ทำไมต้องใส่ใจอาเซียน

Download Report

Transcript ทำไมต้องใส่ใจอาเซียน

ทำไมต้ องใส่ ใจเกี่ยวกับอำเซียน
ภำพรวมประชำคมอำเซียน (ASEAN Community)
และประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน (AEC)
กรมอำเซียน กระทรวงกำรต่ ำงประเทศ
ASEAN Factsheet
อำเซียนถือกำเนิดที่
ประเทศไทย ในปี 2510
สมำชิกผู้ก่อตัง้
• ไทย
• มำเลเซีย
• อินโดนีเซีย
• ฟิ ลิปปิ นส์
• สิงคโปร์
สมำชิกเพิ่มเติม
+ บรูไนฯ ปี 2527
+ เวียดนำม ปี 2538
+ ลำว ปี 2540
+ พม่ ำ ปี 2540
+ กัมพูชำ ปี 2542
ประเด็นท้ ำทำยของอำเซียน
ควำมแตกต่ ำง
ด้ ำนเชือ้ ชำติ ศำสนำ
ระดับกำรพัฒนำ
กำรพัฒนำ
สถำบันกำรเมือง
เศรษฐกิจ สังคม
กำรแข่ งขันของมหำอำนำจ
สหรัฐ รัสเซีย จีน
อินเดีย ญี่ปนุ่
ประชำคมอำเซียน
กำรแข่ งขันเพื่อแย่ งชิง
ทรัพยำกร ตลำด
กำรลงทุน
ผลประโยชน์ แห่ งชำติ
VS
ภูมภิ ำค
ขำดควำมไว้ เนือ้ เชื่อใจ
ควำมขัดแย้ งใน
ประวัตศิ ำสตร์
กฎบัตรอำเซียน (ASEAN Charter)
 เป็ นกำรจัดโครงสร้ ำงของ
อำเซียนใหม่ โดยกำร
ปรับปรุ งระบบและกลไก
กำรทำงำนภำยในอำเซียน
ให้ มีประสิทธิภำพมำกขึน้
 ให้ ควำมสำคัญกับกำรมี
ส่ วนร่ วมของประชำชน
มำกขึน้
เนือ้ หำของกฎบัตรอำเซียน
เป้ำหมำยและหลักกำร
สมำชิก
โครงกำรองค์ กร
กระบวนกำรตัดสินใจ
กลไกระงับข้ อพิพำท
งบประมำณ
สถำนะทำงกฎหมำย เอกสิทธิ
และควำมคุ้มกัน
สำขำควำมร่ วมมือของอำเซียน
ด้านการเมืองและความมันคง
่
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
ประชำคมกำรเมืองและควำมมั่นคง
(ASEAN Political-Security Community)
เป้ำหมำย
เพื่อให้ อำเซียนเป็ นสังคมที่สมำชิกมีควำม
ไว้ เนือ้ เชื่อใจซึ่งกันและกัน มีเสถียรภำพ มีสันติภำพ
และมีควำมปลอดภัยในชีวิตและทรั พย์ สิน
คุณลักษณะของประชำคมกำรเมืองและควำมมั่นคง
 มีกฎเกณฑ์
บรรทัดฐำน และค่ ำนิยมร่ วมกัน
สร้ ำงควำมแข็งแกร่ งแก่ ประชำธิปไตย ส่ งเสริมธรรมำ
ภิบำล และหลักนิตธิ รรม ส่ งเสริมและคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชนและเสรี ภำพขัน้ พืน้ ฐำน โดยระลึกถึงสิทธิ
และควำมรั บผิดชอบของรัฐสมำชิกอำเซียน
คุณลักษณะของประชำคมกำรเมืองและควำมมั่นคง (ต่ อ)
 มีเอกภำพ สงบสุข แข็งแกร่ ง และรั บผิดชอบ แก้ ปัญหำ
ควำมมั่นคง
- ยึดมั่นกับหลักกำรควำมมั่นคงที่ครอบคลุมในทุกมิติ
และคำนึงถึงควำมมั่นคงในรู ปแบบใหม่
- กำรสร้ ำงควำมไว้ เนือ้ เชื่อใจ กำรทูตเชิงป้องกัน และกำร
