นิโรธ : การแก้ปัญหาความขัดแย้งแนวจิตวิทยาพุทธ

Download Report

Transcript นิโรธ : การแก้ปัญหาความขัดแย้งแนวจิตวิทยาพุทธ

Slide 1

0
1
3
3
0
1
Part 12

เนื ้อหาพิเศษ :การจัดการความขัดแย้ ง


Slide 2

ำอธิบบำยก่
ำยก่ออนเรี
นเรียยนน
คคำอธิ
1. ในบทเรียนแต่ ละบท ก่อน
เรียน ขอให้ นักศึกษาทาแบบ
ประเมินตนเองให้ เสร็จสิ้น
เสี ยก่อน
2. ลองทา โดยพิจารณาคาตอบ
ด้ วยตนเอง ก่อนที่จะทา
แบบทดสอบอืน่ ๆ ต่ อไป


Slide 3

กำรแก้ ปัญหำควำมขัดแย้ งแนวจิตวิทยำพุทธ




Buddhist conflict resolving หรือ
การแก้ ปัญหาความขัดแย้ งแนวพุทธเน้ นการพูด
และพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ในระดับจิตที่สงู ส่ง สูง
แท้ ทางพระพุทธศาสนาเน้ นว่า การชนะส่งเสริ ม
ความเป็ นศัตรู ความอาฆาตมาดร้ าย ส่วนชีวิต
ของผู้แพ้ ย่อมรู้สกึ เจ็บปวด สาหรับชีวิตที่สงบ
อย่างเป็ นสุขแท้ ต้ องหลีกเลี่ยงทังการชนะและ

การแพ้
ดังถ้ อยคาในพระไตรปิ ฎกว่า “Victory
breeds enmity; the defeated
live in pain. The peaceful live
happily, avoiding both victory
and defeat.” (Buddha, c. 563483 BCE)

06/11/51

บทที่ 12 ทักษะการจัดการความขัดแย้ ง


Slide 4

ทุกข์ : กำรแก้ ปัญหำควำมขัดแย้ งแนวจิตวิทยำพุทธ
• พิจารณาและดาเนินการแก้ ปัญหาขัดแย้ งไปตาม
ขันตอนของหลั

กอริ ยสัจสี่นี ้ คือ
• ทุกข์ ผู้ที่เกิดปั ญหาขัดแย้ ง และกาลังตังใจจะ

แก้ ไขอยู่ หากเลือกพุทธจิตวิทยามาใช้ ประโยชน์
ขันแรกก็

ต้องค้ นหาให้ ทราบอย่างชัดเจนว่า ความ
ขัดแย้ งที่เป็ นปั ญหาเร่งด่วน ที่กาลังจะแก้ ไขนัน้ คือ
อะไรแน่

06/11/51

บทที่ 12 ทักษะการจัดการความขัดแย้ ง


Slide 5

สมุทยั : กำรแก้ ปัญหำควำมขัดแย้ งแนวจิตวิทยำพุทธ
• สมุทยั ขันต่
้ อมา จะต้ องค้ นหาสาเหตุแห่งทุกข์
หรื อปั ญหาที่ค้นพบแล้ ว เช่น ต้ นตออยู่
• ที่หวั หน้ างานของท่าน ถ้ าเป็ นปั ญหาระหว่าง
บุคคล อาจเป็ นการรับรู้คลาดเคลื่อน และคิดแต่ง
เติมไปใหญ่โต จนเกิดความเสียหายหลายฝ่ าย ก็
ต้ องวิเคราะห์สาเหตุต้นตอให้ ได้ อย่างชัดเจน
เสียก่อน

06/11/51

บทที่ 12 ทักษะการจัดการความขัดแย้ ง


Slide 6

นิโรธ : กำรแก้ ปัญหำควำมขัดแย้ งแนวจิตวิทยำพุทธ
• นิโรธ ขันที
้ ่ 3 คิดหาแนวทางดับทุกข์ หรื อปั ญหา
ขัดแย้ ง อาทิ หากต้ นตออยู่ที่หวั หน้ างาน
• ของท่าน ก็ขออภิปราย หรื อเสนอเรื่ องร้ องเรี ยน
เพื่อทราบที่ไปที่มา และทบทวนความเป็ นธรรม ถ้ า
เป็ นปั ญหาระหว่างบุคคล ที่มีการรับรู้คลาดเคลื่อน
และคิดแต่งเติมไปใหญ่โต จนเกิดความเสียหาย
หลายฝ่ าย ก็ต้องวิเคราะห์สาเหตุต้นตอให้ ได้ อย่าง
ชัดเจนเสียก่อน

