กิจกรรมของตลาดจีน

Download Report

Transcript กิจกรรมของตลาดจีน

ชี้ช่อง มองไกล สิ นค้ าและบริการไทยมุ่งสู่ สากล
ตนิน
ภา หวัง?
เชิดชูวงศ์
จีน ตลาดปราบเซีจิย
กลุ่มงานจีน สานักพัฒนาการตลาดระหว่างประเทศ
กรมส่ งเสริ มการส่ งออก
Thailand -
China
ประเทศจีน
ความร่ วมมือทางด้ านเศรษฐกิจ : หัวใจสาคัญของความสั มพันธ์
• ไทย-จีน มีการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตมาแล้ว 37 ปี
• ไทยกับจีนมีความสัมพันธ์และความร่ วมมือที่เจริ ญรุ ดหน้าในทุกด้าน เช่น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม ซึ่ งนับวันจะยิง่ พัฒนาต่อไปอย่างต่อเนื่องและลึกซึ้ ง ก่อให้เกิดประโยชน์อย่าง
เป็ นรู ปธรรมในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการยกระดับชีวิตความเป็ นอยูข่ องประชาชนของทั้งสอง
ประเทศ ตลอดจนเป็ นประโยชน์ต่อสันติภาพและความเจริ ญรุ่ งเรื องในภูมิภาค
• ไทยและประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ASEAN ต่างมีความร่ วมมือกับจีนมากยิง่ ทั้งในด้านเศรษฐกิจการค้า
และการลงทุน โดยจีนจะเป็ นพลังสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียและโลกเมื่อ วันที่
22-24 ธันวาคม 2554 นายสี จิ้น ผิง รองประธานาธิ บดีจีน เดินทางมาเยือนไทยอย่างเป็ นทางการ
รัฐบาลไทยและจีนยังได้ร่วมกันตั้งเป้ าหมายทางเศรษฐกิจร่ วมกัน กล่าวคือ ใน 5 ปี ข้างหน้า มูลค่า
การค้าทวิภาคีเพิม่ ขึ้น ร้อยละ 20 มูลค่าการลงทุนสองฝ่ ายเพิม่ ขึ้น ร้อยละ 15 และนักท่องเที่ยวเพิม่ ขึ้น
ร้อยละ 20 ต่อปี
• วันที่ 17- 19 เมษายน 2555 นายกรัฐมนตรี ยิง่ ลักษณ์ ชินวัติ เดินทางไปเยือนจีนอย่างเป็ นทางการ
ผลกระทบวิกฤตยุโรปต่ อการส่ งออกของไทยไปจีน
• เป้ าหมายการส่ งออกของกระทรวงในปี นี้ คือ 15%
• ยุโรปขณะนี้ส่งผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการส่ งออกของไทยซึ่ งจะส่ งผลกระทบในระยะ
กลางและระยะยาว
• อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤติยโุ รป : อุตสาหกรรมอัญมณี เนื่องจากลูกค้าชะลอการสัง่ ซื้ อ,
อุตสาหกรรมอาหาร
• จีนปรับลดเป้ าหมายการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี นี้จากเดิม 7.5% เหลือ 7% โดยมีเป้ าหมายลดการพึ่งพา
ตลาดส่ งออก แต่มุ่งเน้นส่ งเสริ มเศรษฐกิจจากการบริ โภคในประเทศมากขึ้นนั้น ถือเป็ นปั จจัยที่ไทยต้อง
เตรี ยมรับมือแก้ปัญหาทั้งเชิงรุ กและเชิงรับ
