สไลด์นำเสนอ - บทนำ - ระบบฐานข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์

Download Report

Transcript สไลด์นำเสนอ - บทนำ - ระบบฐานข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์

การสัมมนารับฟั งความคิดเห็น ครั้งที่ 1
ร่างบัญชีรายชื่อวัสดุเหลือใช้และของเสียครัวเรือนและอุตสาหกรรมทีเ่ ป็ น
แหล่งทรัพยากรทดแทน
ภายใต้โครงการจัดทาบัญชีของเสียที่เป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทน
โดย กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ กระทรวงอุตสาหกรรม
และ ศูนย์ความเป็ นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
24 กรกฎาคม 2555
เวลา 08.30-16.30 น.
ณ ห้องจรัสเมือง 2 ชั้น 2
โรงแรมเดอะทวินทาวเวอร์ กรุงเทพฯ
1
ความรูพ้ นฐาน
ื้
o หลักการจัดการของเสีย
o หลักการ Urban Mining
o กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสีย
2
หลักการจัดการของเสีย
การลดการเกิดของเสีย
การใช้ซ้ า
การป้องกันมลพิษ
การนากลับมาใช้ใหม่
การบาบัด
การจัดการที่ปลายเหตุ
การกาจัด
3
หลักการ Urban Mining
• การทาเหมืองแร่ในเมือง (Urban
mining):ขยะกลายเป็ นแหล่งวัตถุดิบ
ด้านแร่ โลหะ และพลังงานทดแทนที่
สาคัญของประเทศ
• ขยะมูลฝอยจากภาคครัวเรือนและ
สานักงาน 15 ล้านตันต่อปี
• วัสดุเหลือใช้และกากของเสียจาก
ภาคอุตสาหกรรม 19-25 ล้าน
ตันต่อปี
4
การศึกษา Waste Flow
Raw
Materia
ls
Resource
Managem
ent
Production
Products
Processes
Waste &
Pollution
Waste
Exchange
Waste
Network
EcoDesign
EcoEfficiency
EcoIndustry
Estate
5
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสีย
o
o
o
USA: Code of Federal Regulation (CFR)
: Resource Conservation and Recovery(RCRA )
EU :European Waste Code - Hazardous Waste List (EWC-HWL)
o
o
o
o
Australia
Singapore
China
Thailand
6
Resource Conservation and Recovery (RCRA)
• Listed Wastes, which appear on one of the four hazardous wastes lists
established by EPA regulations:
• The F-list (non-specific source wastes), which can be found in the
regulations at 40 CFR §261.31.
• The K-list (source-specific wastes), which can be found in the
regulations at 40 CFR §261.32.
• The P-list and the U-list (discarded commercial chemical products),
which can be found in the regulations at 40 CFR §261.33.
• Characteristic wastes, which exhibit one or more of four characteristics
defined in 40 CFR Part 261 Subpart C:
• Ignitability, as described in 40 CFR §261.21.
• Corrosivity, as described in 40 CFR §261.22.
• Reactivity, as described in 40 CFR §261.23.
• Toxicity, as described in 40 CFR §261.24.
@copyright 2012
7
European Waste Code - Hazardous Waste List (EWCHWL)
06
06 01
06 07
06 01
01
@copyright 2012
ของเสี ยจากกระบวนการผลิตสารอนินทรีย ์ (Wastes from
inorganic chemical process)
ของเสี ยจากกระบวนการผลิต การผสมสูต ร การจัดส่ ง
และการใช้ งานกรดอนินทรีย ์ (Wastes
from
the
manufacture, formation, supply and use (MFSU) of
acid)
ของเสี ยจากกระบวนการผลิต การผสมสูต ร การจัดส่ ง
และการใช้งานธาตุฮาโลเจนตางๆ
(Wastes from the
่
manufacture, formation, supply and use (MFSU) of
bases)
H กรดซัลฟิ วริก และกรดซัลฟูรส
ั (Sulphuric acid acid
A หมายเหตุ
sulphurous
: “HA” : Hazardous acid)
waste – Absolute entry “HM” : Hazardous waste – Mirror entry
ที่มา: Environmental Protection Agency, 2002 European waste catalogue and Hazardous waste list (EWC – HWL)
8
European Waste Code - Hazardous Waste List (EWC-HWL)
ประเภทความอันตราย
Explosive
Oxidizing
Extremely flammable
Highly flammable
Flammable
Irritant
Harmful
Very toxic
Toxic
Carcinogenic
Corrosive
Toxic for reproduction
Mutagenic
Dangerous for the
environment
Sensitizing
@copyright 2012
ชนิดความเสี่ยง
(R phrases)
R2, R3
R7, R8, R9
R12
R11, R15, R17
R10
R36, R37, R38, R41
ลักษณะอันตราย
(Hazard properties)
H1
H2
H3A
H3A
H3B
H4
R20, R21, R22, R48/+, R68/+ R65
H5
R26, R27, R28, R39/+
H6
R23, R24, R25, R39/+, R48/+
H6
R45, R49, R40
R34, R35
R60, R61, R62, R63
R46, R68
R50, R51, R52, R53,R54, R55, R56,
R57,R58, R59
R42, R43
H7
H8
H10
H11
H14
-
9
Australia
Waste description
Cyanide
Cyanide containing wastes.
Acids
Acids in a solid form or acidic
solutions with pH value of 4 or less
Alkaline waste
Alkaline solids or alkaline solutions
with pH value of 9 or more. Includes,
but is not limited to: caustic soda,
alkaline cleaners, and waste lime.
Inorganic chemicals
Metal carbonyls.