สร้ ำงสันติภำพหลังควำมขัดแย้ ง
 เป็ นภูมภ
ิ ำคที่มีพลวัตร และรวมตัวกับประชำคมโลก
- ควำมเป็ นศูนย์ กลำง ขับเคลื่อน ARF
สนธิสัญญาไมตรีและความร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Treaty of Amity and Cooperation
in Southeast Asia – TAC)
Southeast Asia Nuclear Weapon Free Zone
สนธิ สญ
ั ญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้
(ASEAN Regional Forum : ARF)
การประชุมอาเซียนว่ าด้ วยความ
ร่ วมมือด้ านการเมือง
และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
(สมาชิก 26 ประเทศ + สหภาพยโุ รป)
ขั้นตอนที่ 1 การเสริมสร้างความไว้เนื้ อเืื่อจ
ขั้นตอนที่ 2 การป้องกันความขัดแย้ง
(การทูตเืิงป้องกัน)
ขั้นตอนที่ 3 การแก้ไขความขัดแย้ง
ประเด็นอำชญำกรรมข้ ำมชำติ
ยำเสพติด
กำรฟอกเงิน
กำรก่ อกำรร้ ำย
กำรค้ ำมนุษย์
กำรลักลอบขนอำวุธ
กำรปล้ นสะดมภ์ ในทะเล
อำชญำกรรมคอมพิวเตอร์
อำชญำกรรมทำง
เศรษฐกิจระหว่ ำงประเทศ
สรุ ปร่ ำงแผนงำนกำรจัดตัง้ ประชำคมควำมมั่นคงอำเซียน
(ASEAN Political Security Community Blueprint)
(1) กำรพัฒนำทำงกำรเมือง เช่ น ส่ งเสริมประชำธิปไตย
(2) สร้ ำงบรรทัดฐำนร่ วมกันในด้ ำนต่ ำงๆ เช่ น
ไม่ สะสมอำวุธนิวเคลียร์ ไม่ ใช้ กำลังในกำรแก้ ไขปั ญหำ
(3) ป้องกันควำมขัดแย้ ง
(4) กำรแก้ ไขปั ญหำควำมขัดแย้ ง
(5) กำรส่ งเสริมสันติภำพและฟื ้ นฟูบรู ณะ
ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน
(ASEAN Economic Community)
เป้ำหมำย
เพื่อให้ ประชำชนของประเทศสมำชิกมีกำรค้ ำขำย
ระหว่ ำงกันมำกขึน้ มีกำรไปมำหำสู่กันได้ อย่ ำง
สะดวก และมีศักยภำพ
ในกำรแข่ งขัน
เปรียบเทียบประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เปรียบเทียบ
ประชำกร 600.15 ล้ ำน
›
สหภำพยุโรป
GDP ขนำด 1.5 ล้ ำนล้ ำนเหรี ยญสหรั ฐ
=
เกำหลีใต้
กำรค้ ำระหว่ ำงประเทศ 1.61 ล้ ำนล้ ำน
เหรี ยญสหรั ฐ
กำรลงทุนโดยตรง 50 พันล้ ำนเหรี ยญ
สหรั ฐ
กำรท่ องเที่ยวระหว่ ำงประเทศ 65 ล้ ำน
=
6 เท่ ำของไทย
=
60% ของจีน
=
อันดับ 2 ของโลก
ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
1. เป็ นตลาดและฐานการผลิตร่วม
เคลื่อนย้ ายสินค้ าเสรี
เคลื่อนย้ ายบริการอย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายการลงทุนอย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี
เคลื่อนย้ ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน
ปี 2015
3. การพัฒนาเศรษฐกิ อย่างเสมอภาค
ลดช่องว่างการพัฒนา
ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่
สนับสนุนการพัฒนา SMEs
e-ASEAN
นโยบายภาษี
นโยบายการแข่งขัน
สิทธิทรัพย์สนิ ทางปัญญา
การคุ้มครองผู้บริโภค
พัฒนาโครงสร้ างพื้นฐาน
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิ โลก
ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
สร้ างเครือข่ายการผลิต จาหน่าย
จัดทา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
16
คุณลักษณะของประชำคมเศรษฐกิจ
เป็ นตลำดและฐำนผลิตเดียวกัน
เปิ ดเสรีกำรค้ ำ
ลดภำษีเหลือร้ อยละ 0 ในปี 2553
เปิ ดเสรีกำรค้ ำ
บริกำร
เปิ ดเสรีบริกำรเร่ งรัด 4 สำขำ
(e-ASEAN, สุขภำพ ท่ องเที่ยว โลจิสติกส์ )
ส่ งเสริมและคุ้มครองกำรลงทุนระหว่ ำงประเทศ
อำเซียนภำยใต้ หลัก National Treatment
ส่ งเสริมกำรเชื่อมโยงตลำดทุนระหว่ ำงกันและ
พัฒนำตลำดพันธบัตรมำตรกำรเปิ ดเสรีบญ
ั ชีทุน
ลงนำม MRA วิชำชีพ 7 สำขำ (วิศวกร พยำบำล
เปิ ดเสรีกำรลงทุน
เปิ ดเสรีกำร
เคลื่อนย้ ำยเงินทุน
กำรเคลื่อนย้ ำย
แรงงำนฝี มือ
สถำปนิก นักสำรวจ แพทย์ ทันตแพทย์ และนักบัญชี)
คุณลักษณะของประชำคมเศรษฐกิจ
มีขีดควำมสำมำรถ เน้ นกำรดำเนินนโยบำยกำรแข่ งขัน e-ASEAN
ในกำรแข่ งขันสูง กำรพัฒนำโครงสร้ ำงพืน้ ฐำน กำรคุ้มครอง
ทรั พย์ สินทำงปั ญญำ กำรพัฒนำ ICT และ
พลังงำน
มีพฒ
ั นำกำรทำง ส่ งเสริมกำรมีส่วนร่ วมและกำรขยำยตัวของ
SMEs
เศรษฐกิจที่
เท่ ำเทียมกัน ให้ ควำมช่ วยเหลือแก่ สมำชิกใหม่ (CLMV) เพื่อ
ลดช่ องว่ ำงระดับกำรพัฒนำ
มีขีดควำมสำมำรถ เน้ นกำรดำเนินนโยบำยกำรแข่ งขัน e-ASEAN
ในกำรแข่ งขันสูง กำรพัฒนำโครงสร้ ำงพืน้ ฐำน กำรคุ้มครอง
AEC กำรเคลื่อนย้ ำยธุรกิจบริกำรโดยเสรี
ด้ านบริการ ยกเลิกข้ อจากัดในการประกอบการด้ านการค้ า
บริการในอาเซียน โดยอาเซียนได้ เห็นชอบเป้าหมายการเปิ ดเสรี
ภาคบริการทุกสาขาภายในปี ค.ศ.2015 โดยทยอยเพิ่มสัดส่ วน
การถือหุ้นต่ างชาติและการลดอุปสรรคข้ อจากัดอื่นๆ ในการ
ประกอบกิจการ รวมทัง้ การเดินทางไปทางานต่ างประเทศ
ของระดับผู้บริหาร ผู้จัดการ
และวิชาชีพ
อาเซียนสามารถถือหุน้ ได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน
ปี 2549
(2006)
สาขาเรงรั
่ ดการรวมกลุม
่
e-ASEAN (โทรคมนาคมคอมพิวเตอร)์ สุขภาพ/
ทองเที
ย
่ ว/การบิน
่
49%
ปี 2551
(2008)