ลักษณะตลาดจีน
• 1. จีนแบ่ งเป็ นมณฑลทีร่ ะดับตลาดเป็ น 2 ตลาด คือ
1.ตลาดทีม่ ีเศรษฐกิจปานกลาง-สูง ได้ แก่ มณฑล/เมืองทีม่ ีระดับเศรษฐกิจปานกลาง-สู ง ได้ แก่
มณฑลที่ อยู่บริเวณเลียบชายฝั่งตะวันออกซึ่งติดกับทะเลและมณฑลที่อยู่ตอนใต้ เช่ น เมือง
กรุ งปักกิง่ นครเซี่ยงไฮ้ นครกว่ างโจว เมืองเซินเจิน้ และนครเทียนจิน
• ผลักดันสิ นค้ าที่มศี ักยภาพระดับ เน้ นสิ นค้ าระดับ Hi-End
• เจาะลูกค้ าเฉพาะกลุ่มเป้ าหมายเช่ น อัญมณี ของตกแต่ งบ้ าน
• การใช้ ประโยชน์ จากโลจิสติกส์ ศูนย์ กระจายสิ นค้ าธุรกิจไทย-จีน ทีห่ นานหนิง หรือที่
คุนหมิง
• สร้ างเครือข่ ายและมิตรภาพทางการค้ า
• สิ นค้ าทีม่ แี นวโน้ มขยายตัว คือสิ นค้ าอาหาร ผลไม้ อาหารแปรรู ป เครื่องอิเลคโทรนิกส์
ชิ้นส่ วนคอมพิวเตอร์
• สิ นค้ าทีแ่ นวโน้ มลงหรือชะลอตัว คือ อัญมณี และเสื้อผ้า สิ่ งทอ
ลักษณะตลาดจีน
2.ตลาดทีม่ ีเศรษฐกิจปานกลาง-ต่า ได้แก่ 12 มณฑลภาคตะวันตกของจีน ได้แก่ มณฑล
ส่ านซี 、กานซู่、ชิงไห่、หนิงเซี่ ย、 ซิ นเจียง、เสฉวน、ฉงชิ่ง、ยูนนาน、
กุย้ โจว、ทิเบต 、กว่างซี 、มองโกเลียใน
• จีนตะวันตกเป็ นศูนย์รวมแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ดว้ ยแร่ ธาตุ เช่น
นิกเกิล โครเมียม ตะกัว่ สังกะสี ทองแดง รวมทั้งเป็ นแหล่งผลิตพลังงานจากน้ า ก๊าซ
ธรรมชาติ น้ ามันและถ่านหิ น
•โอกาสทางการค้า สิ นค้าไทยที่มีศกั ยภาพในเขตเขตจีนตะวันตก ได้แก่ ผลไม้สด/แปร
รู ป และอาหารฮาลาล ซึ่ งประชาชนส่ วนใหญ่ที่อาศัยอยูจ่ ะเป็ นชาวมุสลิมเสี ยส่ วนใหญ่
•โอกาสสาหรับอาหารทะเลแช่เยือกแข็ง/อาหารแห้ง
•การร่ วมลงทุนกับนักธุรกิจในท้องถิ่นทาธุรกิจฟาร์ มปศุสัตว์หรื อเป็ นแหล่งนาเข้า
วัตถุดิบเพื่อการผลิตของไทย รวมทั้งอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีช่ ้ นั สู ง
จีน
Strengths
Weaknesses
1. ดานเศรษฐกิ
จทีม
่ ก
ี าร
1. ความแตกตางในลั
กษณะ
้
่
เจริญเติบโตอยางรวดเร็
ว
ตลาดจีน กฎระเบียบ
่
นโยบายการพัฒนา SMEs
และการตรวจสอบของ
ทีแ
่ ข็งแกรงได
เปรี
แตละมณฑล/ปั
ญหา
่
้ ยบทัง้
่
คอรัปชัน
่
ตนทุ
ิ
้ นการผลิต ตถุดบ
คาแรงและยั
งมีเงินทุนสารอง 2. คูแข
่
่ ง่ นอกจากแขงขั
่ น
สูง เน้นนโยบายการเดิน
กับสิ นค้าของจีน ซึง่ มี
ออกมาลงทุนในตางประเทศ
ราคาถูกกวาแล
ว
่
่
้ ยัง
2. การเมืองมีเสถียรภาพ
ตองแข
งขั
้
่ นกับสิ นค้าที่
ภายใต้ ระบอบการปกครอง
จีนนาเขาจากประเทศ
้