@copyright 2012
Waste form
Waste code
UN number
Hazard
properties
L
P
S
A100
“
“
1935
1935
1588 or 2811
6.1
6.1
6.1
L
P
S
B100
“
“
*
*
*
8
8
8
L
P
S
C100
“
“
*
*
*
8
8
8
L
P
S
D100
“
“
3281
3281
3281
6.1
6.1
6.1
10
Australia
ประเภทอุตสาหกรรม
Textile, leather, clothing and footwear manufacturing
Wool scouring
Natural textile manufacturing
Synthetic textile manufacturing
Leather tanning, fur dressing and leather product
manufacturing
Textile finishing and other textile product
manufacturing
Wood and paper product manufacturing
Timber resawing and dressing
Wood product manufacturing, NOS
Pulp, paper and paperboard manufacturing
Converted paper product manufacturing
@copyright 2012
รหัสของแหล่งกาเนิดของเสีย
(Waste origin code)
1311
1312
1313
1320
1334
1410
1490
1510
1520
11
Australia
ประเภทสาร/ธาตุที่ปนเปื้ อน
วิธีการสกัดหรือวิธีการวิเคราะห์
(Chemical contaminants)
(Extraction and/or analytical methods)
Metals, including:
NEPM methods 201, 202, 203
- antimony USEPA methods 3051A, 3050B, 6010C,
arsenic
6020A, 200.7, 200.8 APHA methods 3110 to
- barium - beryllium 3125
- boron - cadmium
- copper - lead
- nickel - selenium
- silver - zinc
Metal, mercury
NEPM method 203, USEPA methods
3051A, 7471B, 6020A
Metal, Hexavalent
USEPA method 3060A
chromium
@copyright 2012
12
Singapore
ประเภท
Acids
รายละเอียด
1. Spent inorganic acids. (Hydrochloric acid,
sulphuric acid, nitric acid, phosphoric acid,
hydrofluoric acid, boric acid and pickling acid)
2. Spent organic acids. (Acetic acid, formic acid,
benzoic acid and sulphonic acid)
Alkali
1. Spent alkaline solutions
2. Spent ammoniacal solutions
3. Metal hydroxide sludges and oxide sludges
Asbesto 1. Asbestos wastes from asbestos/cement
s
manufacturing processes
2. Empty sacks/bags which have contained
loose asbestos fiber
3. Asbestos wastes generated from industrial
activity, demolition, renovation and delagging
@copyright 2012works and ship repairing
ปริมาณที่กาหนดในการขนส่ง
(Prescribed quantity
for transportation per
trip)
250 l
250 l
250 l
250 l
300 kg
300 kg
300 kg
500 kg
13
the People’s Republic of China
• บัญชีที่ 1 บัญชีรายชื่อของเสียที่หา้ มนาเข้าในประเทศจีน (Catalogue of Solid
Wastes Forbidden to Import in China)
• บัญชีที่ 2 บัญชีรายชื่อของเสียที่จากัดในการนาเข้าในประเทศจีนเพื่อการนามาใช้เป็ น
วัตถุดิบ (Catalogue of Solid waste Restricted Import solid wastes that can be
used as Raw Material in China)
• บัญชีที่ 3 บัญชีรายชื่อของเสียที่สามารถนาเข้าในประเทศจีนแบบอัตโนมัติ เพื่อการ
นามาใช้เป็ นวัตถุดิบ (Catalogue of Automatic-Licensing Import Solid waste that
can be used as Raw Material in China)
@copyright 2012
14
Catalogue of Solid Wastes Forbidden to Import in China
No.
I.
1
2
3
4
5
Customs
Waste Name (Customs Commodity
H.S Code
Name)
Waste animal and plant products
0501000000
Unprocessed human hair, no matter
washed or not; wasted human hair
0502103000
Bristles and wasted bristles
0502902090
Other badger hair and other wasted animal
hair used for making brushes
0505901000
Powder and waste of feathers or parts of
feathers
0506901110
Waste of bones, containing composition of
ox, sheep or goat (unworked, defatted,
simply prepared)
6
0506901910
7
0507100090
29
2710990000
@copyright 2012
Wastes of bones (unworked, defatted,
simply prepared)
Ivory and powder or waste there of other
animals
Other, of waste oils
Brief Name
Other Stipulation &
Remark
Wasted human hair
Wasted bristles
Wasted animal hair
Waste of feathers
Waste of bones,
containing
composition of ox,
sheep or goat
Wastes of bones
Waste of ivory
Other, of waste oils
Including coal tar not
measuring up to
Standard YB/T 5075
15
ประเทศไทย
• พระราชบัญญัตวิ ต
ั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535
• ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอน
ั ตราย พ.ศ.๒๕๔๖
• พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535
• ประกาศกระทรวงฯ เรื่อง การกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548
• เพื่อจาแนกชนิ ดและประเภทของเสียตามแหล่งกาเนิ ด (แบ่งเป็ น 19 หมวด) และ
จาแนกประเภทของเสียโดยการใช้รหัสเลข 6 หลักของสหภาพยุโรปมาใช้
• เพื่อกาหนดวิธีในการทดสอบวิเคราะห์ของเสีย รวมทั้งการระบุระดับความเข้มข้นที่
บ่งชี้ ความเป็ นอันตรายตาม USEPA
@copyright 2012
16
ประกาศกระทรวงฯ เรื่อง การกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548
• รหัสของชนิ ดและประเภทของสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วให้เป็ นไปตามที่กาหนดใน
ภาคผนวกที่ 1 ท้ายประกาศนี้
• สิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วดังต่อไปนี้ ได้รบ
ั การยกเว้นไม่ตอ้ งปฏิบตั ิตามประกาศ
ฉบับนี้
oสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็ นของเสียอันตรายจากสานักงาน บ้านพักอาศัย
และโรงอาหารในบริเวณโรงงาน
oสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มีกฎหมายควบคุมเฉพาะ ได้แก่ กากกัมมันตรังสี และ
มูลฝอยตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข
oน้ าเสียที่ส่งไปบาบัดนอกบริเวณโรงงานทางท่อส่ง
@copyright 2012
17
การจาแนกชนิดและประเภทของเสี ยตามแหลงก
่ าเนิด
(แบงเป็
่ น 19 หมวด)
การจาแนกประเภทของเสี ยโดยการใช้รหัสเลข 6 หลัก
2 หลักแรก
XX
ประเภทของการประกอบ
กิจการ หรื อชนิดของสิ่ง
ปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้ แล้ ว
19 หมวด
@copyright 2012
2 หลักกลาง
2 หลักท้ าย
XX
XX
กระบวนการเฉพาะในการ ลักษณะเฉพาะของสิ่ง
ประกอบกิจการนัน้ ๆ ที่ทา ปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้
ให้ เกิดสิ่งปฏิกลู หรื อวัสดุที่
แล้ วนัน้
ไม่ใช้ แล้ ว หรื อเป็ นชนิดของ
สิ่งปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้
แล้ ว
18
หลักการจาแนกประเภทของเสียโดยการใช้รหัสเลข 6 หลัก
1.
• ให้ พจิ ารณาว่าสิ่งปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้ แล้ วที่เกิดขึ ้น มาจากกระบวนการที่สอดคล้ องกับ
• (1) หมวด 01 ถึง หมวด 12
• (2) หมวด 17 ถึง หมวด 19
2.
• ให้ หารหัสเลข 6 หลักที่เหมาะสมในหมวดเหล่านี ้ ยกเว้ นรหัสที่มีเลข 2 หลักสุดท้ ายเป็ น 99
3.
• หากไม่สามารถหารหัสที่เหมาะสมตาม (1) และ (2) ให้ ตรวจสอบรหัสตามชนิดของสิ่งปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้ แล้ ว ใน
หมวด 13 ถึง 15
4.
• ถ้ ายังไม่สามารถระบุได้ ให้ ตรวจสอบรหัสสิ่งปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้ แล้ ว ในหมวด 16 หากไม่สามารถระบุรหัสเลข 6 หลัก
จากหมวด 16 ได้ ให้ กลับไปใช้ รหัสที่มีเลข 2 หลักสุดท้ ายเป็ น 99 ในหมวดที่เกี่ยวข้ อง
5
@copyright 2012
• สิ่งปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้ แล้ วที่มีรหัสเลข 6 หลักกากับด้ วยตัวอักษร HA (Hazardous waste –
Absolute entry) หรื อ HM (Hazardous waste – Mirror entry) ถือว่ามีคณ
ุ สมบัติเป็ น
ของเสียอันตรายตามคุณลักษณะที่กาหนดไว้ ในภาคผนวกที่ 2
• สิ่งปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้ แล้ วที่มีรหัสเลข 6 หลักกากับด้ วยตัวอักษร HM (Hazardous waste – Mirror
entry) ผู้ประกอบการต้ องทาการวิเคราะห์ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในภาคผนวกที่ 2 ในกรณีที่ต้องการโต้ แย้ งว่าสิ่ง
ปฏิกลู หรื อวัสดุที่ไม่ใช้ แล้ วดังกล่าวไม่เข้ าข่ายเป็ นของเสียอันตรายตามคุณสมบัติที่กาหนดไว้ ในประกาศนี ้
19
การจาแนกความเป็ นอันตรายของของเสีย
A.