ปี 2553
(2010)
51%
70%
โลจิ
สติกส์
49%
51%
สาขา
อืน
่ ๆ
49%
51%
ปี 2556
(2013)
ปี 2558
(2015)
PIS: Priority Integration Sectors
70%
70%
เป้ าหมายการเปิ ดเสรีบริการ = 128 สาขาย่ อย
ไทยสามารถขยายธุรกิจบริ การในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น
ท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สุขภาพ ซ่อมรถ ก่อสร้าง การศึกษา เป็ นต้น รวมทั้งดึงดูดการลงทุน
เข้ามาในประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็ นช่องทางให้อาเซียนเข้ามาประกอบธุรกิจบริ การใน
ไทยได้สะดวกขึ้น เกิดการแข่งขัน ทาให้เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึ้น
20
FLEXIBILITY
สามารถไม่เปิดเสรี
ในบางสาขาย่อย
ได้
อาเซียนได้รับการอานวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น
MRA ไมได
่ ้
สาขาวิศวกรรม
MRAs
ข้อตกลงยอมรับร่วม
นักวิชาชีพในอาเซียน
สามารถจดทะเบียนหรือ
ขอใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพในประเทศ
อาเซียนอื่นได้ แต่ยัง
สาขานักสารวจ*
สาขาแพทย์
ต้องปฏิบัติตามกฏ
ระเบียบภายในของ
ประเทศนั้นๆ
สาขาพยาบาล
21
เป็ นการเปิ ด
ตลาด แตเป็
่ น
เพียงการ
อานวยความ
สะดวกใน
สาขานักบัญชี*
ขัน
้ ตอนการ
ขอ
ใบอนุ ญาต
โดยลด
ขัน
้ ตอนการ
ตรวจสอบ/
รับรองวุฒ ิ
สาขาสถาปัตยกรรม
การศึ กษา
หรือความรู้
ทางวิชาชีพ
สาขาทันตแพทย์
* ยังเป็ นเพียง Framework หรือ หลักการกวางๆ
โดยตองมี
การเจรจาใน
้
้
รายละเอียดตอไป
AEC สำขำเร่ งรั ดกำรรวมตัว 12 สำขำ
ท่ องเที่ยว สินค้ ำเกษตร สินค้ ำประมง
ยำนยนต์ ผลิตภัณฑ์ ไม้ ยำง สิ่งทอ กำรบิน
อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสำรสนเทศ
สุขภำพ และลอจิสติกส์
ทำไมต้ องใส่ ใจเกี่ยวกับ
อำเซียน
ตลำดขนำดใหญ่ (ประชำกรเพิ่มขึน้ ต้ นทุนลดลง
ดึงดูดกำรค้ ำกำรลงทุน)
เชื่อมั่น มีภำพลักษณ์ ดี จำกกำรรวมกลุ่ม
เพิ่มกำลังกำรต่ อรอง (อำนำจต่ อรองเพิ่มขึน้ มีแนว
ร่ วมในกำรเจรจำในเวทีโลก ดึงดูดในกำรทำ FTA)
ขยำย/เพิ่มโอกำส กำรค้ ำ กำรลงทุน กำรท่ องเที่ยว
กำรจ้ ำงงำน
มีกำรอำนวยควำมสะดวกทำงกำรค้ ำระหว่ ำงกัน
เพิ่มขีดควำมสำมำรถผู้ประกอบกำร (ใช้ ทรั พยำกร/
กำรเป็ นพันธมิตรกำรค้ ำ ดังนัน้ ต้ นทุนลดลง)
ส่ งเสริมแหล่ งวัตถุดบิ : ประโยชน์ จำกทรั พยำกรใน
อำเซียน (กลุ่มที่มีวัตถุดบิ และแรงงำน คือ เวียดนำม
กัมพูชำ พม่ ำ ลำว)
