ความเสี่ยง - แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลาง

Download Report

Transcript ความเสี่ยง - แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลาง

การจัดการสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
ด้วยแนวคิด การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา
สรุป การจัดการสุขภาพกลุม่ เสีย่ ง
ด้วยหลักการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา
KPI
องค์กร
1
KPI
องค์กร
KPI
องค์กร
2
3
5
4
KPI
องค์กร
6
7
KRI
องค์กร
8
ขัน้ ที่ 1
สร้างระบบข้อมูลสุขภาพและสภาวะแวดล้อม
• สร้างทีมดูแลข้อมูลในระดับอาเภอ/ ตาบล รวมทุกฝ่ าย
ทั้งรัฐ ท้องถิน่ และประชาชน
• ทีมกาหนดวัตถุประสงค์และกระบวนการใช้ขอ้ มูล
(ใช้เพือ่ อะไร อย่างไร)
• สร้างระบบข้อมูลสุขภาพสาหรับกลุ่มเป้าหมายโดย
จาแนกเป็ นรายกลุ่มเป้าหมายและรายบุคคล ใช้ขอ้ มูลที่
หน่วยงานทุกฝ่ ายมีอยู่เดิมเป็ นจุดตั้งต้น (สารวจเพิม่ เติม
ตามความจาเป็ น)
• สร้างระบบข้อมูลสภาวะแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อ
สุขภาพ
• ใช้ระบบข้อมูลดิจิตอลเพือ่ ความคล่องตัวในการค้นหา
เปลีย่ นแปลง
• สร้างความเชื่อมโยงกับผูม้ ีหน้าที่วิเคราะห์ ติดตาม
ควรศึกษาระบบข้อมูลสุขภาพของอาเภอสารภี เชียงใหม่
แก้ปัญหาการปฏิบตั ิงาน
ทั้งระดับอาเภอและตาบล
• สร้างระบบการ Update ข้อมูล
ขัน้ ที่ 2
กาหนดค่ากลางของโครงการสาหรับ
กลุม่ เป้ าหมาย
• ค้นหาและกาหนดค่ากลางที่คาดหวัง (ใช้ปรับคุณภาพของ
โครงการ) ในระดับเขตและจังหวัด
• ค่ากลางระดับเขต คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจากพื้ นที่ๆมี
ใช้หลักจัดการความเสีย่ ง โดยตัดทอนหรือลด
ความสาเร็จ ค่ากลางระดับจังหวัด คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างจาก
งานทีไ่ ม่ตอบสนองต่อการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
ประมาณ 30 % ของพื้ นที่ทวั ่ ไป ส่วนระดับอาเภอ ใช้ค่ากลาง
ของกลุ่มเป้าหมาย
ของจังหวัดโดยปรับให้เหมาะสมกับบริบท
• จัดประชุมปฏิบตั ิการร่วมระหว่างฝ่ ายปฏิบตั ิกบั ฝ่ ายสนับสนุ น
(ระดับเขตหรือจังหวัด)ในการค้นหาและกาหนดค่ากลาง
• เขตและจังหวัดประกาศค่ากลางให้พื้นที่ในความรับผิดชอบ
ทราบ (ปรับปรุงทุกปี โดยเพิม่ นวัตกรรมที่คดั เลือกระหว่างปี )
• จังหวัดที่ยงั ไม่ได้ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ไม่ตอ้ งตั้งต้นใหม่
ด้วยการทาแผนที่ฯ แต่ใช้กิจกรรมสาคัญที่กาหนดไว้แล้ว 6
กิจกรรม
• พื้ นที่ตรวจสอบงานที่ทาอยู่ เปรียบเทียบกับค่ากลางที่คาดหวัง
