส่งผลร้ ายต่อการใช้ อย่างมี
ประสิทธิภาพคือ การจดสิทธิบัตร (patent) สิทธิบัตรให้ สทิ ธิกบั ผู้ค้นคิดที่
จะกีดกันการใช้ การคิดค้ นนั้นๆ ในขณะเดียวกันก็ช่วยให้ การคิดค้ นนั้น
เปิ ดเผยให้ รับทราบกันได้ โดยทั่ว ดังนั้น ภายใต้ สทิ ธิบัตร sycophant
อาจเปิ ดเผยที่ต้งั ของต้ นไม้ แต่ยังคงรักษาสิทธิท่จี ะเก็บผลไม้ ไว้ เป็ นของตน
การแข่งขันกันเพือ่ สารสนเทศ
การทาให้ การใช้ สารสนเทศเป็ นของส่วนตัว ด้ วยการเก็บเป็ น
ความลับหรือการจดสิทธิบัตร ช่วยป้ องกันการใช้ โดยไม่จ่ายเงิน แต่
สถานการณ์แบบ “ผู้ชนะได้ ท้งั หมด” (winner-takes-all) ทา
ให้ เกิดปัญหาใหม่ข้ นึ ผู้คิดค้ นที่มีศักยภาพเผชิญกับอันตรายที่ คู่แข่ง
เร็วกว่าและทาให้ ความพยายามที่จะวิจัยของตนกลายเป็ นล้ าสมัยไป นี่
อาจนาไปสู่การเร่งผลิตสารสนเทศมากไป
ทาไม จากมุมมองของสังคมโดยรวม สารสนเทศในบางครั้งจึงผลิตน้ อยไป
และบางครั้งผลิตมากไป คาตอบคือ มีสนิ ค้ าสาธารณะที่แตกต่างกันสอง
ประเภทเกี่ยวข้ องอยู่ ประเภทหนึ่งคือสต็อคของสารสนเทศทีค่ น้ พบแล้ว
(already discovered) (บุคคลทั่วไปสามารถเข้ าถึงได้ ) อีกประเภท
หนึ่งคือกลุ่มของความรู้ทีย่ งั ไม่ได้คน้ พบ (yet to be discovered)
Hirshleifer กับ Riley แสดงให้ เห็นถึงความแตกต่างระหว่างสิทธิใน
การจับปลา กับ สิทธิในตัวปลาที่จับได้ ถ้ าปลาที่จับถือเป็ นสมบัติสาธารณะ
จะมีการจับปลาน้ อยกว่าที่ควร แต่ถ้าปลาที่ยังไม่ได้ จับเป็ นสมบัติสาธารณะ
แต่ปลาที่จับเป็ นสมบัติส่วนตัว จะมีการจับปลามากกว่าที่ควร ในทานอง
เดียวกัน ถ้ าสารสนเทศเป็ นสินค้ าสาธารณะ จะมีการวิจัยภาคเอกชนน้อยกว่า
ทีค่ วร แต่ถ้ากลุ่มของไอเดียที่ยังไม่ได้ ถูกค้ นพบและมีอยู่จากัดเปิ ดให้
สาธารณะค้ นหาอยู่ จะมีการวิจัยมากกว่าทีค่ วร
ในด้ านพลวัตรแล้ ว นวัตกรรมใหม่มักถูกสร้ างอยู่บน
นวัตกรรมอื่นที่มีอยู่เดิม ปกติเมื่อนวัตกรรมใหม่มีเทคโนโล
ยี่ท่มี ีประสิทธิภาพมากกว่า นวัตกรรมเก่าก็จะถูกขับออกจาก
ตลาดไป และจะเป็ นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ไม่มีจบ นี่เป็ นสิ่งที่
Schumpeter เรียกว่าการทาลายอย่างสร้ างสรร
สารสนเทศถูกสร้างขึ้นมาอย่างไร
“คนแคระที่ยืนอยู่บนบ่าของยักษ์ จะมองเห็นได้ มากกว่าตัว
ยักษ์เอง” คงเป็ นคาพูดที่ไม่อาจโต้ แย้ งได้ จากทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ท่ี
คุ้นเคยกัน การตัดสินใจผลิตขึ้นอยู่กบั “marginal value =
marginal cost” ต้ นทุนของสารสนเทศขึ้นอยู่กบั ฟังก์ชน่ั การ
ผลิตของสารสนเทศ จากข้ อเท็จจริงที่ว่า นวัตกรรมมักถูกสร้ าง
บนสต็อคของสารสนเทศที่ค้นพบมาก่อนหน้ านี้ ผลคือการสร้ าง
นวัตกรรมแต่ละชิ้นจะกลายเป็ นยากขึ้นเรื่อยๆ ที่จะได้ ไอเดียใหม่
จริงๆ ในขณะเดียวกัน ภายใต้ ฟังก์ช่ันการผลิตยังมีข้อเท็จจริงอีก