วัตถุดบิ และต้ นทุนต่ำลง (กลุ่มที่มีควำมถนัดด้ ำน
เทคโนโลยี คือ สิงคโปร์ มำเลเซีย ไทย)
สำมำรถเลือกหำที่ท่ ีได้ เปรี ยบที่สุด (กลุ่มที่เป็ นฐำน
กำรผลิต คือ ไทย มำเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนำม)
ควำมสำคัญของอำเซียนต่ อไทย




กำรเปิ ดเสรี ทำงกำรค้ ำระหว่ ำงประเทศสมำชิกอำเซียนส่ งผลให้ อำเซียนเป็ น
ตลำดส่ งออกอันดับ 1 ของไทยตัง้ แต่ 2545 และเป็ นแหล่ งนำเข้ ำอันดับที่ 2
ตัง้ แต่ ปี 2540 จนถึงปั จจุบัน (รองจำกญี่ปุ่น) ไทยเกินดุลกำรค้ ำกับอำเซียน
นับตัง้ แต่ ปี 2536 เป็ นต้ นมำ
ปั จจุบัน มีมูลค่ ำกำรค้ ำระหว่ ำงกัน 59,250 ล้ ำน USD คิดเป็ นร้ อยละ 21.3
ของมูลค่ ำกำรค้ ำทัง้ หมดของไทยและไทยได้ เปรี ยบดุลกำรค้ ำถึง 1 หมื่นล้ ำน
ดอลลำร์ สหรั ฐฯ
สมำชิกอำเซียนเข้ ำมำลงทุนในไทย 669.43 ล้ ำนดอลลำร์ สหรั ฐ (ประมำณ
20% ของกำรลงทุนจำกต่ ำงประเทศทัง้ หมด) และไทยไปลงทุนในอำเซียน
1,962.01 ล้ ำนดอลลำร์ สหรั ฐ (ข้ อมูลปี 2552)
นักท่ องเที่ยว 4 ล้ ำนคน คิดเป็ นร้ อยละ 30% ของนักท่ องเที่ยวต่ ำงชำติ
ทัง้ หมด (มำเลเซียมำไทยมำกที่สุด)
ตัวอย่ ำงโอกำสจำกประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน
อุตสำหกรรม
ยำนยนต์
• ค่ ำเฉลี่ยในอำเซียนมีรถยนต์ ใช้ 49 คันต่ อประชำกร 1000 คน
• เวียดนำม 5 คัน/ 1000 คน และพม่ ำ 4 คัน/ต่ อ 1000 คน
• ตลำดยำนยนต์ ใน AEC ยังมีโอกำสเติบโตได้ อีกมำก
ทำงกำรเงิน
• ค่ ำเฉลี่ยเงินกู้/วงเงินสินเชื่อ จำกธนำคำรพำณิชย์ 1400 เหรี ยญ สรอ./คน
• แต่ สิงคโปร์ สูงกว่ ำค่ ำเฉลี่ยของอำเซียน โดยมีเงินกู้จำก ธพ. 15000 เหรี ยญ สรอ./คน
• ไทยอยู่ท่ ี 3200 เหรี ยญ สรอ./คน ขณะที่พม่ ำอยู่ท่ ี 7 เหรี ยญ สรอ./คน และอินเดีย 700
เหรี ยญ สรอ./คน
บริกำร
• กำรให้ บริกำรของแพทย์ ในสิงคโปร์ มีสัดส่ วนอยู่ท่ แี พทย์ 170 คน/ประชำกร 1 แสนคน
• ขณะที่ไทยมีสัดส่ วนแพทย์ อยู่ท่ ี 39 คน/ประชำกร 1 แสนคน
บริกำร
ทำงกำรแพทย์
อุตสำหกรรม กำรค้ ำ บริกำร และ กำรท่ องเที่ยว รวมทัง้ ตลำดแรงงำน
จะขยำยตัวมำกขึน้ สำมำรถเป็ นทัง้ โอกำสและข้ อจำกัด ขึน้ อยู่กับ
ควำมสำมำรถในกำรยกระดับและกำรพัฒนำควำมสำมำรถของ
ผู้ประกอบกำรไทย
ประชำคมสังคมและวัฒนธรรม
ASEAN Socio-Cultural Community ASCC
เป้ำหมำย
เพื่อให้ อำเซียนเป็ นสังคมที่มีเอกภำพ
มีควำมเอือ้ อำทรต่ อกัน มีควำมเป็ นอยู่ท่ ดี ี
พัฒนำทุกด้ ำน และมีควำมมั่นคงทำงสังคม