แล้วยกระดับคุณภาพโครงการพร้อมกันทั้งจังหวัด
• ค้นหาเพิม่ เติมใน www.amornsrm.net
ขั้นที่ 2 (ต่อ)
การกาหนดค่ากลางสาหรับ
กลุ่มเป้าหมาย
• กาหนดงานที่เป็ นค่ากลางของทุก
ประเด็นที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพของ
กลุ่มเป้าหมาย
• ประเด็นที่มีอิทธิพลต่อ
กลุ่มเป้าหมายจะเปลีย่ นแปลงไป
ตามประเภทของเป้าหมาย ดังนั้น
ต้องปรับภาพความเชื่อมโยง (ภาพ
ใยแมงมุม) ด้านขวาให้เหมาะสม
กับกลุ่มวัยก่อน
• ค่ากลางที่กาหนดขึ้ นแบ่งเป็ น 2
ส่วน คือเป็ นงานที่เกีย่ วกับตัวบุคคล
ที่เป็ นเป้าหมาย (เลขที่ 1 2 3 7
ในภาพ) และเป็ นงานที่เกีย่ วกับ
สภาวะแวดล้อมของเป้าหมาย
(ได้แก่หมายเลข 4 5 6 ในภาพ)
ตัวอย่างประกาศค่ากลางของจังหวัด
ขัน้ ที่ 3
จาแนกและจัดลาดับความสาคัญตาม
ลักษณะกลุม่ เป้ าหมายย่อยและพืน้ ที่
เสีย่ ง
ใช้หลักจัดการความเสีย่ ง โดยค้นหา
่ มีความ
กลุ่มเป้าหมายและพื้ นทีๆ
เสีย่ งต่างๆกัน เพือ่ การใช้ทรัพยากร
ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
• ทีมหมอครอบครัวกาหนดเกณฑ์
และให้คะแนนสภาวะทางสุขภาพ
(ความเสีย่ ง) เป็ นรายบุคคล
เป้าหมาย
• ทีมท้องถิน่ และภาคประชาชน
กาหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะ
แวดล้อมเป็ นรายหมู่บา้ น
• บันทึกรายละเอียดเหตุผลในการให้
คะแนนในช่องหมายเหตุดว้ ย
การจาแนกและจัดลาดับความสาคัญของกลุม่ เป้ าหมายผู ส้ ูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
ชือ่ บุคคล/ทีอ่ ยู่ _______________คะแนนความเสีย่ งรวม =(ระหว่าง 4 ถึง 12)
สภาวะทางสุขภาพ
(ตามเกณฑ์ที่กาหนด)
คะแนนความเสีย่ ง
หมายเหตุ
(รายละเอียด)
ด้านสุขภาพจิ ต
คะแนน 1 น้อย
2 ปานกลาง
3 มาก
เครียด หรือวิตกกังวล
เครียด และวิตกกังวล
เครียด วิตกกังวลและซึมเศร้า
ด้านโรคไม่ติดต่อ
คะแนน 1 น้อย
2 ปานกลาง
3 มาก
โรคเบาหวาน หรือ ความดัน
โรคเบาหวาน และ ความดัน ไม่มีโรคแทรก
โรคเบาหวาน และ ความดัน มีโรคแทรกซ้อน
ด้านการใช้สารเสพติด
คะแนน 1 น้อย
2 ปานกลาง
3 มาก
สูบบุหรี่ หรือดืม่ สุรา
สูบบุหรี่ และดืม่ สุรา
สูบบุหรี่ ดืม่ สุรา และไม่ออกกาลังกาย
ด้านพฤติกรรม
คะแนน 1 น้อย
2 ปานกลาง
3 มาก
ไม่ลา้ งมือ หรือไม่ใช้ชอ้ นกลาง
ไม่ลา้ งมือ และไม่ใช้ชอ้ นกลาง
ไม่ลา้ งมือ ไม่ใช้ชอ้ นกลาง และดืม่ น้ าอีดลม
ระดับความเสีย่ งของกลุม่ ผู ส้ ูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
คะแนน
4
จานวน(คน)
271
หมายเหตุ
คะแนน 4-6
5
6
7
8
123
145
84
10
เสีย่ งน้อย
คะแนน 7-9
เสีย่ งปานกลาง
9
10
11
2
1
0
คะแนน 10-12
เสีย่ งมาก
12
รวม
0
636
