รู้ทัน รู้ คิด...ใกล้ ชิด AEC

Download Report

Transcript รู้ทัน รู้ คิด...ใกล้ ชิด AEC

กรอ...รู้ ทนั รู้ คดิ ...ใกล้ ชิด AEC
นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล
ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
วันพุธที่ 23 มีนาคม 2554 เวลา 13.00 - 16.00 น.
ณ ห้ องมิราเคิล แกรนด์ บอลรู ม ชั้น 4
โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุ งเทพฯ
Outline
1
2
3
4
• ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
• โอกาสและผลกระทบทางการค้ าและการลงทุน
• การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมเพือ่ เข้ าสู่ AEC
• บทสรุป
กลุ่มสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ
3
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community: AEC)
เป็ นเป้ าหมายของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน (Economic Integration)
 เคลือ่ นย้ ายสิ นค้ าเสรี
 เคลือ่ นย้ ายบริการเสรี
 เคลือ่ นย้ ายแรงงานฝี มืออย่ างเสรี
 เคลือ่ นย้ ายการลงทุนอย่ างเสรี
 เคลือ่ นย้ ายเงินทุนอย่ างเสรีมากขึน้
“อาเซียนจะรวมตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ โดยจะมีตลาดและฐานการผลิตร่ วมกัน
(single market and production base) และจะมีการเคลือ่ นย้ายสิ นค้ า บริการ
การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝี มืออย่ างเสรี”
เป้ าหมายของ AEC
เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ 4 ด้ าน
เป็ นตลาดและ
ฐานการผลิตร่ วม
เป็ นภูมภิ าคที่มี
ขีดความสามารถ
ในการแข่ งขันสู ง
แผนงานที่จะ
ส่ งเสริ มการ
เคลื่อนย้ายสิ นค้า
บริ การ การลงทุน
แรงงาน และ
เงินทุนที่เสรี โดย
ลดอุปสรรคใน
ด้านต่างๆ
แผนงานที่จะ
ส่ งเสริ มขีด
ความสามารถด้าน
ต่างๆ อาทิ
นโยบายการ
แข่งขัน ทรัพย์สิน
ทางปัญญา ecommerce ฯลฯ
การพัฒนาทาง
เศรษฐกิจ
อย่ างเท่ าเทียมกัน
การเชื่อมโยงของ
อาเซียนเข้ ากับ
เศรษฐกิจโลก
แผนงานที่จะ
ส่ งเสริ มการ
รวมกลุ่มของ
ประเทศสมาชิกและ
ลดช่องว่าง/ความ
แตกต่างของระดับ
การพัฒนาระหว่าง
สมาชิกเก่าและใหม่
แผนงานที่จะ
ส่ งเสริ มการ
รวมกลุ่มเข้ากับ
ประชาคมโลกโดย
การปรับประสาน
นโยบายในระดับ
ภูมิภาคและสร้าง
เครื อข่ายการผลิต/
จาหน่าย
การนาเข้ าส่ งออกสิ นค้ าได้ อย่ างเสรี (Free Flow of Goods)
กรอบระยะเวลาการลดอัตราภาษีสินค้ าของประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเทศ
1 ม.ค. พ.ศ. 2553
พ.ศ. 2556
1 ม.ค. พ.ศ. 2558
ASEAN-6