B.
C.
D.
E.
ประเภทสารไวไฟ (ignitable Substances)
ประเภทสารกัดกร่อน (Corrosive substances)
ประเภทสารที่เกิดปฏิกิริยาได้ง่าย (Reactive substances)
ประเภทสารพิษ (Toxic substances)
ประเภทที่มีองค์ประกอบของสารเจือปน
20
A. ประเภทสารไวไฟ (ignitable Substances)
Pensky-Martens
Closed Cup Tester
ประเภทสารไวไฟ (ignitable Substances)
ASTM Standard
D-93-79
1.1 ของเหลวที่มีจดุ วาบไฟ (Flash point) ต่ากว่า 60 องศาเซลเซียสแต่ไม่รวมถึง
สารละลายที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่น้อยกว่า 24 % โดยปริมาตร
1.2 สารที่ไม่ใช่ของเหลวแต่สามารถลุกเป็ นไฟได้ เมื่อมีการเสียดสี หรื อเมื่อมีการดูดความชื ้นหรื อ
เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีขึ ้นเองภายในสารนัน้ และเมื่อเกิดลุกเป็ นไฟจะเกิดขึ ้นอย่างรุนแรง
และอย่างต่อเนื่องที่ก่อให้ เกิดอันตรายร้ ายแรงได้ ภายใต้ อณ
ุ หภูมิและความดันมาตรฐาน (ความดัน
1 บรรยากาศ และอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส)
1.3 เป็ นก๊ าชอัดที่จดุ ระเบิดได้ (Ignitable compressed gas) ซึง่ ก๊ าซอัดนี ้ ให้ หมายถึง วัสดุหรื อ
ของผสมใด ๆ ที่บรรจุอยูใ่ นถังบรรจุที่มีความดันสมบูรณ์(Absolute pressure) มากกว่า 2.81
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ที่อณ
ุ หภูมิ 21 องศาเซลเซียส หรื อมีความดันสมบูรณ์ มากกว่า 7.31 กิโลกรัม
ต่อตารางเซนติเมตร ที่อณ
ุ หภูมิ 55 องศาเซลเซียส
ASTM Standard
D-93-80
Setaflash Closed
Cup Tester
ASTM Standard
D-3278-78
ASTM D-323
1.4 เป็ นสารออกซิไดเซอร์ (Oxidizer) ซึง่ สามารถไปกระตุ้นให้ เกิดการเผาไหม้ ของ
สารอินทรี ย์ขึ ้นได้ ได้ แก่ สารประกอบจาพวก chlorate permanganate inorganic
peroxide และ nitrate
@copyright 2012
21
ประเภทสารกัดกร่อน (Corrosive substances)
B. ประเภทสารกัดกร่อน (Corrosive substances)
สารละลาย (Aqueous solution) ที่มีคา่ ความเป็ นกรดด่าง
(pH) เท่ากับ 2 หรือตา่ กว่า และค่าความเป็ นกรดด่าง (pH)
เท่ากับ 12.5 หรือสูงกว่า
ของเหลวที่กดั กร่อนเหล็กกล้าชั้น SAE 1020 ได้ในอัตราสูง
กว่า 6.35 มิลลิเมตรต่อปี ที่อุณหภูมิ 55 องศาเซลเซียส
@copyright 2012
pH-meter
USEPA Method
9040
NACE
(National
Association of
Corrosion
Engineers)
Standard TM01-69
22
C. ประเภทสารที่เกิดปฏิกิริยาได้ ง่าย (Reactive substances)
สารที่มีสภาพไม่คงตัว สามารถทาปฏิกิริยาได้ อย่างรวดเร็ วและอย่างรุ นแรงโดยไม่มีการระเบิดเกิดขึ ้น
(Reactive substances)
ประเภทสารที่เกิดปฏิกิริยาได้ ง่าย
สารซึง่ ทาปฏิกิริยาอย่างรุ นแรงกับน ้า
สารซึง่ เมื่อรวมกับน ้าจะได้ ของผสมที่จะระเบิดได้
สารซึง่ เมื่อรวมกับน ้าจะได้ ของผสมที่จะระเบิดได้
สารซึง่ เมื่อผสมกับน ้า จะทาให้ เกิดมีก๊าซพิษ ไอพิษหรื อควันพิษขึ ้น ในปริ มาณที่อาจก่อให้ เกิดอันตราย
ต่อสุขภาพบุคคลและสิ่งแวดล้ อมได้
สารที่มีองค์ประกอบของไซยาไนด์หรื อซัลไฟด์ เมื่อต้ องอยู่ในสภาวะแวดล้ อมที่มีคา่ ความ เป็ นกรดด่าง
(pH) ระหว่าง 2 ถึง 11.5 แล้ ว สามารถก่อให้ เกิดก๊ าซพิษ ไอพิษ หรื อควันพิษขึ ้นในปริ มาณที่อาจ
ก่อให้ เกิดอันตรายต่อสุขภาพบุคคลและสิ่งแวดล้ อมได้
สารซึง่ เมื่อถูกทาให้ ร้อนในที่จากัดจะก่อให้ เกิดปฏิกิริยาระเบิดรุนแรงได้
สารซึง่ สามารถระเบิดได้ ทนั ที หรื อเกิดปฏิกิริยาระเบิดได้ ในสภาวะอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน
(ความดัน 1 บรรยากาศและอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส) จะมีปฏิกิริยารุนแรง
@copyright 2012
23
D. ประเภทสารพิษ (Toxic substances)
ประเภทสารพิษ (Toxic substances)
สารที่เป็ นอันตรายต่อสุขอนามัยหรื อสิ่งแวดล้ อม เพราะมีคณ
ุ สมบัติของความเป็ นสารก่อมะเร็ง สารพิษแบบเฉียบพลัน
สารพิษแบบเรื อ้ รัง สารที่มีคณ
ุ สมบัติสะสมในเนื ้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต หรื อตกค้ างยาวนานในสิ่งแวดล้ อม เช่น สารเคมีที่
ก่อให้ เกิดมะเร็งตามบัญชีรายชื่อในกลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2A และกลุ่มที่ 2B ของ International Agency
for Research on Cancer เป็ นต้ น
สารที่มีค่า Acute oral LD50 น้ อยกว่า 2,500 มิลลิกรัมต่อน ้าหนักตัวหนึง่ กิโลกรัมเมื่อใช้ หนู (Rat)
เป็ นสัตว์ทดลอง หรื อมีค่า Acute inhalation LC50 น้ อยกว่า 10,000 ส่วนในล้ านส่วน ในสภาพของ
ไอหรื อก๊ าซ หรื อเมื่อใช้ กระต่ายเป็ นสัตว์ทดลอง มีค่า acute dermal LD50 น้ อยกว่า 4,300 มิลลิกรัม
ต่อน ้าหนักตัวหนึง่ กิโลกรัม
สารที่มีค่า Acute aquatic 96-hour LC50 น้ อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อวัดในน ้าอ่อน
(ความกระด้ างทังหมด
้
เท่ากับ 40-48 มิลลิกรัมต่อลิตรในรูปแคลเซียมคาร์ บอเนต) กับปลา fathead
minnows (Pimephales promelas) ปลา rainbow trout (Salmo gairdneri)
หรื อปลา golden shiners (Notemigonus crysoleucas)
สารที่มีองค์ประกอบของสารที่ระบุข้างล่างนี ้ ในปริมาณความเข้ มข้ นของสารใดสารหนึง่ หรื อปริมาณรวมของสาร
ทังหมด
้