1 ประเทศ 2 ระบบ ทาให้
ตางๆ
ดวย
เช่น
่
้
สามารถกาหนดแผน วาง
ไตหวั
้ น เวียดนาม เป็ น
นโยบายได
ตน
ต่อ
Opportunities
1. ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจโลกในช่วง 2008-2011
ได้ส่งผลกระทบต่อตลาดส่ งออกของจีน ทาให้
รัฐบาลจีนเริ่ มพัฒนาตลาดบริ โภค
ภายในประเทศมากขึ้น ซึ่งเป็ นโอกาสสาหรับ
การส่ งออกสิ นค้าไทยไปจีน
2. การที่จีนเน้นการส่ งเสริ มการลงทุนจาก
ต่างประเทศในเรื่ องอุตสาหกรรมเกษตร
สมัยใหม่ และอุตสาหกรรมที่รักษาสิ่ งแวดล้อม
และประหยัดพลังงาน สิ นค้าประเภท
เครื่ องใช้ไฟฟ้ าประหยัดพลังงาน หรื อสิ นค้า
ประเภท สิ นค้าเกษตรอินทรี ย ์ ผลิตภัณฑ์สปา
สมุนไพรไทย ก็มีโอกาสนาเข้ามาเปิ ดตลาด
3. การส่ งเสริ มการค้าระหว่างประเทศผ่านกรอบ
ความร่ วมมือ FTA ASEAN-CHIN ASEAN+3
Threats
1. การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา /ลอกเลียนแบบ
2. อุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษี เช่น มาตรการปกป้ อง
ผูผ้ ลิตชาวจีน มาตรการด้านมาตรฐานการ
ตรวจสอบสิ นค้า และขั้นตอนทางด้านศุลกากร
เป็ นต้น
3. การไม่เปิ ดเผยข้อมูลบางส่ วนต่อสาธารณะ ทา
ให้นกั ลงทุน ผูป้ ระกอบการชาวต่างประเทศขาด
ข้อมูลเชิงลึก
สิ นค้ า/บริการ ศักยภาพของไทย
อุตสาหกรรม
• ชิ้นส่ วนยานยนต์
• เคมีภณ
ั ฑ์/แร่ บาง
ชนิด
• อัญมณี แฟชัน่
• ของตกแต่งบ้าน
Life Style
• Furniture ซึ่ งมีท้ งั
OEM และสิ นค้า
Brand ไทย
เกษตร/
อุตสาหกรรมเกษตร
• ยางพารา/
ผลิตภัณฑ์
• ข้าว
• ผลไม้
• มันสาปะหลัง
• อาหารสาเร็ จรู ป
• ฮาลาล
ธุรกิจบริการ
• สปา นวดแผนไทย
• ร้ านอาหารและ
แฟรนไชส์
• การศึกษา
• ธุรกิจบันเทิง
• ธุรกิจบริการทาง
สุขภาพ
• ออกแบบก่อสร้ าง
ยุทธศาสตร์สาคัญในจีนของกรมส่ งเสริ มการส่ งออก
1.ส่งเสริมธุรกิจไทยสูส่ ากล โดย ส่งเสริมความร่วมมือทางการค้ าระหว่าง SMEs ไทย – จีน
โดยเฉพาะความร่วมมือด้ านโลจิสติกส์ เพื่อใช้ เป็ นการเชื่อมโยงเครื อข่ายทุกมณฑลในจีน
2.เป็ นผู้นาในภูมิภาคอาเซียนในการส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจกับจีน โดย บูรณ
การตลาดเชิงรุก ส่งเสริมการกระจายสินค้ า บริการ และการลงทุนโดยเร่งขยายตลาดและ
สร้ างเครื อข่ายร่วมกับพันธมิตรทางการค้ าและการลงทุนไปยังเมืองหลักและขยายเข้ าสูเ่ มือง
รอง
3.การสร้ างความสัมพันธ์ระดับภาครัฐและเอกชน ในทุกมณฑลและระดับเมืองหรื อท้ องถิ่น
