Document 7298666

Download Report

Transcript Document 7298666

Chapter 12
Using Information Technology for Strategic Advantage
Part II
Information Technology For Management 5th Edition
Turban, McLean, Wetherbe
Lecture Slides by A. Lekacos,
Stony Brook University
John Wiley & Sons, Inc.
Chapter 12
1
12.3) Strategic resources and capabilities
•
•
•
•
IT สามารถเพิ่มมูลค่าให้องค์ได้สองแนวทาง คือ
1) ทางตรง เช่น ลดต้นทุนการดาเนินการ โดยเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพการทางาน
2) ทางอ้อม เช่น เพิม่ รายรับ โดยการ self service
แต่อีกนัยหนึ่งนั้น IT สามารถนามาใช้เป็ นแหล่งก่อให้เกิดความได้เปรี ยบในการ
แข่งขัน สามารถมองได้ในเชิง resource-based view (RBV) หรื อมองบนพื้นฐานของ
เชิงทรัพยากร ดังแสดงไว้ในตารางที่ 12.2
• การที่จะได้มาดังตารางที่ 12.2 ระบบ IS ต้องมีทรัพยากรและความสามารถดังแสดงไว้
ในตารางที่ 12.3 ซึ่ งประกอบด้วย Technology resources, IT skills และ Managerial IT
resources
Chapter 12
2
Strategic Resources And Capabilities
Chapter 12
3
Strategic Resources And Capabilities
Chapter 12
4
12.4) IT Planning — A Critical Issue for Organizations
• IT planning คือ แผนโครงสร้างของ IT (IT infrastructure)ขององค์กรและแหล่งรวบ
รวมโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ (applications portfolios)ของทุก ๆ ระดับในองค์กรนั้น ๆ
• เรื่ องที่เกี่ยวกับการวางแผน IT (IT planning) นั้นมีความสาคัญมากทั้งผูว้ างแผนและ
ผูใ้ ช้งาน และใช่วา่ ผูใ้ ช้งานมักวางแผนให้กบั หน่วยงานของตนเองเท่านั้น เขาจะต้องเข้า
ไปร่ วมวางแผนในการวางแผน IT ขององค์กร (corporate IT planning)
• Corporate IT planning จะหมายถึง IT infrastructure ซึ่ งระบุวา่ โปรแกรมประยุกต์อะไร
บ้างที่ end user สามารถใช้ได้ ดังนั้นการปรับ goals ขององค์กรและความสามารถของ
IT เข้าหากัน (Goal alignment) จะทาให้ได้รับผลประโยชน์มากที่สุดในแง่ประสิ ทธิผล
ขององค์กร
Chapter 12
5
• แนวทางการวางแผน IT ทาได้หลายแนวทาง ได้แก่
• แนวทางการใช้ธุรกิจนา (Business-led approach) แผนการลงทุนด้าน IT ถูกกาหนด
บนพื้นฐานของกลยุทธ์ทางธุรกิจในปั จจุบนั
• แนวทางขับเคลื่อนด้วยวิธีการ (Method-driven approach) ความต้องการของ IS จะ
ถูกระบุโดยความต้องการใช้เทคนิคและเครื่ องมือต่าง ๆ
• แนวทางการใช้เทคโนโลยี (Technological approach) รู ปแบบจาลองเชิงวิเคราะห์
และเครื่ องมือต่าง ๆ ถูกนามาใช้สร้างแผนของ IT
• แนวทางให้คาแนะนา (Administrative approach) แผนของ IT ถูกจัดทาขึ้นโดย
steering committee.
• แนวทางขององค์กร (Organizational approach) แผนการลงทุนของ IT ถูกผลักดัน
จากมุมมองทางธุรกิจของผูเ้ กี่ยวข้องทั้งหมด (all stakeholders) ในองค์กร
Chapter 12
6
IT Planning — A Critical Issue for Organizations Continued
แบบจาลองในการวางแผน IT 4 ขั้นตอนประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลักคือ
• การวางแผนกลยุทธ์ของ IT (Strategic IT planning) จัดทาความสัมพันธ์ระหว่างแผน
องค์กรและแผน IT
• การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ (Information requirements analysis) บ่งชี้ทวั่ ๆไป
ถึงความต้องการสารสนเทศขององค์กรเพื่อก่อให้เกิด strategic information architecture ที่
ระบุถึง specific application development ได้โดยตรง
• การเคลื่อนย้ายทรัพยากร (Resource allocation) การโยกย้าย IT application development
resources และ operational resources.