มากกว่าหรื อเท่ากับ 0.001% โดยน ้าหนัก
@copyright 2012
24
ปริมาณที่ร่างกายได้ รับ
สารที่มีองค์ประกอบของสารที่ระบุขา้ งล่างนี้ ในปริมาณ
ความเข้มข้นของสารใดสารหนึ่ งหรือปริมาณรวมของสาร
ทั้งหมด มากกว่าหรือเท่ากับ 0.001% โดยน้ าหนัก
D. ประเภทสารพิษ (Toxic substances)
@copyright 2012
2-Acetylaminofluorene (2-AAF)
Acrylonitrile
4-Aminodiphenyl
Benzidine and its salts
bis (Chloromethyl) ether (BCME)
Methyl chloromethyl ether
1,2-Dibromo-3-chloropropane (DBCP)
3,3'-Dichlorobenzidine and its salts (DCB)
4-Dimethylaminoazobenzene (DAB)
Ethyleneimine (EL)
alpha-Naphthylamine (1-NA)
beta-Naphthylamine (2-NA)
4-Nitrobiphenyl (4-NBP)
N-Nitrosodimethylamine (DMN)
beta-Propiolactone (BPL)
Vinyl chloride (VCM)
26
F. ประเภทที่มีองค์ประกอบของสารเจือปน
ของเสียที่มีองค์ประกอบของสารเจือบน หรื อกลุ่ม HM หรื อ กลุ่มที่ 2 หลัก
สุดท้ ายลงท้ ายด้ วยเลข XX XX 99
การวิเคราะห์ค่าความเข้ มข้ นทังหมดของสิ
้
่งเจือปนใน
ตัวอย่างของเสีย
การวิเคราะห์ค่า Waste Extraction Test
(WET) ในตัวอย่างของเสีย
การเปรี ยบเทียบกับค่าที่กาหนดไว้ ในประกาศกระทรวง
ค่า TTLC
การเปรี ยบเทียบกับค่าที่กาหนดไว้ ในประกาศกระทรวง
ค่า STLC
@copyright 2012
ในกรณีที่มีค่าวิเคราะห์ที่ได้ มากกว่าที่
กฎหมายกาหนด ให้ จดั ของเสียในประเภทนัน้
เป็ นของเสียอันตราย
(Hazardous Waste)
ในกรณีที่มีค่าวิเคราะห์ที่ได้ มากกว่าที่กฎหมาย
กาหนดให้ จดั ของเสียในประเภทนันเป็
้ นของเสีย
อันตราย (Hazardous Waste)
ในกรณีที่ค่าวิเคราะห์ที่ได้ น้อยกว่าที่กฎหมาย
กาหนด ให้ ทาการทดสอบ Waste
Extraction Test (WET)
ในกรณีที่ค่าวิเคราะห์ที่ได้ น้อยกว่าที่กฎหมาย
กาหนดให้ จดั ของเสียในประเภทนันเป็
้ นของเสีย
ไม่อนั ตราย (Non-Hazardous
Waste)
27
F. ประเภทที่มีองค์ประกอบของสารเจือปน
Parameters
เงิน และ/หรือสารประกอบของเงิน(Silver and/or silver compounds)
ธาลเลียม และ/หรือสารประกอบธาลเลียม(Thallium and/or thallium
compounds)
วาเนเดียม และ/หรือสารประกอบวาเนเดียม(Vanadium and/or vanadium
compounds)
สังกะสี และ/หรือสารประกอบสังกะสี(Zinc and/or zinc compounds)
แอลดริน (Aldrin)
คลอเดน (Chlordane)
ดีดีที ดีดีอี หรือ ดีดีดี (DDT, DDE, DDD)
2,4-ดี (2,4-Dichlorophenoxyacetic acid)
ดีลดริน (Dieldrin)
ไดออกซิน (Dioxin (2,3,7,8-TCDD))
เอนดริน (Endrin)
เฮปตาคลอร์ (Heptachlor)
คีโปน (Kepone)
สารประกอบอินทรีย์ของตะกั่ว (Lead compounds, organic)
ลินเดน (Lindane)
เมททอกซีคลอร์ (Methoxychlor)
ไมเร็ก (Mirex)
เพนตาคลอโรฟี นอล (Pentachlorophenol)
โพลีคลอริเนตเต็ดไบฟี นิล (Polychlorinated biphenyls (PCBs))
ทอกซาฟี น (Toxaphene)
ไตรคอลโรเอทิลีน (Trichloroethylene)
ซิลเว็ก (Silvex;
@copyright
2012 2,4,5-Trichlorophenoxypropionic acid)
Total Threshold
Limit
Concentration
(TTLC) (mg/Kg)
500
700
Soluble Threshold
Limit
Concentration
(STLC) (mg/L)
5
7.0
2,400
24
5,000
1.4
2.5
1.0
100
8.0
0.01
0.2
4.7
21
13
4.0
100
21
17
50
5
2,040
10
250
0.14
0.25
0.1
10
0.8
0.001
0.02
0.47
2.1
0.4
10
2.1
1.7
5.0
0.0
204
1.0
28
F. ประเภทที่มีองค์ประกอบของสารเจือปน
Parameters
แอนติโมนี และ/หรือสารประกอบแอนติโมนี Antimony and/or antimony
compounds
สารหนู และ/หรือสารประกอบของสารหนู Arsenic and/or arsenic compounds
แร่ ใยหินหรือแอสเบสตอส (Asbestos)
แบเรียม และ/หรือสารประกอบแบเรียม (ยกเว้ นแบไรท์ และแบเรียมซัลเฟต) (Barium
and/or barium compounds (excluding barite and barium
sulfate)
เบริลเลียม และ/หรือสารประกอบเบริลเลียม (Beryllium and/or beryllium
compounds)
แคดเมียม และ/หรือสารประกอบแคดเมียม (Cadmium and/or cadmium
compounds)
สารประกอบของโครเมียมเฮกซาวาเลนท์ (Chromium (VI) compounds)
โครเมียม และ/หรือ สารประกอบของโครเมียมไตรวาเลนท์ (Chromium and/or
chromium (III) compounds)
โคบอลท์ และ/หรือ สารประกอบของโคบอลท์ (Cobalt and/or cobalt
compounds)
ทองแดง และ/หรือ สารประกอบทองแดง (Copper and/or copper compounds)
สารประกอบเกลือของฟลูออไรด์ (Fluoride salts)
ตะกั่ว และ/หรือสารประกอบตะกั่ว (Lead and/or lead compounds)
ปรอท และ/หรือสารประกอบปรอท (Mercury and/or mercury compounds)
โมลิบดินัม และ/หรือสารประกอบโมลิบดินัม (ไม่ รวมโมลิบดินัมไดซัลไฟด์ ) (Molybdenum
@copyright 2012
and/or molybdenum compounds; excluding molybdenum
Total Threshold
Limit
Concentration
(TTLC) (mg/Kg)
500
Soluble Threshold
Limit
Concentration (STLC)
(mg/L)
-
500
1%
10,000
5.0
100
75
0.75
100
1.0
500
2,500
5
5
8,000
80
2,500
18,000
1,000
20
3,500
25
180
5.0
0.2
350
29
ค่าความเข้ มข้ นที่ระบุความเป็ นอันตรายของโลหะและสารประกอบโลหะตามวิธีการของสหภาพยุโรป
H4
Heavy
Metals
As
Cd
Cr (VI)
Cu
Hg
Ni
Pb
Sb
Se
Sn4
Tl
Zn
Concentrati
on
Limit in %
R41
X1
X1
H5
R36
R37
R38
X
X1
X1
H6
very
toxic
x
X
X
X1
X
X
H7
toxi
c
X
X
X
Cat.