สรุปคะแนนความเสีย่ งของกลุม่ ผู ส้ ูงอายุแยกรายหมู่บา้ น ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
คะแนนรวม
4
5
6
7
8
9
10
11
12
รวม
1
65
2
33
3
85
25
10
13
32
3
106
หมู่ที่
4
รวม
24
5
28
6
18
7
18
271
33
20
3
25
7
123
7
34
3
11
45
145
9
18
31
23
5
5
10
2
2
1
1
89
125
104
65
77
84
70
636
ระดับความเสีย่ งของสภาวะแวดล้อมของกลุม่ เป้ าหมาย ต.ท่ากว้าง องสารภี จ.เชียงใหม่
สภาวะแวดล้อมของ
หมู่บา้ น
(ตามเกณฑ์ที่กาหนด)
ด้านกายภาพ
การจัดการขยะ
การใช้สว้ มนังยอง
่
การใช้พนที
ื้ ่ร่วมกัน
ด้านสังคม
การร่วมกิจกรรมใน
ชุมชน
การถ่ายทอดภูมิปัญญา
จากรุ่นสู่ร่นุ
ด้านเศรษฐกิจ
อาชีพ รายได้ หนี้ สิน
คะแนนความเสีย่ ง
รายชื่อหมู่บา้ น
หมายเหตุ
1 น้อย
2 ปานกลาง
3 มาก
หมู่ที่ 3 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 7 ร้อยละของผูส้ ูงอายุใน
หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 1
หมู่บา้ นมีความเสี่ยงจาก
หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 6
น้อยไปหามาก
1 น้อย
2 ปานกลาง
3 มาก
หมู่ที่ 3 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 1 จานวนครั้งและปริมาณ
หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 7
ของคนเข้าร่วมกิจกรรม
หมู่ที่ 6 , หมู่ที่ 2
ตามลาดับ
1 น้อย
2 ปานกลาง
3 มาก
หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 7 รายได้ หนี้ สิน ของ
หมู่ที่ 6 , หมู่ที่ 1
ประชากรในหมู่บา้ นมี
หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 3
ความเสีย่ งจากน้อยไป
หามาก
ขัน้ ที่ 3 (ต่อ)
จาแนกและจัดลาดับความสาคัญตาม
ลักษณะกลุม่ เป้ าหมายย่อยและพืน้ ทีเ่ สีย่ ง
• จัดลาดับความสาคัญของหมู่บา้ น
ตามระดับความเสีย่ งของสภาวะ
ทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมเป็ น
หมู่บา้ นประเภท 1 (เสีย่ งมาก) 2
(เสีย่ งปานกลาง)และ 3 (เสีย่ ง
น้อย)
• ประเภทความเสีย่ งของหมู่บา้ นเป็ น
ตัวกาหนดงานสาหรับ
กลุ่มเป้าหมายและสภาวะแวดล้อม
ในขั้นที่ 4
การกาหนดลาดับความสาคัญในภาพรวมของตาบลท่ากว้าง อ.สารภี เชียงใหม่
สภาพแวดล้อมของ
หมู่บา้ น
ความเสีย่ งสูง
หมู่ที่ 4
หมู่ที่ 6
ความเสีย่ งปานกลาง
หมู่ที่ 1
หมู่ที่ 2
ความเสีย่ งน้อย
หมู่ที่ 3
หมู่ที่ 5
หมู่ที่ 7
กลุ่มเสีย่ งมาก
(จานวน)
1 คน
ไม่มี
รวม 1 คน
ไม่มี
ไม่มี
รวม 0 คน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
รวม 0 คน
กลุ่มเสีย่ งปาน
กลาง(จานวน)
1
1
2
25 คน
23 คน
รวม 48 คน
1
กลุ่มเสีย่ งน้อย
(จานวน)
หมายเหตุ
2