• การวางแผนโครงการ (Project planning) สร้างแผนที่แสดงถึงแนวทางของเวลาและ
ทรัพยากรที่ตอ้ งการใช้ใน specific IS projects.
Chapter 12
7
IT Planning — A Critical Issue for Organizations Continued
Applications portfolio คือ การผสมกันระหว่าง computer applications ซึ่ ง information system
department ติดตั้งไว้ หรื อ คือกระบวนการในการพัฒนาตามความต้องการของบริ ษทั
The applications portfolio
categorizes existing, planned,
and potential information
systems based on their
business contributions.
Chapter 12
8
12.5) Strategic Information Technology Planning - Stage 1
ขั้นตอนแรกของ IT planning model คือการระบุถึง applications portfolio ทุกสิ่ งที่องค์กร
ต้องใช้ดาเนิ นธุรกิจ สามารถขยายรวมถึงกระบวนการในการค้นหา strategic information
systems (SIS) ที่เสริ มให้องค์กรสามารถพัฒนาความได้เปรี ยบในการแข่งขันขึ้นมาได้
การปรับ IT เข้ากับแผนขององค์กร: งานหลักของ IT planning คือการะบุ information
systems applications ที่สอดรับกับเป้าประสงค์และระดับความสาคัญที่จดั ทาขึ้นมาโดยองค์กร
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก (industry, supply chain, competition) และสภาพแวดล้อม
ภายใน (competencies, value chain, organizational structure) แล้วสร้างความสัมพันธ์กบั
เทคโนโลยี (alignment).
Alignment คือ การบริ หารจัดการที่ซบั ซ้อน องค์กรยิง่ ซับซ้อนมันจะซับซ้อนมากขึ้นด้วย
Chapter 12
9
Strategic Information Technology Planning – Methodologies
Several methodologies exist to facilitate IT planning.
•
•
The business systems planning (BSP) model ถูกพัฒนาขึ้นมาโดย IBM เพื่อจัดการกับ two main
building blocks ซึ่งกลายเป็ นพื้นฐานของ information architecture คือ
• กระบวนการทางธุรกิจ (Business processes)
• การจัดแบ่ งข้ อมูล (Data classes)
Stages Of It Growth Model, แสดงให้เห็นถึง 6 ขั้นตอนของการเติบโตของ IT ได้แก่
• Initiation. เมื่อเริ่ มนาคอมพิวเตอร์มาใช้
• Expansion (Contagion). ผูใ้ ช้ตอ้ งการ applications มากขึ้น
• Control. เริ่ มพิจารณาถึงต้นทุนเทียบกับผลประโยชน์ โครงการต่าง ๆ เริ่ มคาดหวังผลตอบแทน
• Integration. ลงทุนในเชิงรวมระบบต่าง ๆ ที่มีอยูเ่ ข้าด้วยกัน
• Data administration. ความต้องการทางด้านสารสนเทศมากขึ้น
• Maturity. แผนและการพัฒนา IT ร่ วมมืออย่างใกล้ชิดกับการพัฒนาทางธุรกิจ
Chapter 12
10
Strategic Information Technology Planning – Methodologies Continued
Chapter 12
11
Strategic Information Technology Planning – Methodologies
Continued
•
Critical success factors (CSFs) คือสิ่ งสาคัญสองสามสิ่ งที่ตอ้ งทาให้ถูกต้องเพื่อมัน่ ใจว่า
องค์กรอยูร่ อดและประสบความสาเร็ จ CSF จะเปลี่ยนแปลงไปตามรู ปแบบอุตสาหกรรมที่ทา
อยู่ (manufacturing, service, หรื อ government) คาถามง่าย ๆ ถามตามแนวทางของ CSF คือ:
• อะไรคือวัตถุประสงค์ที่เป็ นศูนย์กลางขององค์กร?
• อะไรคือแฟกเตอร์วกิ ฤติที่ตอ้ งทาให้ได้เพื่อต้องบรรลุถึงวัตถุประสงค์ขา้ งต้น?
• การตัดสิ นใจหรื อการดาเนินการอะไรคือหัวใจของ critical factors?
• ตัวแปรอะไรที่ตอ้ งตัดสิ นใจและจะวัดอย่างไร?