3
X+
X1
X
X
X2
X1
X
Cat.
1/2
H8
H10
R35 R34
Cat.
1/2
H11
Cat.
3
Cat.
1/2
H14
Cat.
3
X1
X7
X1
X
X1
X1
X+
X1+
X2
x
X+
X3,+
X
X1
X1
X3
X
X1
X
X1
∑>10
@copyright 2012
X1
X
X1+
X1
X
X1
X6
∑>20
∑>25
∑>0.1
R50
R51
R52
R53
X
X
X
X1
X
X1
X
X1
X1
X1
R51
R52
R53
R52
R53
R59
x
X
X
X5
X
∑>3
l>0.1
l>1
X1
∑>1
∑>5
l>0.5
l>5
l>0.1
X1,+
+
x
l>1
∑>0.25
∑>2.5
∑>2.5
∑>2.5
30
Australian Standard Leaching Procedure as
specified in Australian Standards, ASLP
• ประเภท A (Categories A) หมายถึง ของเสียอุตสาหกรรมที่ตอ้ งใช้
เทคนิ คการควบคุมในระดับสูงมากและการจัดการอย่างต่อเนื่ องเพื่อ
ปกป้องสุขภาพของมนุ ษย์และสภาพแวดล้อม ของเสียประเภทนี้ ไม่
สามารถรับกาจัดโดยไม่ตอ้ งบาบัดก่อนที่จะลดหรือการควบคุมอันตราย
• ประเภท B (Categories B) หมายถึง ของเสียอุตสาหกรรมที่ตอ้ งใช้
เทคนิ คการควบคุมในระดับสูงและการจัดการอย่างต่อเนื่ องเพื่อปกป้อง
สุขภาพของมนุ ษย์และสภาพแวดล้อม ของเสียอุตสาหกรรมประเภทนี้
สามารถรับกาจัดได้เมื่อมีใบอนุ ญาตจาก EPA
• ประเภท C (Categories C) หมายถึง ของเสียอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิด
อันตรายตา่ แต่ตอ้ งมีการควบคุมและหรือการจัดการอย่างต่อเนื่ องเพื่อ
ปกป้องมนุ ษย์สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ของเสียอุตสาหกรรมประเภทนี้
สามารถฝังกลบได้เมื่อรับอนุ ญาตจาก EPA
• ประเภทของเสียอุตสาหกรรม (Industrial waste) หมายถึง ของเสียที่
ไม่ได้ถูกควบคุม แต่เมื่อถูกกาจัดหรือนาไปฝังกลบจะถูกควบคุมด้วย
EPA ซึ่งของเสียเหล่านี้ จะผ่านการทาให้แข็งก่อนนาไปฝังกลบ ซึ่งเป็ นไป
ตามหลักวิชาการ
Contaminants
Industrial
Categories C
Categories B
waste
ASLP
TC
ASLP
TC
ASLP
TC
(mg/l) (mg/kg) (mg/l) (mg/kg) (mg/l) (mg/kg)
Inorganic species
Antimony
1
Arsenic
0.35
Barium
35
Beryllium
0.5
Boron
15
Cadmium
0.1
Chromium (VI)
2.5
Copper
100
Lead
0.5
Mercury
0.05
Molybdenum
2.5
Nickel
1
Selenium
0.5
Silver
5
Tributyltin
0.05
oxide
Zinc
150
75
500
6,250
100
15,000
100
500
5,000
1,500
75
1,000
3,000
50
180
2.5
2
0.7
70
1
30
0.2
5
200
1
0.1
5
2
1
10
0.1
75
500
6,250
100
15,000
100
500
5,000
1,500
75
1,000
3,000
50
180
2.5
35,000
300
35,000
8
2.8
280
4
120
0.8
20
800
4
0.4
20
8
4
40
0.4
300
2,000
25,000
400
60,000
400
2,000
20,000
6,000
300
4,000
12,000
200
720
10
1,200 140,000
ที่มา: The Environment Protection Agency; Victoria (2011)
@copyright 2012
31
รายละเอียดการดาเนิ นงานของโครงการ
o
o
o
o
o
o
o
วัตถุประสงค์
กลุ่มเป้าหมาย
ผลที่คาดว่าจะได้รบั
บุคลากรของโครงการ
การส่งมอบงาน
แนวคิดในการดาเนิ นงานโครงการ
แผนการดาเนิ นงานโครงการ
32
วัตถุประสงค์
เพื่อสารวจ ศึกษา
รวบรวม และจัดทาบัญชี
ของเสียครัวเรือนและ
อุตสาหกรรมที่สามารถรี
ไซเคิลเป็ นวัตถุดิบ/
พลังงานทดแทนได้
เพื่อจัดทาคู่มือของเสียที่
เป็ นแหล่งทรัพยากร
ทดแทนและการจัดการ
ฉบับครัวเรือน และฉบับ
อุตสาหกรรม
เพื่อพัฒนาและปรับปรุง
คลังข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์
สนับสนุ นการพัฒนาของ
เสียเป็ นแหล่งทรัพยากร
ทดแทน
33
กลุมเป
่ ้ าหมาย
กลุมทั
่ ว่ ไป
กลุมภาครั
ฐ
่
• ประชาชนทัว่ ไป
• ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทีเ่ ป็ น
แหลงก
่ าเนิดของเสี ย
•
•
•
•
•
•
•
กรมอุตสาหกรรมพืน
้ ฐานและการเหมืองแร่
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
่
กรมควบคุมมลพิษ
กระทรวงพลังงาน
สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
่
สถาบันการศึ กษาและหน่วยงานวิจย
ั ตางๆ
่
34
ผลทีค
่ าดวาจะได
รั
่
้ บ
ตัวชีว้ ัด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ /ผลกระทบ
ผลผลิต (Outputs)
เป้าหมาย
จานวน หน่ วยนับ
เชิงปริ มาณ
บัญชีของเสียที่สามารถรี ไซเคิลเป็ นวัตถุดบิ /พลังงานทดแทนได้
คูม่ ือของเสียที่เป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทนและการจัดการ ฉบับครัวเรื อน และฉบับ
อุตสาหกรรม
จานวนประชาชนและผู้ประกอบการอุตสาหกรรมที่เป็ นแหล่งกาเนิดของเสียที่ได้ รับ
การเผยแพร่ข้อมูลของเสียที่เป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทนและการจัดการ
คลังข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุนการพัฒนาของเสียเป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทนที่
ได้ รับการพัฒนา/ปรับปรุง
เชิงคุณภาพ
