พัฒนาการคู่ขนานของอาเซียนAECและSAEAN++

Download Report

Transcript พัฒนาการคู่ขนานของอาเซียนAECและSAEAN++

พัฒนาคู่ขนานของอาเซียน : AEC
และ ASEAN++FTA
โดย
ดร.ธนิต โสรัตน์
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
www.tanitsorat.com
1
เศรษฐกิจไทยภายใต้ AEC ปี 2015
เขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจุดเปลีย่ นประเทศไทย
การเป็ นฐานการผลิตร่ วมกัน
Customs Union & Co-Production
“ ขจัดภาษีนาเข้ าสินค้ าทุกรายการ ”
ส่ งออกสินค้ าไปอาเซียน ไม่ ต้องเสียภาษีนาเข้ า
ลดภาษีตามลาดับ
ปี 2553
อาเซียน - 6
ภาษี 0%
เวียดนาม ลาว พม่ า กัมพูชา
2
ที่มา: กรมเจรจาการค้ าระหว่างประเทศ
www.tanitsorat.com
ปี 2558
ภาษี 0%
2
กล่ มุ ความร่ วมมือ ASEAN++
 ASEAN+3 (ASEAN+ China, Japan, Korea)
◦ มีประชากรรวมทั้งสิ้ นกว่า 2,000 ล้านคน
◦ GDPรวม 9 ล้านล้านเหรี ยญสหรัฐ คิดเป็ น 16% ของ GDP โลก
◦ ผลประโยชน์รวม มูลค่าประมาณ ประมาณ 2.28 แสนล้านดอลลาร์ (ADB)
 ASEAN+6 (+3, India, Australia, New Zealand)
◦ ผลประโยชน์รวม มูลค่าประมาณ 2.85 แสนล้านดอลลาร์ (ADB)
 ASEAN+8 (+6 , USA, Russia)
3
ใน 5 ปี ข้ างหน้ า ASEAN++ กลุ่มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ
ทีม่ ขี นาดใหญ่ ทสี่ ุ ดในโลกครอบคลุม 2 มหาสมุทร
4
การค้ าเสรีภายใต้ Global Link)
NAFTA
EFTA
ASEAN-Japan
Mercosur
India
ASEAN-India
CAFTA
ASEAN-Korea
ASEAN-China
Sapta
ASEAN-CER
การค้ าเสรีทาให้ โลกเป็ นตลาดเดียวกัน โดยFTAเป็ นกลไกในการขับเคลือ่ น
5
AEC 2015
ผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าสินค้า
เชิงบวก
เชิงลบ
www.tanitsorat.com
6
โครงสร้ างของ AEC เศรษฐกิจพึง่ พิงการส่ งออก
 สิ งคโปร์
 มาเลเซี ย
 ไทย
 กัมพูชา
 ฟิ ลิปปิ นส์
 อินโดนิ เซี ย
225 % ต่อ GDP
100 % ต่อ GDP
70 % ต่อ GDP
60 % ต่อ GDP
50 % ต่อ GDP
49 % ต่อ GDP
7
โอกาสของไทยต่ อการเป็ นศู นย์ กลางเศรษฐกิจของภูมภิ าค
1.
2.
3.
4.
5.