โดยจัดคณะเยือนระหว่างกันในระดับภาครัฐ เพื่อเจรจาการค้ าการลงทุนระหว่างภาครัฐ และ
แก้ ไขข้ อราชการต่างๆ ที่เป็ นอุปสรรคทางการค้ ากับผู้นารัฐบาลกลาง/มณฑล/ ท้ องถิ่นของจีน
เพื่อผลักดันโอกาส และลดข้ อจากัดทางการค้ า
4.การเจาะตลาดเชิงรุกในเมืองหลัก ขยายเข้ าสูเ่ มืองรอง ที่มีศกั ยภาพในการพัฒนาทาง
เศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์สาคัญในจีนของกรมส่ งเสริ มการส่ งออก
5. เสริ มสร้างความเข้มแข็งให้กบั ผูป้ ระกอบการไทย โดยเฉพาะ SMEs โดยดาเนินกล
ยุทธ์นาเทคโนโลยีมาประยุกต์เพื่อช่วงชิงโอกาสทางการค้าโดยใช้ช่องทางการค้าทาง
อินเตอร์เน็ต (E-Commerce) ผ่านเว็ปไซด์Thaitrade.com
6. พัฒนาและส่ งเสริ มสิ นค้าและบริ การที่มีมูลค่าเพิม่ และเป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม โดย
ยกระดับคุณภาพ และภาพลักษณ์สินค้า และบริ การไทยพร้อมทั้งสร้าง แบรนด์ไทยใน
ตลาดจีน ตลอดจนส่ งเสริ มสิ นค้าที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
7. ส่ งเสริ มการลดต้นทุน และการสร้างเครื อข่ายโลจิสติกส์ โดยผลักดันและส่ งเสริ ม
ช่องทางการจาหน่ายสิ นค้าไทย โดยเฉพาะการใช้ประโยชน์จากศูนย์กระจายสิ นค้าในจีน
ผลักดันให้จีนใช้ไทยเป็ นประตูสู่ อาเซี ยน และเป็ น ASEAN Sourcing Hub สาหรับการ
ผลิตเพื่อการส่ งออก
กิจกรรมของตลาดจีน
• การผลักดันการส่ งเสริ มการค้าและความร่ วมมือทางการค้าระหว่างประเทศ
โดยเฉพาะตลาดจีน อินเดีย ตลาดอาเซี ยน ให้มากขึ้น เพื่อรองรับการรวมตลาด
ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนในปี 2015
• การแสงหาแหล่งวัตถุดิบ เพื่อนามาใช้เป็ นวัตถุดิบการผลิตสิ นค้าส่ งออกไปยังตลาด
ต่างประเทศ เช่น เครื่ องจักร พลังงานทดแทน ถ่านหิ น แร่ ธาตุ เป็ นต้น
• การส่ งเสริ มให้กบั ผูป้ ระกอบการไทยออกไปประกอบธุรกิจในต่างประเทศ
(Internationalization) มากขึ้น ในภาคธุ รกิจที่ไทยมีศก
ั ยภาพ เช่น ในธุรกิจ
ร้านอาหารไทย สปา นวดแผนไทย
• พัฒนาช่องทางการตลาดใหม่ๆ อาทิ การสร้างเครื อข่ายพันธมิตรกับประเทศคู่คา้
ผ่านระบบออนไลน์
กิจกรรมของตลาดจีน
• การส่ งเสริ มอบรมให้ความรู้แก่ผปู ้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ให้สามารถ
ส่ งออกและแข่งขันในตลาดต่างประเทศได้
• การนาผูป้ ระกอบการไทย ผูผ้ ลิต ผูส้ ่ งออก เข้าร่ วมงานแสดงสิ นค้าในประเทศจีน เช่น งาน
China ASEAN Expo ซึ่งกรมส่ งเสริ มการส่ งออกเข้าร่ วมทุกปี
