การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

Download Report

Transcript การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

การพัฒนาประสิ ทธิภาพในการทางาน
รหัส 3562404
Efficiency Development
รองศาสตราจารย์ จิตติมา อัครธิติพงศ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
1
•
•
•
•
ประสิ ทธิผล
มี 2 ระดับ คือ
1. ประสิ ทธิผลของบุคคล
2. ประสิ ทธิผลขององค์ การ
2
• ประสิ ท ธิ ผ ลของบุ ค คล คื อ ลั ก ษณะของบุ ค คลที่ มี ค วามสามารถ
ปฏิบัติงานใดๆ หรือปฏิบัติกจิ กรรมใดๆ แล้ วประสบผลสาเร็จ ทาให้ บัง
เกิด ผลตรงและครบถ้ ว นตามที่ไ ด้ ต้ั ง วัต ถุ ป ระสงค์ ไ ว้ ผลที่เ กิด ขึ้น มี
ลักษณะทีม่ ีคุณภาพ เช่ น ความถูกต้ อง ความมีคุณค่ า ความเหมาะสมดี
งาม ตรงกับความคาดหวังและความต้ องการของหมู่คณะ สั งคม และ
ผู้นาผลนั้นไปใช้ เป็ นผลที่ได้ จากการปฏิบัติอย่ างมีประสิ ทธิผล คือ เป็ น
การปฏิบัติด้วยความพอใจ ปฏิบัติเต็มความสามารถ ปฏิบัติด้ วยการ
เลือกสรรกลวิธีและเทคนิควิธีการที่เหมาะสมที่สุดที่จะทาให้ บรรลุผลทั้ง
เชิ ง ปริ ม าณ และเชิ ง คุ ณ ภาพอย่ า งสู ง สุ ด แต่ ใ ช้ ทุ น ทรั พ ยากร และ
ระยะเวลาน้ อยทีส่ ุ ด
3
•
•
•
•
•
•
•
ประสิ ทธิผลขององค์ การ
1. การผลิต (Production)
2. ประสิ ทธิภาพ (Efficiency)
3. ความพึงพอใจ (Satisfaction)
4. การปรับเปลีย่ น (Adaptiveness)
5. การพัฒนา (Development)
องค์ การมีประสิ ทธิผลถ้ าองค์ การสามารถเพิม่ พูนศักยภาพ (Potential)
และวิสัยสามารถ (Capacity) ขององค์ การให้ เจริญก้ าวหน้ าตามการ
เปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้ อม
4
•
•
•
•
ประสิ ทธิภาพ
มี 2 ระดับ
1. ประสิ ทธิภาพของบุคคล
2. ประสิ ทธิภาพขององค์ การ
5
• ประสิ ท ธิ ภ าพของบุ ค คล คื อ บุ ค คลที่ ต้ั ง ใจปฏิ บั ติ ง านอย่ า งเต็ ม
ความสามารถ ใช้ กลวิธีหรือเทคนิคการทางานที่จะสร้ างผลงานได้ มาก
เป็ นผลงานที่ มี คุ ณ ภาพเป็ นที่ น่ าพอใจโดยสิ้ น เปลื อ งทุ น ค่ า ใช้ จ่ า ย
พลังงาน และเวลาน้ อย เป็ นบุคคลที่มีความสุ ขและพอใจในการทางาน
เป็ นบุคคลทีม่ ีความพอใจเพิม่ พูนคุณภาพและปริมาณของผลงาน คิดค้ น
ดัดแปลงวิธีการทางานให้ ได้ ผลดียงิ่ ขึน้ อยู่เสมอ
6
• ประสิ ทธิภาพขององค์ การ คือ การที่องค์ การสามารถดาเนินงานต่ างๆ
ตามภารกิจหน้ าที่ขององค์ การโดยใช้ ทรั พยากร ปั จจัยต่ างๆ รวมถึง
ก าลั ง คน อย่ า งคุ้ ม ค่ า มี ก ารสู ญ เปล่ า น้ อ ยที่ สุ ด มี ลั ก ษณะของการ
ด าเนิ น งานไปสู่ ผลตามวัต ถุ ป ระสงค์ ไ ด้ อ ย่ า งดี โ ดยประหยั ด ทั้ง เวลา