รายการสิ นค้ าทั้งหมดใน IL
มีอัตราภาษี 0% (ยกเว้ น
SL และ HSL มีอัตราภาษี
0-5%)
CLMV
รายการสิ นค้ าทั้งหมดใน IL เวี ย ดนามลดอั ต ราภาษี SL - รายการสิ นค้ าทั้งหมดใน IL มี
มีอตั ราภาษี 0-5%
เหลือ 0-5%
อัตราภาษี 0%
- ลาวและพม่ า ลดอั ต ราภาษี SL
เหลือ 0-5% (กัมพูชาลดอัตรา
ภาษี SL ปี 2560)
* IL = Inclusion List (บัญชีภาษีสินค้า)
**SL = Sensitive List (สินค้าอ่อนไหว)
***HSL = Highly Sensitive List (สินค้าอ่อนไหวสู ง)
สิ นค้ าอ่อนไหว (Sensitive List)
บรู ไน (2)
กาแฟ / ชา
กัมพูชา (6)
สัตว์ ปีกมีชีวติ / เนือ้ สัตว์ ปีก / เนือ้ ปลา / กล้วยไม้ และไม้ ตดั ดอกบางชนิด / พืชผัก / ผลไม้
ลาว (12)
สัตว์ มชี ีวติ และสัตว์ เลีย้ งสาหรับใช้ งานและทาพันธุ์ / สัตว์ ปีกเลีย้ งมีชีวติ / เนือ้ ส่ วนอืน่ ทีบ่ ริโภคได้ ของโค กระบือ
สุ กร / เนือ้ ส่ วนอืน่ ทีบ่ ริโภคได้ ของสัตว์ ปีก / ปลามีชีวติ / ไข่ สัตว์ ปีกทั้งเปลือก / เครื่องในสัตว์ / พืชผักสด / พืชผัก
แช่ เย็นแช่ แข็ง / มันสาปะหลัง มันเทศ มันอืน่ ๆ / ลูกนัต สดหรือแห้ ง และผสมผลไม้ แห้ ง / ผลไม้
มาเลเซีย
(13)
สุ กรมีชีวติ / สัตว์ ปีกมีชีวติ / เนือ้ สุ กร / เนือ้ ไก่แช่ เย็นแช่ แข็ง ไม่ ได้ ตดั เป็ นชิ้น / นมและครีมมีไขมันเกินร้ อยละ 6 /
ไข่ ไก่ ไข่ เป็ ด / ต้ นยางติดตา / กะหลา่ / ผลไม้ / กาแฟไม่ ได้ ควั่ ไม่ ได้ สกัดคาเฟอีนออก / เมล็ดยาง / ไผ่ หวาย พืชใช้
ถักสาน / ยาสู บ ซิการ์ บุหรี่
พม่ า (7)
ถั่วลันเตา ถั่วบีน / กาแฟยังไม่ ได้ ควั่ / ชาเขียว / ข้ าว / น้าตาลดิบ / รังไหม ไหมดิบ เศษไหม / ฝ้ าย เศษฝ้ าย
ฟิ ลิปปิ นส์ (6) สุ กรมีชีวติ / สัตว์ ปีกเลีย้ งมีชีวติ / เนือ้ สุ กร / เนือ้ สัตว์ ปีกและเครื่องใน / มันสาปะหลัง มันเทศ / ข้ าวโพด ข้ าวซอร์ กมั
เวียดนาม (9) สัตว์ ปีกเลีย้ งมีชีวติ / เนือ้ และเครื่องในไก่ ไก่งวง เป็ ด / เนือ้ และส่ วนอืน่ ทีบ่ ริโภคได้ ของกบ กระต่ าย / ไข่ / พืช
กุหลาบ ต้ นโรโดเดนดรอน ต้ นชวนชม / ส้ ม มะนาว เกรปฟรุต / ข้ าว / ไส้ กรอก / น้าตาลจากอ้อยหรือหัวบีท
7
ไทย (4)
ไม้ ตดั ดอก / มันฝรั่ง / กาแฟ / เนือ้ มะพร้ าว
สิ นค้ าอ่อนไหวสู ง (Highly Sensitive List)
ประเทศ
อินโดนีเซีย
มาเลเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์
สิ นค้ า
ข้ าว
นา้ ตาล
ข้ าว
ข้ าว
อัตราภาษี
ลดจาก 30% เป็ น 25% ในปี 2015
ลดจาก 30-40% เป็ น 5-10% ในปี 2015
ลดจาก 40% เป็ น 20% ในปี 2010
อยู่ระหว่ างเจรจากับไทย (ปัจจุบัน 40% โควตานาเข้ า
350,000 ตัน ไทยได้ โควตา 90,000 ตัน/ปี )