• ระบบสารสนเทศอะไรที่สามารถทาให้เกิดการวัดข้างต้น?
•
Scenario planning คือ วิธีการที่นกั วางแผนเริ่ มสร้างภาพต่าง ๆ แล้วทีมจะเปลี่ยนภาพเป็ น
สถานการณ์ที่เป็ นไปได้มากมายซึ่งเกี่ยวข้องกับผลที่ได้จากแต่ละ scenario.
Chapter 12
12
Strategic Information Technology Planning –
Methodologies Continued
Critical success factors (CSFs)
Chapter 12
13
Strategic Information Technology Planning
Stage 2 Information Requirements Analysis
 ขั้นตอนที่สอง คือ การวิเคราะห์หาสารสนเทศที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการและสารสนเทศนั้นสัมพันธ์กบั
งานของเขาอย่างไร Goal ของขั้นตอนที่สองคือการมัน่ ใจว่าระบบสารสนเทศต่าง ๆ ฐาน
ข้อมูล และ โครงข่ายสามารถร่ วมกันสนับสนุนความต้องการที่ระบุไว้ในข้อแรกได้
 การวิเคราะห์ถึงความต้องการสารสนเทศ (Information requirements analysis) ในขั้นตอน
ที่ 2 จะเป็ นการวิเคราะห์ที่ตอ้ งอาสัยความเข้าใจเป็ นอย่างมาก มันจะเกี่ยวข้องกับ
infrastructures เช่น ความต้องการข้อมูล (เช่น ใน data warehouse หรื อ data center), ความ
ต้องการ intranet, extranet, และ corporate partners จะต้องจัดทาขึ้น
 บ่งชี้ผลที่ได้ (Identifies high payoffs) โครงการ IT ต้องสร้างผลตอบแทนสู งสุ ดให้กบั
องค์กร
 จัดหา architecture ซึ่ งนาไปสู่ การเป็ นเนื้อเดียวกัน รวมกันได้เพื่อยังประโยชน์ให้แก่
องค์กรมากที่สุด
Chapter 12
14
Strategic Information Technology Planning
Stage 3 Resource Allocation
 การเคลื่อนย้ายทรัพยากร (Resource allocation) ในขั้นตอนที่สามประกอบด้วยการ
สร้าง hardware, software, data networks และ communications, facilities, personnel,
และ financial plans ที่ตอ้ งการเพื่อดาเนินการตาม master development plan ซึ่ งนิยามอยู่
ในขั้นตอนการวิเคราะห์ความต้องการ (requirements analysis phase)
 การเคลื่อนย้ายมักเกิดความยุง่ ยากตามมาหลาย ๆ กรณี มีการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้อง
 ยุง่ ยากเนื่องจากโอกาสและการขอใช้เงินมากกว่าทุนที่มี
 ยุง่ ยากเนื่องจากบางโครงการและบาง infrastructures มีความจาเป็ นเพื่อทาให้องค์กรยืนอยู่
ในธุรกิจได้
 แฟกเตอร์สาคัญอื่น ๆ ในการเคลื่อนย้ายทรัพยากรคือการให้ได้มาซึ่ง outsourcing
strategy.