78 คน
54 คน
รวม 132 คน
2
3 คน
14 คน
รวม 17 คน
3
103 คน
75 คน
รวม 178 คน
3
3
125 คน
34 คน
70 คน
รวม 229 คน
ไม่มี
31 คน
ไม่มี
รวม 31 คน
แนวคิดสาหรับกาหนดกิจกรรมสาคัญ
และงาน
• เน้นลดระดับความเสีย่ งใน
หมู่บา้ นประเภท 1 ลงด้วย
มาตรการทางวิชาการสาหรับ
กลุ่มเป้าหมายในสัดส่วนที่สูง
กว่ามาตรการทางสังคม
• สัดส่วนจะกลับทางกันสาหรับ
หมู่บา้ นประเภท 3 และ
ใกล้เคียงกันสาหรับประเภท 2
• ความเข้มของมาตรการทั้ง
เทคนิค สังคม และนวัตกรรม
(สะท้อนด้วยลักษณะงาน)
สูงสุดในประเภท 1 ตา่ สุดใน
ประเภท 3
• ทีมหมอประจาครอบครัวจัดการ
งานภาครัฐ
• ท้องถิน่ /ชุมชน/อสม.จัดการ
งานภาคประชาชน
การวิเคราะห์เพือ่ กาหนดงานตามระดับความเสีย่ งของตาบลท่ากว้าง อ.สารภี เชียงใหม่
• จุดเน้นหนักอยู่ที่งานภาคประชาชนที่ควรครอบคลุมทั้งตาบลในความเข้มที่ต่างกันตามระดับความเสีย่ ง
• สามารถใช้งานในค่ากลางของจังหวัด (ปรับปรุงให้เหมาะกับบริบท)เป็ นกรอบในการกาหนดงานภาคประชาชน
• โอกาสมอบความรับผิดชอบให้ภาคประชาชนดาเนินการเองมีความเป็ นไปได้สูง อยู่ที่การเพิม่ สมรรถนะการ
บริหารจัดการและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลซึ่งควรกาหนดงานเพิม่ เติมจากที่ปรากฏในค่ากลางของจังหวัด
• ทีมหมอครอบครัวกาหนดรูปแบบการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายสาหรับหมู่บา้ นสีเหลืองเป็ นหลัก โดยรวม 1 คนจาก
หมู่บา้ นสีแดงเข้าไว้ในโครงการด้วย
• แบ่งงานระหว่างสมาชิกในทีมหมอครอบครัวภาครัฐ โดยใช้ระดับความเข้มปานกลางเป็ นหลัก
ขัน้ ที่ 4
ปฏิรูปโครงการของรัฐฯก่อนนาไปปฏิบตั ิ






ใช้แนวคิดการพัฒนาหรือปรับเปลีย่ นบทบาทของภาคประชาชน (หมายรวมทั้งท้องถิน่ /อสม.)ให้สามารถ
วางแผน จัดการโครงการสุขภาพได้ดว้ ยตนเอง อันเป็ นเป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนาบทบาทของ
ประชาชนโดยภาครัฐ
ปฏิรูปโครงการให้ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน หรือใช้เทคนิคที่ไม่สามารถดาเนินการได้โดยภาคประชาชน
ลดจานวนโครงการให้เหลือน้อยที่สุด เพือ่ ไม่ให้เป็ นภาระต่อภาคประชาชนผูด้ าเนินโครงการ
ควบคุมจานวนโครงการที่มีจานวนน้อยให้คงที่ โดยเปลีย่ นรูปแบบการวางโครงการจากที่ใช้ประเด็นปั ญหา
เป็ นตัวตั้ง (Issue-based Project Formulation) ซึ่งไม่สามารถควบคุมจานวนโครงการที่เกิดขึ้ นได้ (Openend) เป็ นการใช้กิจกรรมจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ที่สาคัญเป็ นตัวตั้ง (SRM Activity-based Project
Formulation) ซึ่งมีจานวนจากัด (Close-end) ทาให้สามารถควบคุมจานวนโครงการได้