ร้ อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับการบริหารจัดการ/การใช้ ประโยชน์ของเสีย
สามารถนาข้ อมูลบัญชีของเสียที่สามารถรี ไซเคิลเป็ นวัตถุดิบ/พลังงานทดแทนได้ ไป
ใช้ ประโยชน์ได้
ร้ อยละของความพึงพอใจของผู้ที่เข้ ามาใช้ บริการคลังข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุน
การพัฒนาของเสียเป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทน
อัตราการใช้ ประโยชน์ของเสียที่สามารถรี ไซเคิลเป็ นวัตถุดบิ /พลังงานทดแทนได้
ผลลัพธ์
เพิม่ ขึ ้น
(Outcomes)
้ านปริมาณและคุณภาพที่เพียงพอต่อ
ผลกระทบ (Impacts) ภาคอุตสาหกรรมมีความมัน่ คงทางวัตถุดบิ ทังด้
ความต้ องการใช้ เพิ่มขึ ้น ลดการนาเข้ าวัตถุดบิ และพลังงาน
ภาคอุตสาหกรรมมีต้นทุนวัตถุดบิ ที่ลดลง (จากการใช้ วตั ถุดบิ /พลังงานทดแทนที่ได้
จากการหมุนเวียนกลับมาใช้ ใหม่เพิ่มขึ ้น)
1
500
ชุดข้ อมูล
เล่ ม/ฉบับ
1,000
ราย
1
ระบบ
100
ร้ อยละ
85
ร้ อยละ
2
ร้ อยละ/ปี
35
บุคลากรของโครงการ
ลาดั
ตาแหน่ง
บ
1 ทีป
่ รึกษาโครงการ 1
2
ทีป
่ รึกษาโครงการ 2
3
ผู้จัดการโครงการ
4
ผู้เชีย
่ วชาญดานการ
้
จัดการสิ่ งแวดลอม
1
้
ผู้เชีย
่ วชาญดานการ
้
จัดการสิ่ งแวดลอม
้ 2
5
ชือ
่
ผศ.ดร.สมพร
กมลศิ รพ
ิ ช
ิ ย
ั พร
ผ ศ . ด ร . ม นั ส ก ร
ราชากรกิจ
ด ร . ธ า ร ทิ พ ย ์
พันธเมธาฤทธิ
์
์
ด ร . กั ญ จ น์ น รี
ช่วงฉ่ า
ดร.ประพัทธ ์ พงษ์
เกียรติกุล
36
การส่งมอบงาน
การส่งมอบงานและรายงานโครงการ
ระยะเวลาในการดาเนิ นงาน (วัน)
30 60 90 120 150 180 200
รายงานเบื้ องต้น (Inception Report) จานวน 5 ชุด


รายงานความก้าวหน้า (Progress Report) จานวน 5 ชุด

การจัดประชุมรับฟั งความคิดเห็น

การจัดสัมมนาเผยแพร่ผลสรุปโครงการ

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) จานวน 20 ชุด

บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
อย่างละ 20 ชุด

DVD บรรจุขอ้ มูล ของโครงการในรูป File Digital ของ
Microsoft office จานวน 2 ชุด
 แทนการส่งรายงาน  แทนการจัดประชุม
37
ระยะเวลา 30 วัน
การจัดทารายงานเบือ้ งต้น
การทบทวนงานวิจยั และเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงการ
ระยะเวลา 30 วัน
ระยะเวลา 90 วัน
การกาหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกของเสียเพือ่ ใช้ในการ
จัดทาบัญชีรายชือ่
การจัดทาบัญชีของเสียครัวเรือนและอุตสาหกรรมทีส่ ามารถ
รีไซเคิลเป็ นวัตถุดบิ /พลังงานทดแทน
แนวคิดใน
การ
ดาเนินงาน
โครงการ
การจัดประชุมผูเ้ กีย่ วข้องแบบกลุม่ ย่อย(Focus Group)
การจัดทารายงานความก้าวหน้ า
การจัดทาคูม่ อื ของเสียทีเ่ ป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทนและการ
จัดการ
ระยะเวลา 30 วัน
การพัฒนาและปรับปรุงคลังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุน
การพัฒนาของเสียเป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทน
การจัดสัมมนาเผยแพร่ผลสรุปโครงการ
ระยะเวลา 20 วัน
การจัดทารายงานฉบับสมบูรณ์
38
แผนการดาเนินงานโครงการ
1. การสารวจ ศึกษา และรวบรวมข้อมูล เพื่อจัดทาบัญชีของเสียครัวเรือนและ
อุตสาหกรรมที่สามารถรีไซเคิลเป็ นวัตถุดิบ/พลังงานทดแทนได้
1.1 การทบทวนงานวิจยั และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
1.2 การกาหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกของเสียเพื่อใช้ในการจัดทาบัญชีรายชื่อ
2. การจัดทาบัญชีของเสียครัวเรือนและอุตสาหกรรมที่สามารถรีไซเคิลเป็ นวัตถุดิบ/
พลังงานทดแทน
3. การจัดทาคูม่ ือของเสียที่เป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทนและการจัดการ
4. การพัฒนาและปรับปรุงคลังข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์สนับสนุ นการพัฒนาของเสียเป็ น
แหล่งทรัพยากรทดแทน
5. การจัดประชุมเผยแพร่ผลสรุปโครงการ
39
การทบทวนงานวิจยั และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
• ขอมู
้ ลสถิต ิ ปริมาณ และชนิดของของเสี ย
อุตสาหกรรม
• คุณลักษณะหรือคุณสมบัต ิ (Specification)
เบือ
้ งตนของของเสี
ยทีส
่ ามารถนาไปรีไซเคิลได้
้
• วิธก
ี ารจัดการเบือ
้ งตนเพื
อ
่ ให้สามารถนาของ
้
เสี ยดังกลาวไปรี
ไซเคิลได้
่
• หน่วยงานหรือผูประกอบการที
ม
่ ศ
ี ักยภาพใน
้
การจัดการ/รีไซเคิลของเสี ย
• เทคโนโลยีทใี่ ช้ในการจัดการของเสี ยเพือ
่ การรี
ไซเคิล
40
ชนิด/ประเภทของเสียครัวเรือน A ชนิ ด
ประเภทอุตสาหกรรมในประเทศ
การคัดเลือกหลักเกณฑ์ท่ี 1:ความสามารถใน
การนากลับมาใช้ใหม่ตามหลัก 3Rs
การคัดเลือกหลักเกณฑ์ท่ี 1: ลักษณะการ