Logistics Hub : ภูมิศาสตร์ของประเทศไทยเอื้อต่อการเป็ นศูนย์กลางเชื่อมโยงด้านโลจิ
สติกส์ของภูมิภาค ในการการเชื่อมโยงอาเซียน+จีน (ภายใต้เครื อข่ายNorth-South : EastWest) และเป็ นศูนย์การกระจายสิ นค้าของอาเซียน
Trade & Finance Hub : ประเทศไทยจะเป็ นศูนย์กลางทางการเงิน การค้า และการ
ลงทุนของภูมิภาค
Value Added Investment Hub : ศูนย์กลางการลงทุนรองรับอุตสาหกรรมที่ใช้
เทคโนโลยี เช่น ยานยนต์และชิ้นส่ วน เครื่ องใช้ไฟฟ้ า เครื่ องจักร ฯลฯ
Tourism & Service Hub : ศูนย์กลางด้านการบริ การของภูมิภาค โดยเฉพาะการ
ท่องเที่ยว, การศึกษา และ สุ ขภาพ
Transit Border Trade : ประเทศไทยจะได้ประโยชน์จากการการค้าข้ามชายแดน คาดว่า
ในปี 2558 จะมีมูลค่ามากกว่า 1.25 ล้านล้านบาท (ต้องผลักดันข้อตกลงขนส่งข้ามแดน CBTA ไปสู่
การปฎิบตั ิ)
8
Co - Resources
การใช้ ประโยชน์ ด้านทรัพยากรร่ วมกัน
1. การใช้ ประโยชน์ จากการย้ ายฐานการผลิตทั้งภาคอุตสาหกรรม บริการ และเกษตร
2. การลงทุนด้ าน Contract Framing และใช้ เป็ นฐานการผลิตพืชเศรษฐกิจ
(มันสาปะหลัง ยางพารา ข้ าว นา้ ตาล ข้ าวโพด ฯลฯ)
3. การใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติ เช่ น ถ่ านหิน, เหมืองแร่ , ก๊าซธรรมชาติ
และทรัพยากรทางทะเล
4. การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรและประมงร่ วม
5. การใช้ ประโยชน์ จาก Hydro Power ซึ่งไทยต้ องพึง่ พาพลังงานไฟฟ้าจากพม่ า
และลาวร้ อยละ 40 %
9
โอกาสด้ านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย
1. การพัฒนาการค้ าภายใต้ ระเบียงเศรษฐกิจ North – South / East - West
2. Co-Tourism โดยใช้ แหล่งท่ องเทีย่ วของประเทศเพือ่ นบ้ านทั้งเชิงธรรมชาติ,
ประวัตศิ าสตร์ , วัฒนธรรม ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพด้ านการท่ องเที่ยวทีด่ ีกว่ า
3. การเป็ นศูนย์ การศึกษาและสุ ขภาพของภูมภิ าค (Education & Heath Hub)
4. การใช้ ประโยชน์ จากแรงงานจากประเทศเพือ่ นบ้ าน (ซึ่งต้ องมีการแก้กฎหมาย
แรงงานต่ าวด้ าว)
5. ประเทศไทยสามารถใช้ ประโยชน์ จากแรงงานทักษะ 7 สาขา จากประเทศ
CLMV ซึ่งไทยได้ เปรียบในด้ านค่ าแรงทีส่ ู งกว่ า (วิศวกรรม การสารวจ
สถาปัตยกรรม แพทย์ ทันตเพทย์ พยาบาลและบัญชี)
10
ยุทธศาสตร์ เชิงรุ ก : ของการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การส่ งเสริมความร่ วมมือด้ านต่ างประเทศ เพือ่ สนับสนุนการเข้ าสู่ AEC
◦ ผลักดันให้ AEC เป็ นวาระแห่งชาติของประเทศสมาชิก อาเซี ยน
◦ ส่ งเสริ มความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประเทศสมาชิก อาเซียน
◦ ผลักดันให้ ASEAN Single Window (ASW)
การปรับตัวและการพัฒนาอุตสาหกรรมเพือ่ เข้ าสู่ AEC
◦ ผลักดันให้มีการกาหนดมาตรฐานสิ นค้าสาหรับผูป้ ระกอบการในประเทศควบคู่กบั การกาหนด
มาตรฐานเพื่อป้ องกันสิ นค้าที่ไม่ได้มาตรฐานที่มีการนาเข้าจากต่างประเทศ
◦ เพิม่ ประสิ ทธิภาพการผลิตสิ นค้าและบริ การ