การขจัดมาตรการที่มิใช่ ภาษี (NTBs)
กรอบระยะเวลาการขจัดมาตรการที่มิใช่ ภาษี (NTBs)
NTBs ชุ ดที่ 1
NTBs ชุ ดที่ 2
พ.ศ.2551
สมาชิกทั้งหมด
พ.ศ.2552
พ.ศ.2553
พ.ศ.2555
พ.ศ.2558
สมาชิกทั้งหมด
อาเซียน-5
NTBs ชุ ดที่ 3
ฟิ ลิปปิ นส์
CLMV
ส่ งเสริมความโปร่ งใส
ลดจานวน NTB
2008-09
กาจัด NTB
อาเซียน 5 (2010)
2010-11
รายการสินค้าที่ไทยเสนอต่ อ AFTA Council เพือ่ ยกเลิก NTBs
NTBs ชุดที่ 1 ลาไย พริกไทย ใบยาสู บ นา้ มันถัว่ เหลือง และนา้ ตาล
NTBs ชุดที่ 2 ปอกระเจา ป่ าน และมันฝรั่ง
NTBs
ชุดที่ 3 เนือ้ มะพร้ าวแห้ ง มะพร้ าว นา้ มันมะพร้ าว ชา ถัว่ เหลือง เมล็ดกาแฟ
9
กาแฟสาเร็จรูป นา้ นมดิบ/นมปรุงแต่ ง และนมผงขาดมันเนย
กาจัด NTB
ฟิ ลิปปิ นส์ (2012)
2012-13
กาจัด NTB
สาหรับ CLMV
(2015) ยืดหยุ่น
บางตัวสินค้า
อ่อนไหว
2014-15
การค้ าบริการระหว่ างประเทศสมาชิกอาเซียนอย่ างเสรี
(Free Flow of Services)
ลดอุปสรรคในการเข้ าสู่ ตลาด และเพิม่ สั ดส่ วนการถือหุ้น
ให้ กบั บุคคล/นิตบิ ุคคลสั ญชาติอาเซียน
กรอบระยะเวลาของการอนุญาตให้นกั ลงทุนอาเซี ยนเข้ามาถือหุน้ ในสาขาบริ การ
สาขาบริการ
2008-2009
2010-2011
สาขาบริการ
ทีเ่ ร่ งรัด
อย่างน้อย 51%
อย่างน้อย 70%
สาขาโลจิสติกส์
สาขาบริการอืน่ ๆ
อย่างน้อย 49%
อย่างน้อย 49%
อย่างน้อย 51%
อย่างน้อย 51%
2012-2013
2014-2015
อย่างน้อย 70%
•สาขาบริการทีเ่ ร่ งรัด (Priority sectors) ได้แก่ E-ASEAN (โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ )
สุ ขภาพ ท่ องเทีย่ ว และการบิน
10
อย่างน้อย 70%
การลงทุนระหว่ างประเทศสมาชิกอาเซียนอย่ างเสรี
(Free Flow of Investment)
เพือ่ เปิ ดเสรีการลงทุน ให้ ความคุ้มครองการลงทุน ส่ งเสริมการลงทุน และ
อานวยความสะดวกด้ านการลงทุน
เกษตรกรรม
ป่ าไม้
ประมง
เหมืองแร่
อุตสาหกรรม
การผลิต
11
สาขาทีเ่ ปิ ดเสรีการลงทุน
บริการทีเ่ กีย่ วเนื่องกับ 5
สาขา
รู ปแบบของการลงทุน
• ลงทุนโดยตรงจากต่ างประเทศ (FDI)
• ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ (Portfolio)
การเคลือ่ นย้ ายเงินทุนระหว่ างประเทศสมาชิกอาเซียน
อย่ างเสรีมากขึน้ (Freer Flow of Capital)
ด้ านตลาดทุน
ด้ านการเคลือ่ นย้ าย
เงินทุน
• เสริมสร้ างความแข็งแกร่ งในการพัฒนาและการรวมตั ว
ของตลาดทุนในอาเซียน
• ให้ มีการเคลื่อนย้ ายเงินทุนระหว่ างประเทศที่เสรี
อย่ างค่ อยเป็ นค่ อยไปมากขึน้
• มีมาตรการปกป้องที่เพียงพอ และใช้ มาตรการที่
จาเป็ นเพื่อรองรั บผลกระทบจากความผันผวน
และรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค
การเคลือ่ นย้ ายแรงงานฝี มือระหว่ างประเทศสมาชิกอาเซียนอย่ างเสรี
มากขึน้ (Free Flow of Skilled labor)
ข้ อตกลงยอมรับร่ วมคุณสมบัตขิ องบริการวิชาชีพ
(Mutual Recognition Arrangements: MRAs)
• อานวยความสะดวกแก่ผใู ้ ห้บริ การวิชาชีพในการเข้ามาทางานและพานักอาศัย โดย
การยอมรับวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ทางาน
• แต่ ประเด็นเรื่ องการเข้าเมื องและการทางานยังต้องเป็ นไปตามกฎระเบี ยบภายใน
ของแต่ละประเทศสมาชิกด้วย เช่น การสอบใบอนุญาต
ปั จจุบนั อาเซี ยนมีการลงนามร่ วมกันใน MRAs 7 สาขาอาชีพ คือ วิศวกร นัก
สารวจ สถาปนิก แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล และนักบัญชี
ภาพรวมการค้ าสิ นค้ าระหว่ างไทยและอาเซียน
การปรับลดอัตราภาษีส่งผลให้ การค้ าระหว่ างไทยและ
กลุ่มประเทศอาเซียนขยายตัวเป็ นอย่ างมาก
หน่ วย: ล้านบาท
รายการ
การส่ งออกไปยังอาเซียน
% การเปลีย่ นแปลง
การนาเข้ าจากอาเซียน
% การเปลีย่ นแปลง
ดุลการค้ากับอาเซียน
มูลค่าการค้าระหว่างไทย-อาเซียน
มูลค่าการค้าทั้งหมดของไทย
สัดส่ วนมูลค่าการค้าไทย-อาเซียนต่ อมูลค่า
การค้าทั้งหมด
2548
975,867.9
14.5
869,710
35.8
106,157.9
1,845,577.9
9,192,715.6
20.1
ที่มา: กรมศุลกากร (ประมวลผลโดยธนาคารแห่ งประเทศไทย)
2549
1,029,180
5.5
905,681.6
4.1
123,498.4
1,934,861.6
9,880,294.7
19.6
2550
1,129,092.3
9.7
872,246.3
-3.7
256,846
2,001,338.6
10,172,305.6
19.7
2551
1,319,391.2
16.9
1,002,144.6
14.9
317,246.6
2,321,535.8
11,813,853.6
19.7
2552
1,106,491.96
-16.1
850,941.20
-15.08
255,550.8
1,957,433.2
9,795,136.4
19.98
AFTA เป็ นปัจจัยสาคัญทีส่ นับสนุนการค้ า
ระหว่ างประเทศสมาชิกอาเซียน (Intra-regional Trade)
มูลค่ าการค้ ารวมระหว่ างไทย-อาเซียนสู งกว่ ามูลค่ าการค้ ารวมระหว่ างไทย-ญีป่ ุ่ น ไทย-EU และไทย-สหรัฐ
ที่มา: ASEAN Economic Community Chartbook, 2009
สิ นค้ าไทยทีค่ าดว่ าจะได้ รับผลกระทบ
ภายใต้ ความตกลง AFTA
สิ นค้ า
อุตสาหกรรม
• เหล็กโลหะและผลิตภัณฑ์ (อินโดนีเซีย)
• เครื่องจักรกล (มาเลเซียและเวียดนาม)
• ยานยนต์ และชิ้นส่ วน (มาเลเซีย)
• สิ่ งทอและเครื่องนุ่งห่ ม (เพือ่ นบ้ าน เช่ น เวียดนาม)
• เฟอร์ นิเจอร์ (เวียดนาม)
• สิ นค้ าอิเล็กทรอนิกส์ /เครื่องใช้ ไฟฟ้า (มาเลเซีย)
• ผลิตภัณฑ์ พลาสติก (เวียดนาม)
ตาแหน่ งการตลาดและศักยภาพการแข่ งขัน
ของสิ นค้ าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
ดาว