ประกอบกิจการทีก่ ่อให้เกิดของของเสียต้อง
เป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศ
การคัดเลือกหลักเกณฑ์ท่ี 2 : ปริมาณทีเ่ กิดขน้
อุตสาหกรรมทีผ่ ่านการคัดเลือก 2 ประเภท
อุตสาหกรรม
การกาหนดหลักเกณฑ์
ในการคัดเลือกของเสีย
เพื่อใช้ในการจัดทาบัญชี
รายชื่อ
การศกษาชนิด/ประเภทของเสียอุตสาหกรรมมี
C ชนิ ด
การคัดเลือกหลักเกณฑ์ท่ี 3:เทคโนโลยีการ
จัดการ
ชนิด/ประเภทของเสียภาคครัวเรือนทีผ่ ่านการ
คัดเลือกจานวน B ชนิ ด
การคัดเลือกหลักเกณฑ์ท่ี 2:ความสามารถใน
การนากลับมาใช้ใหม่ตามหลัก 3Rs
การคัดเลือกหลักเกณฑ์ท่ี 3 : ปริมาณทีเ่ กิดขน้
การคัดเลือกหลักเกณฑ์ท่ี 4:เทคโนโลยีการ
จัดการ
ชนิด/ประเภทของเสียภาคอุตสาหกรรมทีผ่ ่าน
การคัดเลือกจานวน D ชนิ ด
41
2) การจัดทาบัญชีของเสียครัวเรือนและอุตสาหกรรมที่สามารถรีไซเคิลเป็ น
วัตถุดิบ/พลังงานทดแทน
42
การจัดประชุมผู้เกี่ยวข้ อง
แบบกลุ่มย่ อย
43
3) การจัดทาคู่มือของเสียที่เป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทนและการ
จัดการ
• คู่มือของเสียที่เป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทนและการจัดการฉบับครัวเรือน จานวน 500 เล่ม
• คู่มือของเสียที่เป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทนและการจัดการฉบับอุตสาหกรรมยานยนต์และ
ชิ้ นส่วนยานยนต์ จานวน 500 เล่ม
44
4) การพัฒนาและปรับปรุงคลังข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์สนับสนุ นการ
พัฒนาของเสียเป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทน
• การพัฒนาและปรับปรุงคลังข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์สนับสนุ นการพัฒนา
ของเสียเป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทนโดยใช้ขอ้ มูลจากคู่มือของเสียที่เป็ น
แหล่งทรัพยากรทดแทนและการจัดการ ฉบับครัวเรือน และฉบับ
อุตสาหกรรม จานวน 1 ระบบ
• คู่มือการใช้งานของคลังข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์สนับสนุ นการพัฒนาของเสีย
จานวน 50 ชุด
45
5.) การจัดประชุมเผยแพร่ผลสรุปโครงการ
46
โครงสร้างข้อมูล
ร่างบัญชีรายชื่อวัสดุเหลือใช้ของเสียครัวเรือน
และอุตสาหกรรมที่เป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทน
o โครงสร้างข้อมูล
o บัญชีของเสียที่เป็ นแหล่งทรัพยากรทดแทน
47
โครงสร้างข้อมูล
Alternative Raw materials: AR
ชนิ ด/ประเภทของ
เสียครัวเรือนและ
อุตสาหกรรม 100
ชนิ ด/ประเภท
ลักษณะการนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle class)
Alternative Fuel: AF
วิธีการจัดการเบื้ องต้นก่อนนาของเสียกลับมาใช้
ใหม่ (Pre-treatment Process)
Alternative Raw Materials and
Fuel: AFR
ภาครัฐ: รายชื่อ ที่อยู่ หมายเลข
โทรศัพท์/โทรสาร กาลังการผลิต
หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง
เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการของเสีย
ภาคเอกชน : รายชื่อ ที่อยู่ หมายเลข
โทรศัพท์/โทรสาร กาลังการผลิต
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการ Recycle
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับประเภทของเสีย
วิธีการทดสอบของเสียตามมาตรฐาน USEPA
48
บัญชีของเสี ยทีเ่ ป็ นแหลงทรั
พยากรทดแทน
่
 ของเสี ยครัวเรือนทัว่ ไป
ลาดับ
ที่
บัญชีของเสี ย
1
กระดาษขาว-ดา
2
กระดาษหนังสื อพิมพ ์
3
4
5
6
7
8
9
10
หนังสื อและนิตยสาร
กระดาษคราฟท ์ (กระดาษลูกฟูกสี น้าตาล)
กระดาษกลองเครื
อ
่ งดืม
่ (เช่น กลองนม
กลองน
้าผลไม้)
่
่
่
ฉลากกระดาษ
กระดาษยอย
(เช่น โบวชั
่
์ วร ์ จดหมาย กระดาษโน๊ต)
ผลิตภัณฑพลาสติ
กชนิด PET (เช่น ขวดน้าดืม
่ , ขวดน้าอัดลม, ขวด
์
น้าปลา, ดามแปรงสี
ฟน
ั , ตลับยา)
้
ผลิตภัณฑพลาสติ
กชนิด HDPE (เช่น ขวดน้าดืม
่ ขาวขุน,
์
่ ขวดนม,
ขวดโลชัน
่ , ขวดแชมพู, ขวดสบูเหลว)
่
ผลิตภัณฑพลาสติ
กชนิด PVC (เช่น ขวดน้าดืม
่ ใส, ขวดน้ามันพืช
์
บางยีห
่ ้อ, ขวดน้าผลไม้,)
บัญชีของเสี ยทีเ่ ป็ นแหลงทรั
พยากรทดแทน
่
 ของเสี ยครัวเรือนทัว่ ไป
ลาดับ
บัญชีของเสี ย
ที่
13
ผลิตภัณฑพลาสติ
กชนิด PS (เช่น กลองใสใส
์
่
่ CD, ของเลน,
่ ถาด
ใส่อาหาร, ไม้บรรทัด, กระถางตนไม
้
้)
14
ผลิตภัณฑพลาสติ
กชนิด EPS (เช่น กลองโฟมใส
์
่
่ อาหาร, โฟมกันก
ระแทก)
15
พลาสติกผสม
16
แผนซี
ี ละแผนดี
ี ี
่ ดแ
่ วด
17
ผลิตภัณฑที
์ เ่ ป็ นขวดแกว
้ (แกวสี
้ ใส, สี ชา, สี เขียว)
18
เศษขวดแกวผสม
้
19
ผลิตภัณฑอลู
์ มเิ นียม (เช่น กระป๋องน้าอัดลม, ถุงขนมฟอลย,
์ หม้อ
อลูมเิ นียม)
20