การดาเนินการปรับโครงการของรัฐฯก่อนนาไปปฏิบตั ิ ให้เป็ นบทบาทของเจ้าหน้าที่ระดับที่ใกล้ชิดกับ
ประชาชนที่สุด และต้องมีการประสานความร่วมมือและเพิม่ พูนสมรรถนะของภาคประชาชนเพือ่ ให้รบั
บทบาทดังกล่าวได้ต่อไปในอนาคต
การปรับเปลีย่ นลักษณะโครงการดังกล่าว ถือเป็ นนโยบายที่ตอ้ งกาหนดในระดับกระทรวงฯ และมีการแจ้ง
ให้ทราบและถือปฏิบตั ิเป็ นทางการ
การปฏิรูปโครงการ : กลุม่ วัยผู ส้ ูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
กิจกรรมจาก SRM
สุขภาพจิ ต
โรคไม่ติดต่อ
สารเสพติด
โครงการรายประเด็น
พฤติกรรม
ชุดงาน/ค่าใช้จ่าย
โครงการรายกิจกรรม
1.การพัฒนา/บริการ
กลุ่มเป้าหมาย
ดูแลผูส้ ูงอายุระยะ
ยาว
ทาคลินกิ DPAC
ทาคลินกิ เลิกสุรา
บุหรี่
สร้างเสริมวามสุข 5
มิติ
การพัฒนาระบบ
บริการปฐมภูมิ
(บาท)
2. การเฝ้าระวัง/ คัด
กรองโดยประชาชน
-สารวจ 2Q ADL
วัดความดัน
เจาะน้ าตาลในเลือด
สารพิษในเลือด
ทดสอบนิโคติน
ทาAUDIT
-ชัง่ นน. ส่วนสูง
หาBMI รอบเอว
การพัฒนาศักยภาพ
อสม. นักจัดการ
สุขภาพ (บาท)
-
3. การดาเนิน
มาตรการ
ทางสังคม
ปฏิบตั ิการชมรม
สายใย น้ าใจท่ากว้าง
สร้างบุคคลต้นแบบ งานศพ งานเศร้างด
เหล้า งดเบียร์ งด
ในการปรับเปลีย่ น
พฤติกรรม 3 อ. 2 ส. น้ าอัดลม
ปัน่ จักรยานทุกวัน
อาทิตย์
แอโรบิค ทุกเย็น
ผูส้ ูงอายุ วันอังคาร
และวันศุกร์
ธรรมนู ญสุขภาพ
ตาบล (บาท)
4. การสือ่ สารเพือ่
ปรับเปลีย่ น
พฤติกรรม
ส่งเสริมการทดลอง
ปฏิบตั ิพฤติกรรมใหม่
ในรูปแบบต่างๆ
สร้างบุคคลต้นแบบ
ส่งเสริมการทดลอง บุคคล
ปฏิบตั ิพฤติกรรมใหม่ เยีย่ มบ้าน
ในรูปแบบต่างๆ
บุคคลต้นแบบ
สร้างบุคคลต้นแบบ
การฝึ กทักษะ
บุคคลต้นแบบ
อผส
การพัฒนาศักยภาพ
วิทยากรกระบวนการ
(บาท)
โครงการลดเค็ม
ครึง่ หนึง่ คนท่ากว้าง
โครงการออก
กาลังกายเพือ่
โรงเรียนร่มโพธิ์
(บาท)
5. การปรับ โครงการ โครงการสุขใจไม่คิด
ของท้องถิน่ /ตาบล สั้น
โครงการลดละ
เลิกบุหรี่ สุรา
ขัน้ ที่ 5 บูรณาการ
• ใช้ตารางบูรณาการในภาพ ปรับประเด็นที่จะ
บูรณาการแถวบนให้ตรงกับชุดงานในตาราง
ปฏิรูป
• ออกรายละเอียดของชุดงานโดยนาชุดงานที่
กาหนดไว้ในตารางปฏิรูปโครงการมาบูรณา
การงานที่อาจจะทาพร้อมกันได้โดยใช้
ทรัพยากรร่วมกัน ขั้นตอนนี้ จะสามารถทาให้
ประหยัดทรัพยากร (คน เงิน เวลา วัสดุ
อุปกรณ์)ได้
• การบูรณาการงานเกีย่ วกับสภาวะแวดล้อม
สามารถใช้ร่วมกันระหว่างกลุ่มเป้าหมายต่างๆ
ได้ ถ้ากลุ่มเป้าหมายเหล่านั้นอยู่ในพื้ นที่
เดียวกัน (ถ้าต้องการ อาจเพิม่ เติมงานที่มี
ลักษณะเฉพาะของกลุ่มเป้าหมายบางกลุ่มได้)
• งานใดที่มีลกั ษณะเฉพาะตัวที่ไม่สามารถทา
