การเชื่อมโยงโครงข่ายระเบียงเศรษฐกิจใต้ South Logistics Corridor

Download Report

Transcript การเชื่อมโยงโครงข่ายระเบียงเศรษฐกิจใต้ South Logistics Corridor

การเชื่อมโยงโซ่ อุปทานการค้ ารองรับการ
พัฒนาโลจิสติกส์ อาเซียน
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
31 ตุลาคม 2556 ณ ห้ องประชุ มออดิทอเรียม โรงแรมเซ็นทรา
ศูนย์ ราชการเฉลิมพระเกียรติ ถนนแจ้ งวัฒนะ
www.tanitsorat.com
1
AEC : ASEAN ECONOMIC COMMUNITY
จุดเปลี่ยนประเทศไทยโอกาสและความท้าทาย
Trade &
Investment
Across the
Asean
countries
Free Flow of
Business &
Investment
Free Trade
Finance
Free
Logistics Free
Flow???
Neighbor
Investment
Free
Co-Tourism
Cross border Trade
Immigrant
Labour
Borderless
Economy
Skill Labour
Free
2
www.tanitsorat.com
การเป็ นศูนย์ กลางโลจิสติกส์ ของไทย ส่ งเสริมต่ อการเป็ นศูนย์ กลางทางเศรษฐกิจของภูมภิ าค
Regional Logistics Hub
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
3
การเชื่อมโยงโครงข่ ายระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้
North-South Logistics Corridor Connectivity
R3W(B)เชียงราย-แม่ สายท่าขีเ้ หล็ก-ซือเหมา-คุณหมิง
เนปิ ดอร์
แม่ ฮ่องสอน-ต้ นนุ่น-ตองยีเนปิ ดอร์
แม่ ฮ่องสอน
ซือเหมา
เชียงราย
น่ านน่ าน
อุตรดิตถ์
เลย
พิษณุโลก
คุณหมิง
หลวงพระบาง
ไชยบุรี
เวียงจันทน์
R3E(A)
เชียงของ-ห้ วยทราย-หลวงนา้
ทา-หม่ อฮัน-ซือเหมา-คุณหมิง
น่ าน-ปากแบ่ ง-หลวงพระบาง
R11 อุตรดิดถ์ -ภูด่ ู-ปากลาย-เวียงจันทน์
เลย – ท่าลี่ - เวียงจันทน์
รถไฟทางคู่ สิ งคโปร-มาเลเซีย-ปา
ดังเบซาร์ -กทม.พิษณุโลก-เชียงรายเชียงของ-จีน???
Penang Port
สงขลา-สะเดา/ปาดัง-ปะลิส-ปี นัง
คุณหมิง-ไทย-มาเลเซีย-สิ งคโปร์
4
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
สิงคโปร์
การเชื่อมโยงโครงข่ ายเศรษฐกิจตะวันออก/ตะวันตก
East-West Logistics Corridor Connectivity
R2 ย่ างกุ้ง-พะโค-ยะ
ไข่ (ซิตะเว่ )-ชิน
(ตามู)-มณีปุระ
เนปิ ดอร์
ฮานอย-หนานหนิง
R1 ย่ างกุ้ง-เนปิ ดอร์ มัณฑะเลย์ -มูเซ่ -ต้ าลี-่ ฉงชิง
R1
A1(N)
R12 นครพนม-ตาม่ วน-วิงห์ -ฮานอย-คุณหมิง
R9(W) แม่ สอด-เมียวดีเมาะตะมะ-ผาอัน-ย่ างกุ้ง-ทิลาวา
ย่ างกุ้ง
เมียวดี แม่ สอด R9w
พิษณุโลก
นครพนม R12
มุกดาหาร R9
วิงห์
ดงฮา
R9(E) มุกดาหาร-สะหวันเขต-อาวบ๋ าว-ดงฮา
อุบลฯ R13
R4 เมาะตะมะ-ทวาย
โฮจิมนิ ห์
R13 อุบล-ปากเซ-อัถบือ-สตึงเต็ง-โอจิมินห์
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
5
การเชื่อมโยงโครงข่ ายระเบียงเศรษฐกิจใต้
South Logistics Corridor Connectivity
กาญจนบุรี-บ้ านพุนา้ ร้ อน-ทิกกี-้ ทวาย
ทวาย
อรัญประเทศ
แหลมฉบัง
พนมเปญ
R5
6
กาญจนบุ
รี-นครปฐม-กบินทร์ บุรี-อรัญประเทศ-พนมเปญ
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
ยกระดับเมืองชายแดนทีม่ ีศักยภาพ : Local to Global
Area Base : ยุทธศาสตร์ เชิงพืน้ ที่
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
7
หัวใจแห่ งความสาเร็จเขตเสรีอาเซียน....
การเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ และโครงสร้ างพืน้ ฐานเศรษฐกิจอาเซียน
Trade Under
Single Market
Logistics
Across Border
Service
& Tourism
Investment Under
Single Production
Base
Border
Manufacturer
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
8
AEC Real Business Connectivity
การค้ าชายแดน
ประมาณมูลการค้ าชายแดนปี 2556
-มาเลเซีย 331,123 ล้านบาท
- พม่ า 126,265 ล้านบาท
- ลาว
87,430 ล้านบาท
- กัมพูชา 61,732 ล้านบาท
การท่ องเทีย่ ว
จานวนนักท่ องเทีย่ วทีเ่ ข้ าไทยปี 2555
บรู ไน
10,240 คน
กัมพูชา
424,766คน
อินโดนีเซีย 448,748 คน
ลาว
951,090 คน
มาเลเซีย 2,560,963 คน
เมียนมาร์ 129,924 คน
ฟิ ลิปปิ นส์ 288,889 คน
สิ งคโปร์ 821,056 คน
เวียดนาม 617,804 คน
Sourcing
AEC
Business to Business
ASEAN Oversea
มูลค่ าการส่ งออกของไทยปี 2556
บรู ไน
5,331 ล้านบาท
อินโดนีเซีย 368,923 ล้านบาท
ฟิ ลิปปิ นส์ 156,206 ล้านบาท
สิ งคโปร์ 368,199 ล้านบาท
ASEAN Mainland
มูลค่ าการส่ งออกของไทยปี 2556
กัมพูชา 131,043 ล้านบาท
ลาว
117,855 ล้านบาท
มาเลเซีย 407,269 ล้านบาท
เมียนมาร์ 116,644 ล้านบาท
เวียดนาม 214,037 ล้านบาท
Service Sector
CLMV INVESTMENT
Education
Logistics Service
Health & Care
มูลค่าการลงทุนของไทยปี 2555
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
กัมพูชา
3,526.40 ล้านบาท
ลาว
8,155.79 ล้านบาท
เมียนมาร์ 10,070.16 ล้านบาท
เวียดนาม 8,037.70 ล้านบาท
9
9
การเชื่อมโยงโครงสร้ างพืน้ ฐานไทย – สปป.ลาว
ด่านมุกดาหาร – สะหวันนะเขต
ด่านเชียงของ
ด่านช่องเม็ก – ปากเซ
ประเทศ สปป.ลาว
เส้นทาง R12
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
10
การเชื่อมโยงโครงสร้ างพืน้ ฐานไทย-กัมพูชา
ด่านอรัญประเทศ – ปอยเปต
ประเทศกัมพูชา
ท่าเรื อสี หนุววิ ล์
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
11
การเชื่อมโยงโครงสร้ างพืน้ ฐานไทย-มาเลเซีย
ด่านสะเดา จ.สงขลา - มาเลเซีย
ท่าเรื อปี นัง
ด่านปาดังเบซาร์ จ.สงขลา - มาเลเซีย
เส้ นทางหลักขนส่งยางพาราไทย
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
12
การเชื่อมโยงโครงสร้ างพืน้ ฐานไทย - เมียนมาร์
ด่านแม่สาย จ.เชียงราย – ท่าขี ้เหล็ก
โครงการท่าเรื อน ้าลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย
ด่านแม่สอด จ.ตาก - เมียวดี
ด่านสิงขร จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ - มูด่ ่อง
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
13
เส้ นทางหลักเชื่อมโยงการค้ าประเทศเมียนมาร์
แม่ สอด-เมียวดี-กอกะเร็ก-เมาะละแหม่ ง-ย่ างกุ้ง