ผลิตภัณฑเหล็
ุ (เช่น กระป๋องอาหารตางๆ)
์ ก/เหล็กเคลือบดีบก
่
21
ผลิตภัณฑเหล็
อบสั งกะสี (เช่น หลังคา)
์ กแผนเคลื
่
22
ผลิตภัณฑทองแดง
(เช่น สายไฟ)
์
บัญชีของเสี ยทีเ่ ป็ นแหลงทรั
พยากรทดแทน
่
 ของเสี ยครัวเรือนทัว่ ไป
ลาดับ
ที่
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
บัญชีของเสี ย
ผลิตภัณฑไม
)
์ ้ (เช่น เฟอรนิ
์ เจอรไม
์ ธรรมชาติ
้
ผลิตภัณฑไม
์ อั
้ ด (เช่น เฟอรนิ
์ เจอรไม
์ อั
้ ด)
เศษวัสดุจากการตกแตงสวน
(เช่น เศษไม้, เศษใบไม,้ หญ้า)
่
ผลิตภัณฑยางธรรมชาติ
และยางสั งเคราะห ์
์
ผลิตภัณฑหนั
งเทียม
์ งแทและหนั
้
ผ้าธรรมชาติและผ้าสั งเคราะห ์
พรมขนสั ตวและพรมสั
งเคราะห ์
์
กระป๋องสารเคมี (เช่น กระป๋องยาฆาแมลง,
สเปรยตกแต
งผม)
่
์
่
ของเสี ยจากการกอสร
างและการรื
อ
้ ทาลายสิ่ งกอสร
่
้
่
้าง
ซากยานพาหนะใช้แลว
้
ยางยานพาหนะใช้แลว
้
น้ามันหลอลื
่ ใช้แลว
่ น
้
น้ามันจากการประกอบอาหาร
บัญชีของเสี ยทีเ่ ป็ นแหลงทรั
พยากรทดแทน
่
 Electronic Waste
ลาดับ
ที่
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
บัญชีของเสี ย
โทรทัศน์
โทรทัศน์
โทรทัศน์
โทรทัศน์
จอ
จอ
จอ
จอ
CRT
LCD
LED
Plasma
กลองถ
ายรู
ป, กลองวิ
ดโี อ
้
่
้
เครือ
่ งเลนพกพา
(เช่น game player, mp3 player)
่
คอมพิวเตอร ์ (Notebook, Net book, PC)
Tablet
เครือ
่ งพิมพ,์ เครือ
่ งโทรสาร
ตลับหมึก
เครือ
่ งถายเอกสาร
่
โทรศัพทมื
์ อถือ/ โทรศัพทบ
์ าน
้
เครือ
่ งปรับอากาศ
บัญชีของเสี ยทีเ่ ป็ นแหลงทรั
พยากรทดแทน
่
 Electronic Waste
ลาดับ
ที่
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
บัญชีของเสี ย
ตู้เย็น
เครือ
่ งซักผ้า
หม้อหุงขาว
้
ไมโครเวฟ
หลอดฟลูออเรสเซนตชนิ
์ ดตรง
หลอดลูออเรสเซนตชนิ
์ ดคอมแพกต ์
หลอดฟลูออเรสเซนตชนิ
์ ดวงกลม
เศษซากหลอดไฟแบบผสม
แบตเตอรีช
่ นิดใช้ตะกัว่ (เช่น แบตเตอรีร่ ถยนต)์
แบตเตอรรี์ ช
่ นิดอัลคาไลน์ (เช่น ถาน
AA, AAA)
่
แบตเตอรรี์ ช
่ นิดลิเทียม-ไอออน (เช่น แบตเตอรีม
่ อ
ื ถือ)
แบตเตอรรี์ ช
่ นิดใช้นิเกิล-แคดเมีย
่ ม (Ni-Cd) และนิเกิล-เมทัล-ไฮไดรด ์
(Ni-MH) (เช่น ถานแบบชาร
จประจุ
ใหมได
่
์
่ )้
บัญชีของเสี ยทีเ่ ป็ นแหลงทรั
พยากรทดแทน
่
 อุตสาหกรรมยานยนต ์
ลาดับ
ที่
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
บัญชีของเสี ย
เศษพรมผ้าหลังคา
เศษลมถุงนิรภัย
จานเบรค
น้ามันทีใ่ ช้แลว
้ (Hydrotreated, heavy naphthenic (64742-52-5))
น้ามันทีใ่ ช้แลว
้ (Hydrotreated, heavy paraffinic (64742-54-7))
น้ามันทีใ่ ช้แลว
้ (Hydrotreated, light naphthenic (64742-53-6))
น้ามันทีใ่ ช้แลว
้ (Hydrotreated, light paraffinic (64742-55-8))
น้ามันทีใ่ ช้แลว
้ (Solvent-dewaxed (64742-62-7))
น้ามันทีใ่ ช้แลว
้ (Solvent-dewaxed, light paraffinic (64742-56-9))
น้ามันทีใ่ ช้แลว
้ (White mineral oil (8042-47-5))
น้ามันทีใ่ ช้แลว
้ Solvent-dewaxed, heavy paraffinic (64742-65-0)
Plastic scrap (chlorinated Polyvinyl choride)
บัญชีของเสี ยทีเ่ ป็ นแหลงทรั
พยากรทดแทน
่
 อุตสาหกรรมยานยนต ์
ลาดับ
ที่
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
บัญชีของเสี ย
Plastic scrap (PP)
Glass wool
กากตะกอนสี
ลังไมและไม
พาเลท
้
้
เศษยางสั งเคราะห ์
ทองแดงหุ้มฉนวน PVC หรือ PE หรือ PP
Mix solvent (Thinner)
เศษยาง
น้าปนเปื้ อนน้ามัน
Acid waste
เศษขีก
้ ลึงเหล็ก
waste organic washing liquid
บัญชีของเสี ยทีเ่ ป็ นแหลงทรั
พยากรทดแทน
่
 อุตสาหกรรมยานยนต ์
ลาดับ
ที่
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
บัญชีของเสี ย
Degreasing
Coolant oil (Hydoocut 8325)
ถังเหล็ก 200 ลิตร ปนเปื้ อนสารเคมี
Waste oil scum
ดางจากการลอกผิ
วชิน
้ งาน
่
กรดจากการปรับสภาพผิวชิน
้ งาน
น้ายาทาความสะอาดชิน
้ งาน
Mold sand
แกนและแบบหลอซึ
่ ง่ ใช้งานแลว
้
ทรายแบบหลอ
่
ทรายทีใ่ ช้งานแลวจากเบ
าหล
อม
้
้
่
ทรายขัดผิวโลหะ
Glass cullet
บัญชีของเสี ยทีเ่ ป็ นแหลงทรั
พยากรทดแทน
่
 อุตสาหกรรมยานยนต ์
ลาดับ
ที่
101
102
103
104
105
106
บัญชีของเสี ย
กากตะกอนจากระบบบาบัดน้าเสี ย
กากตะกอนน้าเสี ยwaste water treatment sludge
ตะกรันจากเตาหลอหลอมเหล็
ก
่
ฝุ่นเหล็กจากการขัด
compound(ฝุ่น)
ผงฝุ่นจากระบบบาบัดอากาศจากเตาหลอมโลหะ
จบการ
นาเสนอ
ะ
ขอบคุ
ณ
ค
่
ติดต่ อสอบถามข้ อมูลโครงการ
ดร. ธารทิพย์ พันธ์เมธาฤทธิ์
T: 022183956
M: 0814559858
F: 022192251
E-mail: [email protected] ,
[email protected]
58