ร่วมกับงานอื่นได้ ให้แยกเป็ นโครงการพิเศษ
ขัน้ ที่ 6
กาหนดรายละเอียดของงานด้วยตาราง 7 ช่อง
คัดเลือกและกาหนดงานสาคัญจากทุกชุดงานในตารางบูรณาการเพือ่ ให้รายละเอียด
ขัน้ ที่ 7
สร้างฐานข้อมูลเพือ่ การบริหารจัดการ
• ค้นหาเพิม่ เติมใน www.amornsrm.net
• นารายการตัวชี้ วัดผลผลิต
และผลสาเร็จจากตาราง 7
ช่อง พร้อมข้อมูลที่จาเป็ น
อื่นๆมาสร้างเป็ นระบบ
ข้อมูลเพือ่ การบริหาร
จัดการ โดยให้เป็ นส่วนหนึง่
ของข้อมูลระดับอาเภอที่ใช้
ร่วมกันระหว่างผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
ทุกสาขา
• กระทรวง สธ. สร้าง
โปรแกรมสาหรับวิเคราะห์
ข้อมูลที่มีอยู่ให้สามารถใช้
ประเมินความเสีย่ งและ
ความก้าวหน้าของการ
พัฒนาบนพื้ นฐานของ
KPI/KRI
• ข้อมูลที่แนะนาปรากฏตาม
ภาพ อาจเพิม่ เติมตัดทอน
ได้ตามที่ผูบ้ ริหารระดับ
ต่างๆจะตกลงกัน
ขัน้ ที่ 8
สร้างโครงการบนพืน้ ฐานกิจกรรม
• การบู รณาการทาให้เหลือโครงการใน
ระดับพื้ นที่เพียง 2 โครงการ คือ
โครงการจัดการสุขภาพของ
กลุ่มเป้าหมาย และโครงการจัดการ
สภาวะแวดล้อม
• พื้ นที่ใช้เงินที่ประหยัดได้เปิ ดโครงการ
ที่ 3 คือโครงการส่งเสริมนวัตกรรม
สังคม เพือ่ พัฒนาสมรรถนะเชิงการ
บริหาร
จัดการตนเองของประชาชนและ
สร้างความเชื่อมโยงกับระบบ
การพัฒนาสังคม/เศรษฐกิจของตาบล
• ค้นหาเพิม่ เติมใน www.amornsrm.net
ขัน้ ที่ 8 (ต่อ)
ผลจากการบูรณาการ
• การบูรณาการทาให้ การใช้ จ่าย
งบประมาณลดลง (ภาพขวา)
สาหรับทุกตาบล
• ที่ตาบลสันทรายหลวง (กราฟแท่ง
แรก) งบประมาณลดลงกว่าครึ่ง
เนื่องจากได้ รับความร่วมมือจาก
เทศบาลรับโครงการจัดการ
สิ่งแวดล้ อมของกลุ่มเป้ าหมายไป
ดาเนินการทั้งหมด
• ตาบลอื่นๆเทศบาลได้ ดาเนินการ
จัดการสิ่งแวดล้ อม แต่ไม่สามารถหา
ข้ อมูล ตัวเลขงบประมาณได้ ทาให้
รพสต.ต้ องดาเนินการเอง
• นี่คือผลที่ไม่มีการประสานระบบ
ข้ อมูลระหว่างองค์กร
ขัน้ ที่ 9
สร้างนวัตกรรมสังคม
• สร้าง “นวัตกรรมรูปแบบ”เพือ่ การ
เปลีย่ นแปลงที่เป็ นระบบ โดยเฉพาะ
รูปแบบการบริหารจัดการ (เช่น ระบบ
เขตตรวจราชการ หมอครอบครัว
ฯลฯ)
• “นวัตกรรมกระบวนการ" คือ
องค์ประกอบสาคัญของการ
เปลีย่ นแปลงที่เกีย่ วกับพฤติกรรมและ
ความสามารถพึง่ ตนเอง กระบวนการ
ของความร่วมมือของประชาชนจะต้อง
ชัดเจน
• คนทัว่ ไปต้องสามารถทาความเข้าใจ
และใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และ
สาธารณสุขได้ (นวัตกรรมเทคโนโลยี)
• ค้นหาเพิม่ เติมใน www.amornsrm.net
ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียด
เพิม่ เติมได้ที่
www.amornsrm.net
ขอขอบคุณ