06/11/51

บทที่ 12 ทักษะการจัดการความขัดแย้ ง


Slide 7

มรรค : กำรแก้ ปัญหำควฟำมขัดแย้ งแนวจิตวิทยำพุทธ
• มรรค ขันสุ
้ ดท้ าย ใช้ มรรคมีองค์แปด คือ ใช้ ทกุ องค์
ร่วมกันไป ได้ แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกับปะ
สัมมาวายามะ สัมมาอาชีวะ สัมมากัมมันตะ สัมมา
สัมมาสมาธิ และสัมมาสติ ทังก่
้ อน ระหว่าง และหลัง
การดาเนินการแก้ ปัญหา (ทุกปั ญหาที่คาดว่า แก้ ไขได้
และจาเป็ นต้ องแก้ ไข)
• ท่านต้ องแบ่งเวลาฝึ กสัมมาสมาธิ และสัมมาสติอยู่
ตลอดเวลา เพื่อความหนักแน่น เข้ มแข็ง ในการพูดจา
หารื อ หรื ออภิปรายปั ญหา และคิดหาแนวทางเลือก
แก้ ปัญหา โดยเฉพาะสัมมาทิฏฐิ หรื อการคิดที่ถกู ต้ อง
ต้ องใช้ ตงแต่
ั ้ แรกเริ่ ม ทีละน้ อยทีละขันตอน

และในการ
ใช้ สติพอเหมาะอย่างสม่าเสมอนัน้ ท่านย่อมต้ องเตือน
ตนเองให้ ใช้ สมั มาทิฏฐิ เป็ นหลักเสมอ

06/11/51

บทที่ 12 ทักษะการจัดการความขัดแย้ ง


Slide 8

มรรค : กำรแก้ ปัญหำควำมขัดแย้ งแนวจิตวิทยำพุทธ (ต่ อ)
• โดยเฉพาะสัมมาทิฏฐิ หรื อการคิดที่ถกู ต้ องต้ องใช้ ตงแต่
ั้
แรกเริ่ ม ทีละน้ อยทีละขันตอน

และในการใช้ สติ
พอเหมาะอย่างสม่าเสมอนัน้ ท่านย่อมต้ องเตือนตนเอง
ให้ ใช้ สมั มาทิฏฐิ เป็ นหลักเสมอ (ยกเว้ น ถ้ าต้ องการ
แทรกอารมณ์ เพื่อคลายเครี ยดบ้ าง ก็พกั หรื อหยุดเน้ น
ความถูกต้ อง โดยหันไปเอาใจกัน เพื่อกระตุ้นอารมณ์
ความรู้สกึ ที่ดีกลับมา)
• เมื่อลงมือดาเนินการ ต้ องใช้ ความพากเพียร ใจเย็น
ลง ในการฟั งคูก่ รณีให้ เข้ าใจอย่างเจาะลึก เข้ มข้ น ใน
ขณะเดียวกัน ก็พดู อภิปรายด้ วยวาจา น ้าเสียง ทีม่ ี
สมาธิและสติมากพอ ในเนื ้อหาสาระ ฯ ย่อมต้ อง
คานึงและเน้ นสัมมาอาชีวะ คิดพินิจด้ วยความสุจริ ต
ในหน้ าที่ทางอาชีพ การทางานที่มีจริ ยธรรม ใช้
จรรยาบรรณที่เข้ าใจตรงกันแล้ ว

06/11/51

บทที่ 12 ทักษะการจัดการความขัดแย้ ง


Slide 9

บทสรุ ป

• ถ้ าเป็ นไปได้ สังคมทุกหน่วยงาน ควรจะเน้ นแก้ ปัญหา
ความขัดแย้ งตามแนวทางอันยัง่ ยืน ดังที่กล่าวมา โดย
สนับสนุนให้ ทกุ คนใช้ ศกั ยภาพของตนเองที่มีอยู่
ทางานสร้ างสรรค์ออกมาให้ เต็มที่ เป็ นการเน้ นการแข่ง
กับตัวเอง ให้ มงุ่ เอาชนะตนเองให้ ได้ ว่า ในแต่ละวันนัน้
ตนเองสามารถดึงศักยภาพที่แท้ จริ งของตนออกมา
พัฒนาเกียรติศกั ดิ์ศรี แห่งตน ให้ เพิ่มขึ ้นกว่าวันก่อนๆ
ได้ ทีละน้ อยๆ
• หรื อเน้ นว่า ตนยังคงรักษาสิ่งดีๆ ที่ตนทาได้ แล้ วไว้ ได้
เสมือนเกลือรักษาความเค็ม แล้ วหรื อยัง? (เน้ นคิด
หรื อเขียนคาขวัญตัวใหญ่ๆ น่าอ่านน่าดูไว้ บนหัวเตียง
หรื อนาติดกระเป๋ าเครื่ องแต่งกายว่า “วันนี ้ เราทาดี/
เสริ มราศีแห่งตน ของตน ด้ วยตนเอง เพื่อตน และสังคม
แล้ วหรื อยัง” “ทาดี เดี๋ยวนี ้ สุขใจจัง! ”)

06/11/51

บทที่ 12 ทักษะการจัดการความขัดแย้ ง


Slide 10

06/11/51

สิน้ สุดสำระกำรเรียนรู้สิ ้นสุดสาระการเรียนรู้
กลับสู่หน้ ำหลัก

Click
ขอบคุณค่ ะ