ประการหนึ่งว่า ทีมวิจัยอาจเล็กเกินไปหรือใหญ่เกินไป
ให้ Q แสดงถึงระดับของความรู้ ซึ่งเท่ากับสต็อคของสารสนเทศที่
ค้ นพบมาก่อนหน้ านี้ ∆Q จึงเป็ นจานวนของไอเดียใหม่ท่คี ้ นพบ
โดยการวิจัย ถ้ า NR เป็ นจานวนของนักวิจัย เราสามารถเขียน
สมการทั่วไปของฟังก์ช่ันการผลิต ƒ ของสารสนเทศใหม่เป็ น
∆Q = ƒ(Q, NR)
ซึ่งเราอาจขยายสมการดังกล่าวเพื่อง่ายต่อการอธิบายเป็ นดังนี้
∆Q = γNRλQø
โดย γ, ø และ λ เป็ นพารามิเตอร์คงที่ ขณะที่ γ เป็ นแค่
พารามิเตอร์ท่วี ัดขนาด อีกสองตัวที่เหลือมีความสาคัญอย่างมาก
ทางเศรษฐศาสตร์ ø อธิบายถึงบทบาทของสต็อคของไอเดีย λ
เป็ นผลกระทบจากประสิทธิภาพของนักวิจยั
The stock of ideas
แรกสุดเราคงต้ องพิจารณาบทบาทของสต็อคของ
สารสนเทศหรือไอเดียที่สะสมไว้ ก่อนหน้ านี้ Q เราอาจแยกความ
แตกต่างได้ เป็ นสามกรณีคือ ถ้ า ø>0 ถ้ าสต็อคของไอเดียที่ค้นพบ
ก่อนหน้ านี้ย่งิ มีมากขึ้นเท่าใด การวิจัยจะยิ่งมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เท่านั้น ผลกระทบภายนอกที่เป็ นบวกนี้สอดคล้ องกับผลกระทบ
แบบ “คนแคระยืนอยู่บนบ่าของยักษ์”
ในอีกด้ านหนึ่ง ø< 0 สอดคล้ องกับแนวทางที่ว่าสต็อคของนวัตกรรม
ที่มีศักยภาพมีอยู่จากัด หรือโอกาศที่อาจเป็ นไปได้ ในการค้ นพบไอเดีย
ใหม่ๆ จะลดน้ อยลงเรื่อยๆ กับการค้ นพบแต่ละครั้ง ยิ่ง Q สูงขึ้น
เท่าใด อัตราการค้ นพบไอเดียใหม่ย่งิ เล็กลงเท่านั้น เหมือนๆ กับ
ตัวอย่างเรื่องการจับปลา ซึ่งปลาจะถูกจับยากขึ้นเรื่อยๆ แต่ถ้า ø = 0
อัตราการค้ นพบจะเป็ นอิสระจากสต็อคของสารสนเทศที่สะสมมาก่อน
หน้ านี้
The productivity of researchers
ตัวกาหนดที่สาคัญตัวที่สองในฟังก์ช่ันการผลิตของสารสนเทศคือ
จานวนของแรงงานที่จัดสรรเพื่อการวิจัย (NR) ถ้ า λ = 1 จานวนของ
สารสนเทศใหม่จะเป็ นสัดส่วนกับจานวนของนักวิจัย ถ้ า λ > 1 จะมี
ผลตอบแทนเพิ่มขึ้นกับขนาด (increasing returns to scale)
ทาให้ นักวิจัยสองคนมีประสิทธิภาพมากกว่าสองเท่าของนักวิจัยรายเดียว
ในอีกด้ านหนึ่ง ถ้ า λ < 1 การเพิ่มขึ้นในจานวนของนักวิจัยก่อให้ เกิด
ผลกระทบภายนอกที่เป็ นลบ เหมือนๆ กับการติดขัดของจราจรบนทาง
หลวงนั่นเอง ในความเป็ นจริง ผลกระทบของจานวนนักวิจัยต่อความมี
ประสิทธิภาพของการวิจัยมักไม่คงที่ โดยมักมีนักวิจัยน้ อยไปจนกระทั่งถึง
จุดที่เป็ นจุดเปลี่ยนสาคัญ (critical mass) (λ > 1) แต่จะมากไป
หลังจากจุดเปลี่ยนนั้น (λ < 1)
ขอให้ สงั เกตุว่า สภาพปัจจุบันของความรู้ Q มักถูกกาหนดมาให้
และจะเพิ่มขึ้นได้ กเ็ ฉพาะด้ วยการผลิตสารสนเทศใหม่ ∆Q ใน
อนาคต แต่เนื่องจากจานวนของนักวิจัย NR สามารถเลือกได้
อย่างเสรี ดังนั้นจากเกณฑ์ท่เี รารู้กนั ดี ความเหมาะสมเกิดขึ้นเมื่อ