Chapter 12
15
Strategic Information Technology Planning
Stage 4 Project Planning
ขั้นตอนที่สี่และขั้นตอนสุ ดท้ายคือการวางแผนโครงการ (project planning) ซึ่งจะให้
กรอบการทางานทั้งหมด ภายในกรอบนี้ specific applications จะถูกวางแผน กาหนด
เวลา และควบคุม สิ่ งที่ควรเพิ่มเติมคือ vendor management and control เมื่อองค์กร
ต้องการ outsources ความต้องการบางอย่าง
We have to understand what we are going to do
We need to know the start and end dates
We need to know the resources
We need to know the tasks
Various tools exist for planning and control:
• PERT & CPM
• Chapter
Gantt
Charts
12
16
12.7) IT Planning — Information Technology Architectures
 Information technology architecture หมายถึง โครงสร้างโดยรวมทั้งหมดของระบบ
สารสนเทศในองค์กรหนึ่ง ๆ
• โครงสร้างข้างต้นประกอบด้วย applications สาหรับระดับบริ หารหลายระดับ
operational control
management planning and control
strategic planning
• Applications oriented to various functional-operational activities
Marketing
Production
R&D
Distribution
• It also includes infrastructure
Databases
Supporting software
Networks
Chapter 12
17
IT Planning — Information Technology Architectures Continued
 องค์กรที่ต่างกันจะมีความต้องการ IT infrastructure ที่ต่างกัน สองแฟกเตอร์ ที่เกี่ยวข้อง
ในระดับ infrastructure levels คือ information intensity (the extent to which products
or processes incorporate information) และ strategic focus (the level of emphasis on
strategy and planning) พนักงานในระดับสู งขึ้นมาในแง่ของแฟกเตอร์ ท้ งั สองจะใช้ IT
infrastructure services มากขึ้น
 เกี่ยวกับอุตสาหกรรม พนักงานในโรงงานผลิตใช้ IT infrastructure services น้อยกว่า
พนักงานขายปลีกและการเงิน
 การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วทางด้านการตลาด พนักงานที่ตอ้ งการการเปลี่ยนแปลง
สิ นค้าอย่างรวดเร็ ว ต้องการใช้ IT infrastructure services มากขึ้น
 ความร่ วมมือกันระหว่างหน่วยธุรกิจ พนักงานที่เน้นในการทางานร่ วมกัน (เช่น crossselling) มักจะใช้ IT infrastructure services มากขึ้น
Chapter 12
18
 กลยุทธ์และการวางแผน พนักงานที่รวมการวางแผน IT และ การวางแผนองค์กร และการ
ติดตาม หรื อ การเฝ้าดูความสาเร็ จของ strategic goals มักใช้ IT infrastructure services
มากขึ้น
 แต่ละองค์กรมีความต้องการสารสนเทศที่เจาะจงและเป็ นไปตามความต้องการ ดังนั้น
ปั จจุบนั นี้ IT architecture จึงถูกออกแบบให้สอดรับกับกระบวนการทางธุรกิจมากกว่า
เป็ นไปตามโครงสร้างขององค์กรแบบเดิม ๆ ทางเลือกที่ทากันได้แก่
 Centralized computing: ใส่ การประมวลผลและอานาจการควบคุมทั้งหมดไว้ใน
คอมพิวเตอร์เครื่ องเดียว
 Distributed computing: ให้ผใู ้ ช้ควบคุมการคานวณของตนเองโดยตรงผ่านสภาพแวดล้อม
แบบกระจายอานาจการควบคุม
 Blended computing: ใช้ท้ งั สองแบบข้างต้นผสมกัน
Chapter 12
19
IT Planning — Information Technology Architectures Continued
• End-user configurations (workstations):
•
•
•
•
•
การคานวณจากส่ วนกลางผ่าน PC ซึ่งทาตัวเป็ น “dumb terminals” หรื อ “not smart”
ใช้ single-user PC ซึ่งไม่ต่อเชื่อมกับอุปกรณ์ใด ๆ
ใช้ single-user PC ซึ่งต่อกับ PC หรื อ ระบบอื่น ๆ ผ่านทางข่ายการสื่ อสาร
ใช้ Workgroup PC เชื่อมต่อกันและกันเป็ นl P2P network กลุ่มเล็ก ๆ
กระจายการคานวณออกไปทัว่ ทุก PC และเชื่อมต่อกันเป็ น LAN ผ่านทางสายนาสัญญาณ
หรื อ Wi-FI.
Chapter 12
20
IT Planning — Planning Challenges
•
•
•
•
การวางแผน IT จะมีความซับซ้อนมากขึ้นเมื่อมีหลายองค์กรเข้ามามีส่วนร่ วม
Planning for Interorganizational Systems (IOS) อันเกิดจากหลาย ๆ องค์กรจะมีความซับซ้อนผู ้
วางแผนควรเน้นไปที่กลุ่มของลูกค้า ซัพพลายเออร์ และพันธมิตรทั้งหลาย
IT Planning for Multinational Corporations จะเผชิญกับความซับซ้อนของ legal, political, และ
social environment, ดังนั้นหลาย ๆ องค์กรที่เป็ นบรรษัทข้ามชาตินิยมการกระจายออกจากศูนย์กลาง
มากกว่า โดยแยกเป็ นระบบ local systems.