ผลิตภัณฑ์ ยาง
ไทยมีส่วนแบ่ งในตลาดอาเซียนสู งเป็ นอันดับ 1
และมีทศิ ทางของส่ วนแบ่ งตลาดทีเ่ พิม่ ขึน้
มีแนวโน้ มทาเงิน
สิ่ งทอ ยานยนต์ และชิ้นส่ วนยานยนต์ ไม้
ส่ วนแบ่ งสิ นค้ าของไทยในตลาดอาเซียนมีลกั ษณะผัน
ผวน
17
มีทิศทางไม่ ชัดเจน
อาหารแปรรู ป เครื่องใช้ ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
อัญมณีและเครื่องประดับ เคมีภัณฑ์ พลาสติก
เหล็ก
ส่ วนแบ่ งในตลาดอาเซียนมีความผันผวน
มีแนวโน้ มตกต่า
อาหารแช่ แข็ง และอโลหะ
ส่ วนแบ่ งในตลาดอาเซียนลดลงอย่ างต่ อ
เนื่องและมีมูลค่ าการส่ งออกหดตัวต่ อเนื่อง
เช่ นกัน
ที่มา : ศูนย์ ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (กันยายน, 2553)
โอกาสทางการค้ าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
1
• ขยายช่ องทางและโอกาสของสิ นค้ าไทยในการเข้ าถึงตลาดอาเซียน
2
• ลดต้ นทุนการผลิตจากการนาเข้ าวัตถุดบิ และสิ นค้ าขั้นกลางทีใ่ ช้ ในการผลิต
ได้ ในราคาต่าลง
3
• จัดตั้งกิจการ ให้ บริการ ตลอดจนทางานในประเทศสมาชิกอาเซียนสะดวก
มากขึน้
4
• ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ ทีม่ ีแรงงาน ทรัพยากร
หรือปัจจัยการผลิตทีส่ มบูรณ์ กว่ า
ผลกระทบทางค้ าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
1
2
3
4
• คู่แข่ งขันและสภาพการแข่ งขันในตลาดเพิม่ ขึน้
• สิ นค้ าที่ไม่ ได้ มาตรฐาน/คุณภาพตา่ เข้ ามาวางจาหน่ ายในประเทศไทยมาก
ขึน้
• นักลงทุนต่ างชาติอาศัยสิ ทธินักลงทุนสั ญชาติอาเซียนเข้ ามาลงทุนในไทย
• การเคลือ่ นย้ายแรงงานมีฝีมือของไทยไปประเทศทีใ่ ห้ ค่าตอบแทนสู งกว่ า
AEC: จุดเปลีย่ นประเทศไทย
จุดยืนของไทย
การค้ า
เน้ นการค้าภายในภูมิภาคมากขึน้
รุกตลาดสินค้าที่ไทยได้ เปรียบและขยายตลาดตาม
กรอบความร่ วมมือใหม่ ๆ
บริการ
การแข่ งขันสู งขึน้ ภาคบริการเข้ ามามีบทบาท
ในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจมากขึน้
เน้ นท่ องเที่ยวและบริการด้ านสุ ขภาพ
ซึ่งไทยมีจุดแข็งหลายด้ าน
FDI
การผลิตที่เริ่มสู ญเสียความสามารถในการ
แข่ งขันจาเป็ นต้ องย้ ายฐานการผลิต
ไปต่ างประเทศมากขึน้
ลงทุนในประเทศเพือ่ นบ้ านที่มีทรัพยากร
อุดมสมบูรณ์ และพร้ อมเปิ ดรับการลงทุน
จากต่ างชาติ
แรงงาน
มีแนวโน้ มผ่อนปรนข้ อจากัดในการทางานของ
แรงงานต่ างชาติมากขึน้
เพิม่ พูนทักษะแรงงาน โดยเฉพาะด้ านภาษาและการ
ปรับตัวให้ เข้ ากับมาตรฐานการทางาน
ที่เป็ นสากล
การเคลือ่ นย้ าย
เงินทุน
เงินทุนเคลือ่ นย้ ายระหว่างประเทศเข้ าออกได้
เสรีมากขึน้ ค่าเงินมีแนวโน้ มผันผวน