มูลค่าของการวิจัยเท่ากับต้ นทุนหน่วยเพิ่มของมันพอดี ถ้ าเรา
สามารถจ้ างแรงงานให้ ทาทั้งการวิจัยและการผลิต ก็หมายความว่า
จานวนนักวิจัยที่เหมาะสมจะบรรลุได้ เมื่อผลผลิตหน่วยเพิ่มในการ
วิจัยเท่ากับค่าจ้ างของพวกเขาในภาคการผลิต
Production and reproduction cost
ต้นทุนการผลิต
ในความเป็ นจริงของการผลิตสารสนเทศใหม่น้นั จาเป็ นต้ องมี
ต้นทุนคงทีบ่ างอย่าง ตัวอย่างเช่น นักวิจัยจานวน Ñ อาจเป็ นที่ต้องการ
เพื่อสร้ างห้ องทดลอง ก่อนที่การวิจัยจะเริ่มทาได้ จริง ดังนั้นสมการก่อน
หน้ านี้เกี่ยวกับจานวนนักวิจัยจะต้ องแก้ เป็ น N – Ñ หรือต้ นทุนคงที่อาจ
อยู่ในรูปของอุปกรณ์ท่มี ีเทคโนโลยี่ท่ที นั สมัย ดังนั้นต้ นทุนคงที่อาจสูงหรือ
ต่าก็ได้ ขึ้นอยู่กบั สถานการณ์ สารสนเทศเกี่ยวกับด้ านที่มืดของดวงจันทร์
อาจไม่สามารถหาได้ ถ้ าไม่มีการลงทุนก่อนจานวนมาก ขณะที่การคาดเดา
อากาศในตอนแรกอาจทาได้ ง่ายๆ ด้ วยการมองออกไปนอกหน้ าต่าง
เท่านั้น ต้นทุนหน่วยเพิ่มของการผลิตสารสนเทศใหม่มักจะมีค่าเป็ นบวก
เหมือนๆ กับสินค้ าอื่นๆ โครงสร้ างต้ นทุนเป็ นตัวกาหนดรูปร่าง
โครงสร้ างตลาด โดยเฉพาะ ต้ นทุนหน่วยเพิ่มที่ลดลง และจึงมีผลให้
ต้ นทุนเฉลี่ยลดลง นาไปสู่ส่งิ ที่เราเรียกว่าการผูกขาดตามธรรมชาติ
เช่น การผูกขาดตลาดในระดับสูงของอุตสาหกรรมบริษัทจัดอันดับ
ความน่าเชื่อถือ อาจเป็ นผลมาจากต้ นทุนหน่วยเพิ่มที่ลดลงเมื่อได้ จัด
อันดับบริษัทจานวนมากขึ้น แต่เหตุท่มี ีบริษัทจัดอันดับมากกว่าหนึ่ง
อาจเป็ นเพราะหลังจากจุดหนึ่ง ต้ นทุนหน่วยเพิ่มเริ่มเพิ่มสูงขึ้น จึง
นาไปสู่ การผูกขาดน้ อยรายตามธรรมชาติ
ตัวอย่างของอุตสาหกรรมการจัดอันดับก็แสดงถึงคาว่า “มากขึ้น”
ของสารสนเทศอาจมีหลายมิติ มันไม่ใช่แบบเดียวกันถ้ าบริษัทจัด
อันดับทาการจัดอันดับบริษัทเพิ่มขึ้นอีกบริษัทหนึ่ง เมื่อเทียบกับ
การปรับปรุงความแม่นยาน่าเชื่อถือของการจัดอันดับบริษัทเดิมที่
เคยทามาก่อนหน้ านี้แล้ ว ต้ นทุนหน่วยเพิ่มของการจัดอันดับบริษัท
เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งแห่งมักลดลง แต่ต้นทุนหน่วยเพิ่มของการปรับปรุง
ความแม่นยาของบริษัทเดิมมักเพิ่มขึ้น
ต้นทุนการทาซา้
การทาซา้ สารสนเทศแตกต่างจากการผลิต โดยมีลักษณะพิเศษ
หลายประการ การปรากฏอยู่ของต้นทุนคงทีไ่ ม่ใช่เรื่องแปลก แต่
ธรรมชาติของต้ นทุนคงที่น้ ีต้องพิจารณาอย่างละเอียด ในการทาซา้
สารสนเทศ (รวมถึงการส่งผ่าน) ต้ องการโครงสร้ างพื้นฐานทั้งที่เป็ น
กายภาพและเสมือนจริง คือ 1. เครื่องหรือกลไกการทาซา้ (เครื่อง
ถ่ายเอกสารบวกเครื่องโทรสารบวกสายโทรศัพท์ ที่รวมไปถึง
อินเตอร์เน็ต ซึ่งประกอบไปด้ วย เคเบิล เซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์ในที่
ต่างๆ จานวนมหาศาล และ satellite อีกจานวนหนึ่ง) รวมทั้ง 2.