คุณลักษณะของประชำคมสังคมและวัฒนธรรม

กำรพัฒนำมนุษย์
เน้ นการบูรณาการด้ านการศึกษา สร้ างสังคมความรู้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ส่งเสริมการจ้ างงานที่เหมาะสม ส่งเสริม ICT

กำรคุ้มครองและสวัสดิกำรสังคม
ขจัดความยากจน สร้ างเครื อข่ายความปลอดภัยทางสังคม ส่งเสริมความมัน่ คง
และความปลอดภัยด้ านอาหาร การควบคุมโรคติดต่อ

ควำมยุตธิ รรมและสิทธิ
คุ้มครองสิทธิผ้ ดู ้ อยโอกาส แรงงานย้ ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ขององค์กรธุรกิจ
องค์ ประกอบ
ประชำคมสังคมและวัฒนธรรม (ต่ อ)
ส่ งเสริมควำมยั่งยืนด้ ำนสิ่งแวดล้ อม
การจัดการปั ญหาสิ่งแวดล้ อมของโลก ปั ญหามลพิษทาง
สิง่ แวดล้ อมข้ ามแดน การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ
ส่งเสริ มการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 กำรสร้ ำงอัตลักษณ์ อำเซียน
สร้ างความรู้สกึ เป็ นเจ้ าของ อนุรักษ์ มรดกทางวัฒนธรรมของ
อาเซียน ส่งเสริ มการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

บรู ไน
กัมพูชา
อินโดนีเซีย
ลาว
มาเลเซีย
เมียนมาร์ ฟิ ลิปปิ นส์
สิ งคโปร์ ไทย
เวียดนาม
ประชำกรที่อำศัย
อยู่ในเมือง (%
รวม)**
75.7
22.8
53.7
33.2
72.2
33.9
66.4
100
34
28.8
อำยุเฉลี่ย (ปี )*
77.8
62.1
68.5
66.7
73.8
64.2
68.2
81.3
73.8
74.6
กำรลงทะเบียนใช้
โทรศัพท์ มือถือ
(ต่ อ 100 คน) **
109.1
57.7
91.7
64.6
121.3
1.2
85.7
143.9
100.8
177.1
ผู้ใช้ อนิ เตอร์ เนท
(ต่ อ 100 คน)**
50
1.3
9.1
7
55.3
0.2
9
70.1
21.2
27.8
พืน้ ที่ป่ำไม้
(%ของพืน้ ดิน)***
72.8
58.6
52.9
68.9
62.8
49.6
25.3
3.3
37.1
43.6
แหล่ งที่มำ: *
The World Bank (2009 estimates)
** The World Bank (2010 estimates)
*** UNdata (2008 estimates)
ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
ประชาคม
การเมืองและ
ความมันคง
่
ประชาคม
เศรษฐกิจ
ประชาคม
อาเซียน
ประชาคม
สังคมและ
วัฒนธรรม
ประโยชน์ ท่ ไี ทยได้ รับจำกอำเซียน
กำรเมือง
เศรษฐกิจ
สังคม
- มีควำมมั่นคง
ทำงด้ ำน
กำรเมือง
- มีท่ำทีร่วมกัน
ในเวทีระหว่ ำง
ประเทศ
- เพิ่มอำนำจ
- เพิ่มกำรค้ ำ
ลงทุน
- ลดต้ นทุนกำร
ผลิต (วัตถุดบิ
แรงงำน เงินทุน)
- ขยำยตลำด
กำรค้ ำ
- แก้ ไขปั ญหำที่
มีผลกระทบต่ อ
สังคม เช่ นโรค
ระบำดต่ ำงๆ ยำ
เสพติด
- ร่ วมมือกันใน
กำรลด
ใครบ้างที่จะได้รบั ผลกระทบจาก AEC ?