ผู้ประกอบการต้ องเร่ งปรับตัวในการบริหารจัดการ
ด้ านต้ นทุนและลดความเสี่ยง
ด้ านอัตราแลกเปลีย่ น
โอกาสการค้ าและการลงทุนของไทย
เป้าหมาย
“Trading
Hub”
ที่มา: Emerging Asian Regionalism
(ADB, 2008)
ทีม่ า: Asian Development Bank
การบูรณาการเข้ ากับเศรษฐกิจโลก
อาเซียน-จีน
ประชากร 1,338 ล้านคน
GDP-5% (ปี 2552)
อาเซียน-ญีปุ่น
ประชากร 127 ล้านคน
GDP -5.4% (ปี 2552)
อาเซียน-เกาหลี
ประชากร 48 ล้านคน
GDP-1.0% (ปี 2552)
อาเซียน-อินเดีย
ประชากร 1,166 ล้านคน
GDP 5.4% (ปี 2552)
ไทยกับตลาดการค้ าเสรีที่มี
ประชากร ~ 2,700 ล้ านคนโดย
มีอาเซียนเป็ นศูนย์ กลาง
ข้ อมูล ประชากร จาก CIA
23
GDP จาก IMF
อาเซียน-ออสเตรเลีย
ประชากร 21 ล้านคน
GDP 0.7% (ปี 2552)
อาเซียน-นิวซีแลนด์
ประชากร 4.2 ล้านคน
GDP -2.2% (ปี 2552)
41
ประเทศสมาชิกอาเซียนเป็ นฐานการผลิตให้ ผู้ประกอบการไทย
เพือ่ ผลิตและส่ งออกสิ นค้ า เพือ่ รับสิ ทธิประโยชน์ ทางภาษีในรูปแบบต่ างๆ
ลูกไม้ ถักฟิ ลิปปิ นส์
ส่ งไปปักในกัมพูชา
กระดุมเวียดนาม
ผ้ามาเลเซีย
โรงงานผลิตในไทย
EU
จีน
ญี่ปุ่น
24
เกาหลีใต้
ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
ปัญหาในทางปฏิบัติที่เป็ นข้ อจากัด
ในการใช้ ประโยชน์ จาก AFTA
ข้ อเสนอแนะในการปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม
เพือ่ เข้ าสู่ AEC
1
• นาเข้ าแหล่ งวัตถุดิบ สิ นค้ ากึ่งสาเร็ จรู ปและทรั พยากรราคาถูกจากประเทศสมาชิ กอาเซียน
หรือย้ ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพือ่ นบ้ าน
2
• พัฒ นาและแปรรู ป สิ น ค้ า และบริ ก ารให้ มี ค วามหลากหลายตามมาตรฐานสากล สร้ า ง
มูลค่ าเพิม่ และสร้ างตราสิ นค้ าให้ เป็ นทีย่ อมรับของผู้บริโภค
3
• ดาเนินกลยุทธ์ การตลาดในเชิ งรุ ก เจาะตลาดคู่ค้าของอาเซียนภายใต้ ความตกลงการค้าเสรีที่
อาเซียนมีกบั ประเทศคู่เจรจา
ข้ อเสนอแนะในการปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม
เพือ่ เข้ าสู่ AEC
• ผลิ ต สิ น ค้ า ที่ รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มและต่ อ ต้ า นโลกร้ อน รวมถึ ง การด าเนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ สั ง คม
4
5
6
7
(Corporate Social Responsibility: CSR)
• ศึกษากฎระเบียบและเงื่อนไขด้ านการนาเข้ าของประเทศคู่ค้า ปรั บปรุ งโครงสร้ างการผลิตให้
สอดคล้ องกับกฎถิ่นกาเนิดสิ นค้ าและมาตรฐานอาเซียน
• ปรับปรุงประสิ ทธิภาพการผลิต การจัดการการผลิตและต้ นทุน และการดาเนินธุรกิจ