ภาษา (เช่นอังกฤษ) บวกโปรโตคอล (เช่น Hyper Text
Transfer Protocol: HTML) ที่ท้งั ผู้ส่งและผู้รับใช้ ร่วมกัน
ต้นทุนหน่วยเพิ่มของการทาซา้ สารสนเทศเข้ าใกล้ ศูนย์ เมื่อ
เครือข่ายทั้งที่เป็ นกายภาพและเสมือนจริงมีการจัดตั้งไว้ แล้ ว
ต้ นทุนหน่วยเพิ่มในการทาซา้ สารสนเทศต่ามากๆ นี่เป็ นจริงแม้ ว่า
จะทาซา้ จานวนมากๆ จนกล่าวกันว่า ในปัจจุบันไม่มีสนิ ค้ าใดที่ง่าย
และราคาถูกในการทาซา้ เท่ากับสารสนเทศ
ผลกระทบของต้นทุนหน่วยเพิ่มต่า
มีผลกระทบที่สาคัญ ประการแรก การกาหนดราคาให้ เท่ากับต้ นทุน
หน่วยเพิ่มไม่อาจใช้ ได้ กบั สารสนเทศ ผู้ผลิตที่เรียกร้ องราคาเท่ากับต้ นทุน
หน่วยเพิ่มจะต้ องขาดทุน เนื่องจากราคาสะท้ อนให้ เห็นแค่ต้นทุนของหน่วย
สุดท้ าย ซึ่งเท่ากับศูนย์หรือเข้ าใกล้ ศูนย์ ดังนั้นสารสนเทศหรือสินค้ า
สารสนเทศจะสามารถเสนอสนองให้ มีกาไรได้ กเ็ ฉพาะ 1. โดยผู้ผูกขาดหรือ
หน่วยผลิตที่ครอบงาตลาดพอที่จะได้ รับค่าเช่าผูกขาดบางระดับเช่น
Microsoft หรือ 2. เป็ นส่วนควบในสินค้ าอื่นที่มีฟังก์ช่ันต้ นทุนแบบ
ปกติมากกว่า ถ้ าทั้งสองกรณีไม่เกิดขึ้น เราต้ องหาทางเลือกอื่นเพื่อที่จะ
สนับสนุนทางการเงินให้ กบั การผลิตสารสนเทศ
ประการที่สอง ราคาตลาดของสารสนเทศชิ้นหนึ่งจะลดลงสู่ศูนย์อย่างรวดเร็ว
มากๆ ใครที่มีสารสนเทศชิ้นหนึ่งจะพยายามขายอย่างรวดเร็ว ก่อนที่คนอื่น
จะเสนอขายในราคาที่ต่ากว่า นี่เป็ นเหตุผลว่าทาไมคานินทาหรือเรื่องซุบซิบ
จึงเดินทางได้ อย่างรวดเร็ว และทาไมจึงมีกฏหมายสิทธิบัตรและลิขสิทธิท่ี
พยายามกาหนดสิทธิเหนือทรัพย์สนิ ให้ กบั สารสนเทศ อย่างไรก็ตาม สิทธิ
เหนือทรัพย์สนิ สาหรับสารสนเทศยากต่อการนิยาม เพราะทั้งสารสนเทศเอง
และการส่งผ่านไม่อาจเห็นได้ ง่ายๆ ตัวอินเตอร์เน็ตซึ่งอาจมองว่าเป็ นเครื่อง
ถ่ายสาเนาที่มีประสิทธิภาพมากที่สดุ ที่เคยมีมา เป็ นเวทีสาหรับการแข่งขัน
อย่างต่อเนื่องระหว่างกฏหมายลิขสิทธิกบั เทคโนโลยี่การป้ องกัน (เช่น
แผ่นดิสก์ท่ที าลายตนเอง) ในด้ านหนึ่ง กับ เทคโนโลยีการทาซา้ อีกด้ านหนึ่ง
ประการที่สาม สารสนเทศไม่เพียงมีราคาต่าในการทาซา้ เท่านั้น แต่
ยังสามารถถูกใช้ โดยผู้คนจานวนมากในเวลาเดียวกันอีกด้ วย สารสนเทศจึง