ผู้ค้า
เกษตรกร
ผู้บริโภค
แรงงาน
นักธุรกิจ
นักวิชาชีพ
ประชาชน
AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats)
ขยายการส่งออกเพิ่มขึ้นไปยังอาเซียน
ภาษีนาเข้าเป็นศูนย์
อุปสรรคที่มิใช่ภาษีหมดไป
สามารถนาเข้าวัตถุดิบ /กึ่งสาเร็จรูป จากอาเซียนที่มี
ความได้เปรียบกว่าด้านราคา/คุณภาพ
โอกาสส่งออกสินค้าที่เคยมีภาษีสูงไปยังตลาดอาเซียน
สินค้าประเภทเดียวกันจากอาเซียนเข้ามาแข่ง
ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง
ทาธุรกิจบริการ
ในอาเซียนได้อย่างเสรี
แรงงานฝีมือเคลื่อนย้ายโดยเสรี
ตลาดใหญ่ขึ้น: เกิด economy of scale
ต้นทุนของคู่แข่งก็อาจต่าลงด้วย
ไปตั้งธุรกิจ หรือขยายบริการในอาเซียนได้
ธุรกิจบริการของอาเซียนจะเข้ามาแข่งในไทย
แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ
อาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ ถ้าที่อื่นมีสิ่งจูงใจกว่า
AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats)
การลงทุนเสรีในอาเซียน
ใช้ AEC เป็นฐานการผลิตร่วม
สามารถย้ายฐานการผลิตทั้งหมด/บางส่วนไปยัง
อาเซียนอื่นที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต
เพื่อเสริมความสามารถแข่งขัน
ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอก AEC
คู่แข่งอาเซียนอาจจะเข้ามาแข่งในเขตแดนเรา
เพื่อมาใช้ความได้เปรียบ ของปัจจัยการผลิต
บางอย่าง
ความร่วมมือด้าน
การอานวยความสะดวกทางการค้า
FTA อาเซียนกับคูค
่ า้ ต่างๆ
ASEAN +1, +3, +6
ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง
ต้นทุนโลจิสติกส์ของคู่แข่งในอาเซียนก็จะลดลง
ด้วย หากเขาดีกว่า
ได้เปรียบด้านภาษีนาเข้าเมื่อเทียบกับสินค้าของ
ประเทศคู่แข่งอื่นในตลาดคู่ค้าเหล่านี้
นอกเหนือจากคู่แข่ง 9 ประเทศอาเซียนแล้วยังมี
คู่แข่งเพิ่มจากประเทศ +3 หรือ +6
สิ่ งทีจ
่ ะเกิดขึน
้ กับชุมชนทองถิ
น
่
้
ผูป้ ระกอบการ SMEs
† สามารถนาเข้าวัตถุดิบจากอาเซียน ภาษี 0%
† มีโอกาสขยายตลาดสิ นค้าและบริ การในอาเซียน
† มีโอกาสสร้างพันธมิตรธุรกิจกับผูป้ ระกอบการใน
อาเซียน
― คู่แข่งทางธุรกิจในอาเซียนมากขึ้น อาจถูกแย่งตลาดไป
ธุรกิจภูมิปัญญาท้องถิ่น
† สามารถนาเข้าวัตถุดิบจากอาเซี ยน ภาษี 0%
† มีโอกาสขยายตลาดสิ นค้าและบริ การในอาเซี ยน
† มีโอกาสสร้างพันธมิตรกับผูป้ ระกอบการในอาเซี ยน
― ความท้าทายในการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้
ประชาชน
† มีโอกาสเรี ยนรู้ภาษาและวัฒนธรรมในอาเซียนมากขึ้น
† โอกาสเลือกซื้อสิ นค้า บริ การหลากหลาย ราคายุติธรรม
― อาจได้รับผลกระทบจากสิ นค้าและบริ การที่ไม่ได้
มาตรฐาน
สินค้าทีไ่ ทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ
สินค้าที่ไทยได้เปรียบ
สินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ธัญพืช
ผลไม้สดและแปรรูป อาหาร
สินค้าหัตถกรรม เช่น ผ้าไหม ของตกแต่งบ้าน
สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
รถยนต์และชิ้นส่วน
สินค้าที่ไทยได้เปรียบ
สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิด
เสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ามันปาล์ม (มาเลเซีย)