◦ เตรี ยมความพร้อมเพื่อการปรับตัวเข้าสู่ AEC (AEC Alert)
11
ยุทธศาสตร์ เชิงรุก : สาหรับการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การเคลือ่ นย้ ายแรงงานเข้ าสู่ AEC
◦ ผลักดันภาษาอังกฤษเป็ นภาษาทางการภาษาที่ 2 ของประเทศ เพื่อให้แรงงานมีฝีมือได้พฒั นา
ทักษะด้านภาษาอังกฤษ และมีการกาหนดหลักสู ตรภาษาอังกฤษให้กบั สถาบันอาชีวศึกษา
◦ ผลักดันบุคลากรวิชาชีพบริ การ 7 สาขา เข้าสู่ตลาดอาเซียน
การพัฒนาโลจิสติกส์
◦ ผลักดันให้มีการพัฒนาระบบการขนส่ งข้ามพรมแดนอย่างเป็ นรู ปธรรม
การพัฒนาให้ ไทยเป็ นศูนย์ การกลาง IT
◦ ผลักดันให้อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศของไทยให้เป็ นผูน้ าในอาเซียน
การขยายการลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน
◦ สนับสนุนให้มีการศึกษา/วิจยั ข้อมูลเชิงลึกของประเทศสมาชิกอาเซียน
◦ อานวยสิ ทธิประโยชน์ให้แก่ผปู้ ระกอบการที่มีการลงทุนในต่างประเทศ
www.tanitsorat.com
12
ยุทธศาสตร์ เชิงรับ : ความท้ าทายของไทยสู่ AEC 2015
ASEAN++ เป็ นทั้งโอกาสและความท้าทายเนื่องจากขีดความสามารถในการ
แข่งขันของไทยเป็ นรองเมื่อเทียบกับ จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, และสิ งคโปร์
 การเป็ น Single Market การปกป้ องเศรษฐกิจภายในประเทศโดยเฉพาะ SME
และภาคเกษตร
 ต้องกาหนด Road Map การพัฒนาทุกภาคส่ วนของไทยโดยต้องยกระดับ
Customs Union ไปสู่ Economic Union
 AEC 2015 เป็ นก้าวแรกซึ่ งไทยจะเตรี ยมพร้อมที่ไปสู่ AEC 2030

13
การพัฒนาเศรษฐกิจ-การเมือง-สั งคม คู่ขนานไปกับ AEC 2015
Trade
เน้ นการค้าภายในภูมิภาคมากขึน้
รุกตลาดสิ นค้าที่ไทยได้เปรียบและขยายตลาด
ตามกรอบความร่วมมือใหม่ๆ
Service
การแข่งขันสูงขึน้ ภาคบริ การเข้ามามี
บทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิ จมากขึน้
เน้ นท่องเที่ยวและบริ การด้านสุขภาพซึ่งไทยมี
จุดแข็งหลายด้าน
Outgoing
Investment
การผลิ ตที่เริ่ มสูญเสียความสามารถในการ
แข่งขันจาเป็ นต้องย้ายฐานการผลิ ตไป
ต่างประเทศมากขึน้
ลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านที่มีทรัพยากรอุดม
สมบูรณ์ และพร้อมเปิ ดรับการลงทุนจาก
ต่างชาติ
Immigrant
Labor
ข้อจากัดในการทางานของแรงงาน
ต่างชาติ มีแนวโน้ มผ่อนปรนมากขึน้
เพิ่ มพูนทักษะแรงงาน โดยเฉพาะด้านภาษา
และการปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐานการทางาน
ที่เป็ นสากล
Cash Inflow
เงิ นทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศเข้าออก
ได้เสรีมากขึน้ ค่าเงิ นมีแนวโน้ มผันผวน
ผูป้ ระกอบการต้องเร่งปรับตัวในการบริ หาร
จัดการด้านต้นทุนและปิ ดความเสี่ยงด้านอัตรา
แลกเปลี่ยน
IT Hub
การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ
การพัฒนาผูป้ ระกอบการ IT ให้มีศกั ยภาพทัง้
ด้าน Software และ Hardware
14
www.tanitsorat.com
14
การพัฒนาคู่ขนานภายใต้ AEC 2015 ต้ องทาเป็ นแบบบูรณาการ
1.
2.
3.
4.