กลายเป็ นสินค้ าสาธารณะด้ วย
Information as a public good
คุณสมบัติของสินค้าสาธารณะ
สารสนเทศไม่เพียงมีต้นทุนต่าในการทาซา้ เท่านั้น เจ้ าของสารสนเทศชิ้น
หนึ่งๆ มักประสบสถานการณ์ท่ยี ากหรือเกือบเป็ นไปไม่ได้ ทจ่ี ะกีดกันคน
อื่นในการได้ มา ทาซา้ และแพร่กระจายสารสนเทศนั้นๆ สารสนเทศจึงมี
คุณสมบัติ (บางระดับ) ในหนึ่งจากสองคุณสมบัติท่กี าหนดการเป็ น
สินค้ าสาธารณะ ซึ่งคือ non-excludability อีกคุณสมบัติหนึ่งคือ
non-rivalry ซึ่งคือมันอาจถูกใช้ อยู่โดยบุคคลหนึ่ง แต่กไ็ ม่กดี กัน
ไม่ให้ บุคคลอื่นๆ ที่จะใช้ ในเวลาเดียวกัน
การผลิตต่ากว่าระดับของสารสนเทศในฐานะของสินค้าสาธารณะ
แม้ ว่าการใช้ สารสนเทศชิ้นหนึ่งจะไม่ไปทาร้ ายการใช้ ของคน
อื่นๆ การผลิตสารสนเทศของบุคคลอาจต่ากว่าระดับที่เหมาะสมทาง
สังคม เหตุผลคือการไม่อาจกีดกันได้ ของสารสนเทศ เพราะจะมีต้นทุน
ต่ากว่าด้ วยการใช้ โดยไม่จ่ายเงินในสารสนเทศของผู้อ่นื แทนที่จะ
ยอมรับต้ นทุนในการสร้ างสารสนเทศขึ้นมาเอง ซึ่งเป็ นไปได้ ท่ที ุกคนจะ
คิดแบบเดียวกัน ผลก็คือ สารสนเทศอาจไม่มีเสนอสนองอยู่ในปริมาณ
ที่ทุกๆ คนต้ องการเหมือนกับระดับที่ทุกๆ คนช่วยกันสร้ าง
การวิจยั เป็ นสิทธิสาธารณะ
จากผลที่ทุกๆ คนมีสทิ ธิท่จี ะวิจัย ดังที่ Hirshleifer กับ Riley
เปรียบเปรยเรื่องสิทธิในการจับปลาว่าแตกต่างจากสิทธิในปลาที่จับได้ ดังนั้น
กลุ่มของไอเดียที่ยังไม่ถูกค้ นพบจึงเหมือนฝูงปลา และการวิจัยเหมือนความ
พยายามจับปลาเหล่านั้น ซึ่งมีนัยสาคัญเพราะปลาที่จับได้ จะกลายเป็ นสมบัติ
ส่วนตัว ไอเดียที่ได้ จะเป็ นของผู้วิจัยซึ่งเขาอาจเก็บไว้ เป็ นความลับหรืออาจ
ได้ รับการปกป้ องด้ วยการจดสิทธิบัตร แต่ผลที่ปรากฎก็คือ การค้ นพบจากการ
วิจัยของคนหนึ่งจะทาให้ ไอเดียที่เหลือลดน้ อยลงหรือค้ นพบได้ ยากขึ้น ตรงนี้จะ
ช่วยให้ เข้ าใจง่ายขึ้นว่า ทาไมจึงมีความพยายามมากเกินไปในการจับปลาจาก
แหล่งปลาที่เป็ นของสาธารณะ ปัญหาของเราคือ การที่มีบุคคลใหม่เข้ ามาหา
ประโยชน์จากแหล่งทรัพยากรที่เป็ นสาธารณะนี้ จะก่อให้ เกิดการลดลงของ
ผลประโยชน์หน่วยเพิ่มกับทุกๆ คนที่หาประโยชน์อยู่