เมล็ดกาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) และ
ชา (อินโดนีเซีย)
39
บริการทีไ่ ทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ
บริการที่ไทยได้เปรียบ
การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว
อาทิ ร้านอาหาร และโรงแรม
บริการด้านสุขภาพ เช่น โรงพยาบาล บริการสปา
นวดแผนไทย
บริการที่ไทยเสียเปรียบ
สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น
โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุน
และเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและ
ขนาดเล็ก
40
• เตรียมควำมพร้ อมด้ ำนภำษำสำหรับบุคลำกร อำทิ ภำษำอังกฤษ และภำษำท้ องถิ่น เนื่องจำก
อำเซียนใช้ ภำษำอังกฤษเป็ นภำษำกลำงในกำรประสำนงำน ส่ วนภำษำท้ องถิ่นใช้ สำหรับกำร
ติดต่ อสื่อสำร และนักท่ องเที่ยวของสมำชิก
• ส่ งเสริมนักลงทุนไทย ให้ มีประสิทธิภำพและมีควำมพร้ อม ในกำรลงทุนในปะรเทศสมำชิก
อำเซียน พร้ อมทัง้ ข้ อมูลพืน้ ฐำนของประเทศที่ลงทุน อำทิ วัฒนธรรม บทกฎหมำย
• ปรับปรุ งประสิทธิภำพภำคธุรกิจที่เข้ มแข้ งของไทยเพิ่มมำกขึน้ เพื่อรองรับกำรลงทุนจำก
นักลงทุนต่ ำงชำติ และประเทศสมำชิก
• ศึกษำกฎระเบียบและเงื่อนไขกำรนำเข้ ำของประเทศคู่ค้ำ และเร่ งปรั บปรุ งโครงสร้ ำงกำรผลิตให้
สอดคล้ องกับกฎถิ่นกำเนิดสินค้ ำ และมำตรฐำนอำเซียน และควรมีกำรสร้ ำงเครือข่ ำยกำรผลิต
ในสินค้ ำเดียวกัน เพื่อลดกำรแข่ งขัน และเพิ่มกำลังกำรผลิต
ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน
ประเด็นท้ ำทำยจำกอำเซียน… ชีป้ ระเด็นที่ไทยต้ องเร่ งเตรี ยมควำมพร้ อม
ปั ญหำ ASEAN Development
Divide
(ASEAN-6 & CLMV)
ประเด็นด้ ำนตลำดเงินและตลำดทุน?
How to integrate financial markets?
กำรบริหำรจัดกำรและดำเนินนโยบำย
เศรษฐกิจมหภำคในระกับอำเซียน และ
ของแต่ ละประเทศ
กำรเคลื่อนย้ ำยเสรี จำเป็ นต้ องดำเนินกำร
รอบด้ ำน เช่ น cross border transport
agreement, trade facilitation, SPS
issues, logistics cost, Labor migration
regulations เป็ นต้ น
กำรพัฒนำอย่ ำงทั่วถึงและ
ครอบคลุม/กำรมุ่งสู่ Inclusive
growth?
ประชาคมการเมือง
และ
ปัญหาและอุปสรรค
ความมันคงอาเซี
่
ยน
• ประเทศสมาชิกยังยึดติดอธิปไตยและผลประโยชนของ
์
ตัวเอง
• ประเทศไทยกับประเทศสมาชิกบางประเทศยังมี
ความสั มพันธที
่ งึ เครียดซึง่ ส่งผลกระทบตอการรวม
์ ต
่
ภูมภ
ิ าค
ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน
• ผูประกอบการได
รั
้
้ บขอมู
้ ลไมทั
่ ว่ ถึง และขาดขอมู
้ ลในเชิงลึก
• ภาครัฐยังไมมี
่ ด
ั เจน ในการให้สิ ทธิประโยชน์
่ บทกฎหมายทีช
ตอนั
่ กลงทุนไทย
• บุคลากรขาดความสนใจในการเรียนรูภาษาท
องถิ
น
่
้
้
ประชาคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน
• ไทยขาดแหลงความรู
ข
้ ฐานประเทศ
่
้ อมู
้ ลพืน
เพือ
่ นบานที
ช
่ ด
ั เจน เพือ
่ เผยแพรต
้
่ อประชาชน
่
• บุคลากรขาดความสนใจในวัฒนธรรมประเทศ
สมาชิกเพือ
่ นบาน
้
ขอขอบคุณ
www.mfa.go.th/asean
วิทยุสราญรมย์ รายการ « เราคืออาเซียน »
ทุกวันอังคาร เวลา 17.30 – 18.00 น.
AM 1575 KHz