• การจัดงานแสดงสิ นค้าในประเทศไทย เช่นงาน Furniture, Education GEMs & Jewelry เพื่อ
ส่ งเสริ มการค้า การส่ งออก และกรมฯ ก็มีนโยบายเชิญผูซ้ ้ือ ผูป้ ระกอบการจากจีนที่สนใจ
สัง่ ซื้อสิ นค้า เป็ นแขกของกรมฯไปร่ วมงาน
• การร่ วมกับห้างสรรพสิ นค้า เช่น ร่ วมกับห้างไฮเปอร์มาร์เก็ต จัดงานส่ งเสริ มสิ นค้าไทย เพื่อให้
เป็ นที่รู้จกั ในตลาดจีน
• การจับคู่เจรจาธุรกิจการค้า (Business Matching) ให้กบั ผูป้ ระกอบการระหว่างไทย-จีนที่สนใจ
ทาธุรกิจร่ วมกัน
• ให้คาปรึ กษาแนะนาทางการค้า และข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ทางการค้าแก่นกั ธุรกิจไทยและจีน
และสนับสนุนให้ผปู้ ระกอบการใช้ประโยชน์จากกรอบการค้าเสรี อาเซียน-จีน
การเข้าตลาดจีน
• ในบรรจุภณ
ั ฑ์สนิ ค้ านาเข้ าจะต้ องมี
• ฉลากสินค้ าพิมพ์ข้อความที่สาคัญ คือ ชื่อผลิตภัณฑ์อาหาร สถานที่
ผลิต ชื่อที่อยูผ่ ้ ผู ลิต วันที่ผลิต วันหมดอายุ ห้ ามปลอมแปลง หรื อแก้ ไข
ห้ ามผู้ผลิตพิมพ์ข้อความที่ไม่ตรงกับข้ อเท็จจริง ห้ ามอวดอ้ างสรรพคุณ
ในฉลากอาหารที่ผลิต เช่น อาหารดักล่าวสามารถรักษาโรค หรื อป้องกัน
โรคห้ ามใช้ สญ
ั ลักษณ์ ธงชาติ สัญลักษณ์ของชาติ หรื อรูปธนบัตร บน
ฉลาก เป็ นต้ น ให้ ระบุในฉลากอาหารว่าได้ ใส่สารกันเสีย สารปรุงแต่ง
ความหวาน สีอาหาร เป็ นต้ น
การเข้าตลาดจีน
• จดเครื่ องหมายการค้ า หรื อทรัพย์สนิ ทางปั ญญาที่เกี่ยวข้ อง ปั จจุบนั จีน
ให้ ความสาคัญกับเครื่ องหมายการค้ ามาก เป็ นการเพิ่มมูลค่าให้ กบั
สินค้ า(เป็ นนโยบายระดับชาติ) รัฐบาลสนับสนุนให้ ผ้ ผู ลิตจด
เครื่ องหมายเพื่อเป็ นการยกระดับการส่งสินค้ าจีนออกไปจาหน่ายยัง
ต่างประเทศ
สิ นค้าไทยในตลาดจีน
• สินค้ าอาหารอื่น ๆ เช่น น ้าผลไม้ ขนมคบเคี ้ยว เครื่ องปรุงสาเร็จรู ป
• อาหารไทยเป็ นที่นิยมเพิ่มมากขึ ้นเป็ นลาดับ (ร้ านอาหารไทยในจีนมีจานวนมากขึ ้น
ตามไปด้ วย) ซึง่ ร้ านอาหารไทยเป็ นส่วนหนึง่ ที่สง่ เสริมการบริโภคผลไม้ และอาหาร
ไทย
• ผู้นาเข้ าสินค้ าไทยส่วนใหญ่อยูใ่ นมณฑลกวางตุ้ง (กว่างตง) และบางส่วนนาเข้ า
ผ่านมหานครเซี่ยงไฮ้ (ซ่างไห่)
• ผู้นาเข้ าบางส่วนได้ นาเข้ าสินค้ าผ่านมณฑลยูนนาน โดยเส้ นทางถนน คุนมัน่ (ถนน
คุนหมิง กรุงเทพฯ)
ติดต่ อสอบถามข้ อมูล
สานักงานในภูมิภาคจีน 8 แห่ ง
Beijing
Xian
Shanghai
Chengdu
Xiamen
Kunming
Nanning
Guangdong
THAILAND TRADE OFFICES IN PEOPLE’S REPUBLIC OF CHINA
1.