• พัฒนาศักยภาพและเตรียมความพร้ อมของบุคลากร โดยเฉพาะแรงงานฝี มือและช่ างเทคนิค
ยุทธศาสตร์ ของสภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย
เพือ่ เตรียมการเข้ าสู่ AEC
การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ AEC อย่ างเป็ นรู ปธรรม
กิจกรรม
ขับเคลือ่ น
ผลักดัน
การส่ งเสริมความร่ วม มือด้ าน
ต่ างประเทศ เพือ่ สนับสนุนการเข้ า
สู่ AEC
. ผลัก ดัน ให้ AEC เป็ นวาระ
แห่ งชาติ ของประเทศสมาชิ ก
อาเซี ยน
. ส่ งเสริ มความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ
ประเทศสมาชิกอาเซี ยน
. ผลักดันให้เกิด ASEAN
Single Window (ASW)
การปรับตัวและการพัฒนา
อุตสาหกรรมเข้ าสู่ AEC
. ผลักดันให้มีการกาหนดมาตรฐาน
สิ นค้ า ส าหรั บผู ้ ป ระกอบการใน
ป ร ะ เ ท ศ ค ว บ คู่ กั บ ก า ร ก า ห น ด
มาตรฐานเพื่ อป้ องกัน สิ น ค้า ที่ ไ ม่ ไ ด้
ม า ต ร ฐ า น ที่ มี ก า ร น า เ ข้ า จ า ก
ต่างประเทศ
. เพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิตสิ นค้าและ
บริ การ
• เตรี ย มความพร้ อมเพื่ อการปรั บตัว
เข้าสู่ AEC (AEC Alert)
ยุทธศาสตร์ ที่ 4
ประเด็น
ติดตาม
การเคลือ่ นย้ ายแรงงานสู่ AEC
การพัฒนาโลจิสติกส์
. ผลักดันภาษาอังกฤษเป็ นภาษา . ผลัก ดัน ให้ มี ก ารพัฒ นาระบบ
ทางการภาษาที่ 2 ของประเทศ การขนส่ งอย่างเป็ นรู ปธรรม
เพื่ อ ให้ แ รงงานมี ฝี มื อ ได้ พ ั ฒ นา
ทักษะด้า นภาษาอังกฤษ และมี การ
กาหนดหลักสู ตรภาษาอังกฤษให้กบั
สถาบันอาชีวศึกษา
. ผลักดันการผลิตบุคลากรวิชาชี พ
บริ การ 7 สาขา เพื่อรองรับการเข้าสู่
ตลาดอาเซี ยน
การดาเนินงาน
ส.อ.ท.
ส.อ.ท. และภาครัฐ
ภาครัฐ
การส่ งเสริ มการลงทุ นในประเทศ
สมาชิกอาเซียน
. สนับสนุ นให้มีการศึ กษา/วิจัย
ข้อมูลเชิ งลึ กของประเทศสมาชิ ก
อาเซี ยน
.
ให้ สิ ทธิ ประโยชน์ แ ก่
ผู ้ป ระกอบการที่ มี ก ารลงทุ น ใน
ต่างประเทศ
บทสรุป
• AEC นามาซึ่งการขยายโอกาสทางการค้ า การบริการ และการลงทุน
• AEC ช่ วยยกระดับไทยให้ กลายเป็ นประเทศที่มีบทบาทมากยิ่งขึ้นในสายตาของนั กลงทุ น
ต่ างประเทศ หรือเป็ น ASEAN Hub
• การเปิ ดเสรีก่อให้ เกิดผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบอย่ างหลีกเลีย่ งได้ ยาก
• ต้ องมีการเตรี ยมความพร้ อมและเร่ งปรั บตัวโดยการร่ วมมือกันระหว่ างภาครั ฐและภาคเอกชน
ควบคู่ กั บ การด าเนิ น กลยุ ท ธ์ ท างการตลาดในเชิ ง รุ ก และเสริ ม สร้ า งความสั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ
ภาคเอกชนของประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่
30