5.
Integration Task AEC ประเทศไทยต้ องบูรณาการ และ
สอดคล้ องกับ North – South/East-West Corridor
Area Base Development กาหนดพืน้ ทีเ่ ป้ าหมายของการ
พัฒนา โดยให้ มี City Model และ Border Town รวมทั้ง
เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน
เจ้ าภาพการพัฒนา กระทรวงพาณิชย์ การทรวงมหาดไทย
กระทรวงต่ างประเทศ และกระทรวงทีเ่ กีย่ วข้ องทาง
เศรษฐกิจจะต้ องมีการทาแผนAEC 2015 International
Road Map Plan โดยมีภาคเอกชน-ชุ มชนท้ องถิ่นเข้ ามามี
ส่ วนร่ วม
Strategy Plan การประชาสั มพันธ์ อย่ างเดียวไม่ เพียงพอ
ต้ องมีการทายุทธศาสตร์ เชิงรุ กเป็ นแผน 3 ปี
AEC Risk Alert การเปิ ด AEC มีท้งั โอกาสและความ
เสี่ ยงต้ องจัดทาแผนให้ สอดคล้ องกันกับกลุ่มทีไ่ ด้
ประโยชน์ และกลุ่มทีเ่ สี ยประโยชน์
www.tanitsorat.com
15
AEC Offshore Factory : Opportunity
อุตสาหกรรมไทยที่เหมาะสมที่จะเคลื่อนย้ ายไปประเทศเพื่อนบ้ าน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
Industry which use local content material.อุตสาหกรรมที่ใช้ วตั ถุดิบประเภท
Local Content
Textile industry which use a lot of labor content. อุตสาหกรรมสิ่งทอซึง่ ใช้
แรงงานมาก Labour Content
Spare part industry. อุตสาหกรรมประกอบชิ ้นส่วน
Electric and electronic equipment which use the benefit from value chain
connection with foreign country. เครื่ องใช้ ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งถือ
เป็ นการใช้ ประโยชน์การเชื่อมโยง Value Chain กับต่างประเทศ
Household furniture industry which made of natural material.
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้ องกับเครื่ องเรื อน เฟอร์ นิเจอร์ ที่ใช้ วสั ดุธรรรมชาติ
transformed agriculture industry อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป
TANIT SORAT
16
Next AEC 2030
AEC ยกระดับไปสู่ ACI : ASEAN-China-India
ADB จัดทาโครงการการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่ใหญ่ ท่ สี ุดในโลก
ใน 20 ปี ข้ างหน้ า
ภายใต้ โครงการ ASEAN 2030 ครอบคลุมภาคเศรษฐกิจและ
สังคมให้ สอดคล้ องกับนโยบายของรัฐบาลประเทศสมาชิก
วิสัยทัศน์ ของ ACI ปี 2030 ภายใต้ ความเป็ นหนึ่งเดียวกัน
(HARMONIZED SYSTEM)
www.tanitsorat.com
17
2015 AEC :จุดเปลี่ยนประเทศไทย
โอกาสและความท้าทาย
เป้ าหมาย
“Regional
Industrial &
Service Hub”
neighbor
Investment
Offshore
Investment
Logistics
Hub
Finance
&
IT
Center
Co-Tourism
Cross bonder Trade
Education
&
Heath Hub
Single Market
www.tanitsorat.com
18
AEC ASEAN+++
ไทยเตรี ยมพร้ อมแล้ วหรื อยัง???
มิติของการพัฒนา
ภาครัฐ:
กลไกสนับสนุน-ขับเคลือ่ น
ภายใต้ ผ้มู ีส่วนได้ -เสีย
ภาคการเมือง :
กาหนดนโยบายสอดคล้อง
ASEAN
+3+6+8
ภาคธุรกิจ :
ต้ องปรับตัวรับการเปลีย่ นแปลง
ภาคประชาชน:
การเปลีย่ นแปลงภายใต้
Single Market & One Society
19
END
ข้ อมูลเพิม่ เติม : www.tanitsorat.com
20