1. เส้นทางหลัก การค้าระหว่างประเทศ ไทย-เมียนมาร์ ภายใต้เส้นทาง
แม่สอด-กอกะเร็ ก-ผาอาง-ย่างกุง้ ระยะทางประมาณ 450 กิโลเมตร
2. การลงทุนในเมียวดีและเมาะละแหม่ง รวมทั้งนิ คมอุตสาหกรรมผาอาง
ยัง มี อุป สรรคด้านโครงสร้ างพื้ น ฐานและไฟฟ้ า อย่า งน้อยอี ก 2-3 ปี
ข้างหน้า
3. การพัฒนานิ คมอุตสาหกรรมแบบ Co-Production จะทาให้ท้ งั สอง
ประเทศได้รับประโยชน์ และการเชื่ อมโยงกระแสไฟฟ้ าจากประเทศ
ไทยเป็ นสาคัญ
4. ระเบียบการส่ งออกและนาเข้า จะต้องมีความยืดหยุน่ สอดคล้องกับวิถี
ชายแดน โดยเฉพาะประเทศเมียนมาร์ยงั ขาดความเป็ นเอกภาพ
5. การยกระดับด่านแม่สอดไปสู่ ด่านสากล และการยกระดับเมืองแม่สอด
ไปสู่ เมื องเศรษฐกิ จชายแดน ขณะที่ การส่ ง เสริ มเขตเศรษฐกิ จพิ เศษ
ชายแดน ควรจะมี ก ารทบทวนบทบาท และสอดคล้ อ งกั บ การ
เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ทั้งของไทยและเมียนมาร์
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
มูลค่ าการค้ าชายแดน ด่ านแม่ สอดเมียนมาร์ พ.ศ.2555
มูลค่า 39,376.89 ล้านบาท
- ส่ งออก มูลค่า 37,966.31 ล้านบาท
- นาเข้า มูลค่า 1,410.58 ล้านบาท
14
แนวทางการส่ งเสริมการค้ าการลงทุนผ่ านชายแดนเชื่อมโยงประเทศเพือ่ นบ้ าน
CLMV Countries Trade & Investment Connectivity
1.
2.
3.
4.
จัดตั้งหน่ วยงานรับผิดชอบในการขับเคลือ่ นการลงทุนในต่ างประเทศให้ ชัดเจน (TDI : Thailand
Direct Investment) และการศึกษาแนวทางการส่ งเสริ มให้การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(กนอ.) ไปจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมไทยในประเทศเพื่อนบ้านรวมทั้งเร่ งรัดพิจารณาการแก้ไขกฎหมาย
ที่ลา้ สมัยและเป็ นอุปสรรคต่อการลงทุนในต่างประเทศ
การจัดตั้งหน่ วยงานบูรณาการเชื่อมโยงหุ้นส่ วนเศรษฐกิจประเทศเพือ่ นบ้ าน ภายใต้ความร่ วมมือ
ภาครัฐ-เอกชน โดยจะต้องมีจงั หวัดและท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่ วม
กระทรวงพาณิชย์ จะต้ องเข้ ามาเป็ นเจ้ าภาพด้ านการส่ งเสริมการนาเข้ า-ส่ งออก และการค้ าชายแดน โดย
สานักโลจิสติกส์การค้าควรจะเข้ามาเป็ นหน่วยงานดูแลด้านโลจิสติกส์ขา้ มชายแดน
การพัฒนาด่ านชายแดน โดยปรับเปลีย่ นบทบาทการพัฒนาการค้าชายแดน โดย
1) การค้าชายแดน หรือ Border to Border ควรจะส่งเสริ มบทบาทของชุมชนและท้องถิ่นในพื้นที่ให้เข้าถึงโอกาสของ
การพัฒนา
2) การค้าข้ ามแดนระหว่างประเทศ หรือ Destination to Destination เป็ นรู ปแบบของการค้าในระดับนานาชาติไปสู่
จุดหมายปลายทางในประเทศเพื่อนบ้าน
3) การส่ งเสริมอุตสาหกรรมชายแดน ให้มีการลงทุนในพื้นที่จงั หวัดชายแดนฝั่งไทย โดยเฉพาะแนวพื้นที่ติดชายแดน