Other Problems for IT Planning
• Cost, ROI justification
• Time-consuming process
• Obsolete methodologies
• Lack of qualified personnel
• Poor communication flow
• Minimal top management support
Chapter 12
21
Global Competition
• หลาย ๆ บริ ษทั ดาเนินงานในแบบ global environment. การทาธุรกิจในสภาพแวดล้อมข้างต้นจะมี
ความท้าทายหลาย ๆ เรื่ อง เช่น สภาพแวดล้อมทางการเมือง การสื่ อสาร อินเตอร์เน็ตก่อให้เกิดผู ้
ซื้อ ผูข้ าย คู่แข่งทัว่ โลก ดังนั้นจึงเป็ นการบังคับให้บริ ษทั เหล่านั้น ต้องหาทางที่ดีข้ ึนเพื่อแข่งขัน
กับทัว่ โลก
• Global dimensions ที่ตอ้ งจัดการในเชิง globalize ได้แก่
•
•
•
•
•
•
•
•
Product
Markets & Placement
Promotion
Where value is added to the product
Competitive strategy
Use of non-home-country personnel - labor
Multidomestic Strategy: Zero standardization along the global dimensions.
Global Strategy: Complete standardization along the seven global dimensions.
Chapter 12
22
IT Planning — Web-based Systems
• การวางแผนกลยุทธ์โดยใช้ Web-based systems ถูกมองว่าเป็ นกลุ่มย่อยของ IT
strategic planning. อย่างไรก็ตามในหลาย ๆ กรณี มนั ถูกแยกอิสระออกมาจาก IT
planning กลายเป็ น E-planning ซึ่ งมุ่งเน้นไปที่ EC infrastructure ซึ่ งเป็ นโอกาสทาง
ธุรกิจแยกออกมาจากแผนทางธุรกิจ
• E-planning มักจะไม่ค่อยเป็ นรู ปแบบทางการมากนัก และค่อนข้างจะมีความคล่องตัว
• ใน e-planning จะต้องใส่ ใจกับ:
•
•
•
•
applications portfolio
risk analysis, the degree of risk in Web-based systems can be high
strategic planning issues such as the use of metrics (industry standards)
strategic planning must integrate, e-business and knowledge management
• The Web environment is very turbulent
Chapter 12
23
IT Planning — Web-based Systems
Continued
Chapter 12
24
Managerial Issues
• Sustaining competitive advantage.
• เมื่อบริ ษทั ต่าง ๆ เติบโตขึ้น ซับซ้อนมากขึ้น เขามักจะพัฒนาทรัพยากรให้พอเพียง โดย
ทาการคัดลอกระบบที่มองเห็นว่าประสบความสาเร็ จจากคู่แข่ง ทั้งนี้เพื่อความรวดเร็ ว
• Importance.
• การทาให้ IT มีความพร้อมในอนาคตก็คือการวางแผนตอนนี้นนั่ เอง ซึ่ งถือเป็ นงานที่
ยุง่ ยากและต้องเผชิญของผูบ้ ริ หารโดยเฉพาะอย่างยิง่ IS management กระบวนการ
วางแผนกลยุทธ์ดา้ น IT สี่ ข้ นั ตอนได้แก่ 1) strategic planning 2) information
requirements analysis 3) resource allocation และ 4) project planning จะช่วยได้
Chapter 12
25
Managerial Issues
• Organizing for planning.
• หลาย ๆ เรื่ องที่เกี่ยวข้องกับการวางแผน เช่น:
• อะไรคือบทบาทของ IS Department?
• How should IT be organized? Staffed? Funded? How should human resources issues, such as
training, benefits, and career paths for IS personnel, be handled?
• อะไรบ้างที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม?
• The competition? The economy? Governmental regulations? Emerging technologies?
• อะไรคือ strategic direction ของ host organization?
• What are its key objectives?
• Are they agreed upon and clearly stated?
Chapter 12
26
Managerial Issues
• Finally, with these strategies and objectives and the larger environment what
strategies and objectives should IS pursue?
• What policies should it establish?
• What type of information architecture should the organization have: centralized or not
centralized?
• How should investments in IT be justified?
• The answer to each of these questions must be tailored to the particular circumstances
of the ISD and the larger organization of which it is a part.
Chapter 12
27
Managerial Issues
• Fitting the IT architecture to the organization.
• ผูบ้ ริ หารองค์กรหนึ่งอาจพบว่า IT architecture ที่มีอยูไ่ ม่เหมาะสมกับองค์กร ในกรณี เช่นนี้
เป็ นไปได้วา่ ฝ่ าเทคนิคของ IT ล้มเหลวในการกาหนดความต้องการขององค์กร
• IT architecture planning.