4.
The Office of Commercial Affairs,
Royal Thai Embassy
No. 40 Guang Hua Lu, Chaoyang District,
Beijing, 100016, People’s Republic of China
Tel: +86 10 6532 3922, 6532 3927, 6532 3941
Fax: +86 10 6532 3890
E-Mail: [email protected]
)
(:
2.
7.
Commercial Section,
Royal Thai Consulate-General
15F, Crystal Century Tower, 567 Weihai Road,
Shanghai, 200041, People’s Republic of China
Tel : +86 216 288 9973
Fax : +86 216 288 9975
E-mail : [email protected]
(
): . .
5.
Commercial Section,
Royal Thai Consulate-General
1st Floor, Kunming Hotel, Commercial Building,
52 Dong Feng East Road, Kunming,
Yunnan 650051, People’s Republic of China
Tel : +86 871 316 5006, 319 5011, 316 5019
Fax : +86 871 316 5026
E-mail : [email protected]
(
): . .
3.
8.
Commercial Section
Royal Thai Consulate-General
Garden Tower, Room 1255-1257
368 Huanshi Dong Lu, Guangzhou 510064,
People’s Republic of China
Tel: +86 20 8333 8999 ext.1256-57, +86 20 8384 9453
Fax: +86 20 8384 9760
E-Mail: [email protected]
(
): . .
6.
Commercial Section,
Royal Thai Consulate-General
12/F, Building No.3, Fund International Plaza,
No.6, Hongkong Rd., Chengdu, Sichuan 610041,
People’s Republic of China
Tel : +86 28 6689 7861 ext. 8011, 8013-14
Fax : +86 28 6687 7904
E-mail : [email protected]
(
): . .
Commercial Section,
Royal Thai Consulate-General
52-1 Jinhu Road, Orient Manhattan, Nanning,
Guangxi 530022 People’s Republic of China
Tel : +86 771 5567 359, 5581 637
Fax : +86 771 5581 797
E-mail : [email protected]
(
): . .
Commercial Section,
Royal Thai Consulate-General
4th Floor, Yulang Guoji Building,
No.77 Jiefang Road, XI’AN, Shaanxi 710004,
People’s Republic of China
Tel : +86 29 8744 1301, 8744 1302
Fax : +86 29 8743 8980, 8744 1303
E-mail : [email protected], [email protected]
(
): . .
9.
Commercial Section,
Royal Thai Consulate General
Building.3, Xiamen City Hotel No.16, Huyuan Road,
Siming District, Xiamen, Fujian, 361003,
People’s Republic of China
Tel : +86 592 266 3064-67
Fax : +86 592 266 3060-61
E-mail : [email protected]
(
): . .
Thailand Trade Office
8th Floor, Fairmont House,
8 Cotton Tree Drive, Hong Kong
Tel : +852 2525 9716
Fax : +852 2868 4927
E-mail : [email protected]
(
):
20