4) ส่ งเสริมเขตการพัฒนาเศรษฐกิจร่ วมชายแดนแบบเมืองคู่แฝด ให้เป็ นหนึ่งนิคมอุตสาหกรรมแบบสองประเทศ
เป็ นการใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่ ด้านแรงงานและสิ ทธิประโยชน์ทางภาษีนาเข้า GSP
5) ควรสนับสนุนการลงทุนในลักษณะที่เป็ นห่ วงโซ่ อุปทาน (Value Chain)
15
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
ปัญหาอุปสรรคในการขนส่ งเชื่อมโยงประเทศเพือ่ นบ้ าน
1. ข้อตกลงการขนส่ งข้ามแดน CBTA ไม่สามารถใช้ได้ในทางปฏิบตั ิ
2. ปัญหาความแตกต่างด้านกฎหมาย มาตรฐานการขนส่ ง และการไม่มีการ
ประกันภัย
3. การพัฒนาที่แตกต่างของประเทศเกี่ยวกับศุลกากร (CIQ) การขอใบอนุญาต และ
เอกสารที่ไม่เป็ นสากล
4. ระบบ Transshipment หรื อการขนส่ งข้ามแดนระหว่างประเทศไม่เกื้อหนุนต่อ
การขนส่ งข้ามแดน การวางประกัน, ภาษี, TRUCK VISA, TRUCK Passport,
และกฎหมายการจราจรที่แตกต่างกัน
5. โครงสร้างพื้นฐานของประเทศเพื่อนบ้านยังต้องมีการพัฒนาอีกมาก
6. มาตรฐานผูป้ ระกอบการรถบรรทุกของประเทศเพื่อนบ้าน (รวมทั้งไทย) ยังขาด
มาตรฐาน และความเป็ นสากล รวมถึงมาตรฐานคนขับรถ
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
16
ผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ ...จุดอ่ อนของการเปิ ดเสรี AEC
 ผู้ให้ บริการโลจิสติกส์ ไทย (LSP) ของคนไทย ส่ วนใหญ่ เป็ น SMEs ขาดขีดความสามารถใน
การแข่งขันด้านการเชื่องโยงในระดับภูมิภาค
 ผู้ประกอบการส่ วนใหญ่ ไม่ มเี ครือข่ าย หรื อลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน
 ผู้ประกอบการไทยส่ วนใหญ่ ไม่ ดาเนินธุรกิจให้ บริการครบวงจรทีเ่ ป็ น Integrated Logistics
Service โดยทางานแยกส่ วนในลักษณะที่เป็ น Non Asset Logistics Service
 ผู้ประกอบส่ วนใหญ่ ขาดศักยภาพในการให้ บริการในระดับสากลและขาดความเป็ นมืออาชีพ
ทั้งด้านเทคโนโลยี, นวตกรรม, เงินทุน ทาให้ขาดความน่าเชื่อถือ
 ผู้ประกอบการไทยขาดการรวมตัวในลักษณะเครือข่ าย การให้บริ การมีการแข่งขันด้านราคา
อย่างรุ นแรง ขาดการรวมตัวในลักษณะองค์กรหรื อสถาบันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
17
AEC เหรียญสองด้ าน
เป็ นทั้งโอกาสและความท้ าท้ าย ขึ้นอยูก่ บั ว่าการปรับตัวหรื อรอโชคชะตา
เศรษฐกิจ (ใหม่ ) และชุ มชนไร้ พรมแดนของ AEC จะก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างคาดไม่ถึง ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และธุรกิจ
แน่ ใจแล้วหรือว่ าได้ มีการเตรียมพร้ อมสู่ AEC ??
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
18
END
ข้ อมูลเพิม่ เติมที่ www.tanitsorat.com
19
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com
www.tanitsorat.com