• ผูช้ านาญการด้าน IT ซึ่งเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีของ IT จะต้องเห็นตรงตามความต้อง การของ
ผูใ้ ช้ในแง่ของธุรกิจและร่ วมมือกับส่ วนที่เกี่ยวข้องเพื่อกาหนดความต้องการในปั จจุบนั และ
ในอนาคตในบางกรณี IT ต้องเป็ นผูน้ า (เมื่อทางด้านฝ่ ายธุรกิจไม่เข้าใจทางด้านเทคนิคหรื อ
เทคโนโลยีใหม่) และ ในบางครั้งผูใ้ ช้ควรเป็ นผูน้ า (เมื่อต้องการให้เทคโนโลยีสร้างโอกาส
ใหม่ ๆ เกิดขึ้นกับธุรกิจ) แผนงานต่าง ๆ ต้องทาให้เป็ นเอกสารถือเป็ นส่ วนหนึ่งของการ
วางแผนกลยุทธ์ขององค์กรและแผนกลยุทธ์ของ IT แผนข้างต้นควรรวมถึงการอบรม คนที่
ต้องการ และ secondary infrastructure issues
Chapter 12
28
Managerial Issues
• IT policy
• IT architectures ควรอยูบ่ นพื้นฐานของ corporate guidelines หรื อ วางตามนโยบายต่าง ๆ
นโยบายเหล่านี้ประกอบด้วย บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคคลากรใน IT
และผูใ้ ช้ เรื่ องเกี่ยวกับความปลอดภัย การวิเคราะห์ในด้าน cost-benefit และ IT
architectural goals
• นโยบายต่าง ๆ ควรสื่ อสารไปยังทุกคนที่เกี่ยวข้องกับ IT
Chapter 12
29
Managerial Issues
•
•
•
•
Ethical and legal issues.
การสัมภาษณ์เพื่อหาความต้องการและข้อกาหนดจากผูบ้ ริ หารนั้นต้องทาทัว่ ทั้งองค์กรและ
ต้องระมัดระวังเรื่ องความเป็ นส่ วนตัว
ในการออกแบบระบบต้องพิจารณาผูค้ นที่เกี่ยวข้องกับระบบด้วย การทาการปรับรื้ อ
กระบวนการของ IT นั้น คนที่เกี่ยวข้องต้องปรับการทางานของตนเองด้วย บางคนอาจรู ้สึกว่า
แก่เกินไปที่จะทาเช่นนั้น ตัวอย่างเช่น การนา Supply chain มาใช้ อาจมีการปลดคนงาน ย้าย
ตาแหน่งหน้าที่ผบู ้ ริ หารต้องนึกถึงสิ่ งเหล่านี้ดว้ ย
การแบ่งปั นทรัพยากรด้านคอมพิวเตอร์และสารสนเทศส่ วนบุคคลอาจต้องมีการเปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรมในการทางาน นอกจากนั้น อาจมีการปกป้องทรัพย์สินของแต่ละแผนกในเชิงไม่
ยอมให้แผนกอื่นมาใช้งาน
Chapter 12
30
Managerial Issues
• IT strategy.
• ในการวางแผน IT จาเป็ นต้องตรวจสอบสามเรื่ องต่อไปนี้:
• (1) เป็ นผูน้ าเทคโนโลยี ข้อดีคือดึงดูดลูกค้า ให้สินค้าหรื อบริ การที่ไม่เหมือนใคร เป็ น
ผูน้ าด้านต้นทุน แต่พึงระลึกไว้วา่ ต้นทุนในการพัฒนาสู ง และมีโอกาสล้มเหลวสู งด้วย
• (2) เป็ นผูต้ าม เมื่อมองด้านกลยุทธ์แล้วจะล้าหลัง แต่ความเสี่ ยงในการล้มเหลวก็จะลดลง
ตันทุนลดต่าลง
• (3) เป็ นนักทดลอง เริ่ มต้นจากเล็ก ๆ เป็ นการลดต้นทุนในการค้นคว้า และลดความเสี่ ยง
เมื่อประสบความสาเร็ จจึงนาไปใช้เต็มระบบอย่างรวดเร็ ว
Chapter 12
31