ทรัพยากร และกาลังคน องค์ การมีระบบการบริหารจัดการที่เอื้อต่ อการ
ผลิ ต และการบริ ก ารได้ ต ามเป้ าหมาย องค์ ก ารมี ค วามสามารถใช้
ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ เทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีอย่ างฉลาด ทาให้
เกิดวิธีการทางานที่เหมาะสม มีความราบรื่นในการดาเนินงาน มีปัญหา
อุ ป สรรคและความขั ด แย้ ง น้ อ ยที่ สุ ด บุ ค ลากรมี ข วั ญ ก าลั ง ใจดี มี
ความสุ ขความพอใจในการทางาน
7
• องค์ ประกอบที่นำไปสู่ประสิทธิภำพขององค์ กำร
8
• องค์ ประกอบด้ ำนปั จจัย (Input)
• 1. ปั จจัยมนุษย์ (Human) ได้ แก่
• ควำมสำมำรถ (Abilities)
• กำลังคน (Manpower)
• ควำมคำดหวัง (Expectations)
• พลัง (Energies)
• ควำมต้ องกำร (Needs)
9
• 2. ปั จจัยนอกจำกมนุษย์ (Nonhuman) ได้ แก่
• เงินทุน (Money)
• เครื่องมือเครื่องจักร (Machines)
• วัสดุ (Materials)
• เทคนิควิธีกำร (Methods)
• ที่ดนิ (Land)
10
• องค์ ประกอบด้ ำนกระบวนกำร (Process)
• 1. กำรจัดองค์ กำร ได้ แก่
• จัดโครงสร้ ำง (Organization)
• จัดศักยภำพกำรปรับเปลี่ยน (Dynamics)
• กำรวิเครำะห์ (Analysis)
• กำรกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective)
• กำรกำหนดยุทธศำสตร์ (Strategies)
• กำรกำหนดกลยุทธ์ (Tacties)
11
• 2. กำรจัดระบบตัดสินใจและระบบข้ อมูล ได้ แก่
• กระบวนกำรกำรตัดสินใจ (Decision)
• กำรใช้ ระบบสำรสนเทศเพื่อกำรจัดกำร
(Management Information System)
• กำรจัดระบบสนับสนุน (Support System)
12
• 3.
กำรวำงแผนและควบคุม ได้ แก่
• กำรวำงแผนยุทธศำสตร์ (Strategic planning systems)
• รู ปแบบกำรวำงแผนและวิธีกำรที่ใช้ (Planning methods and
models)
• กำรวำงแผนงำนโครงกำร (Project and program
planning)
• กำรจัดระบบควบคุมและคอมพิวเตอร์ ช่วยควบคุม (Control
systems and Cybernetics)
• กำรวิเครำะห์ ทุนและกำไรเพิ่มประสิทธิภำพ (Cost-benefit
analysis and effectiveness)
• กำรบริหำรบุคลำกรและกำรประเมิน (Human systems
management evaluation)
13
4 องค์ ประกอบด้ ำนผลผลิต (Outputs)
• 1. สินค้ ำและกำรบริกำร (Goods & Service)
• 2. ควำมสำมำรถปฏิบัตขิ ององค์ กำร (Performance)
• 4.
นวัตกรรม (Innovation)
• 3. ระดับกำรเพิ่มผลผลิต (Productivity)
14
• 5. กำรเติบโตและพัฒนำกำรขององค์ กำร ได้ แก่
.กำรขยำยสถำนที่ (Plant)
• กำรขยำยทุน (Capital)
• กำรขยำยบุคลำกร (Personnel)
• กำรใช้ เทคโนโลยี (Technology)
• กำรขยำยตลำด (Markets)
15
•
•
•
•
6.
7.
9.
8.
ภำพพจน์ ขององค์ กำร (Image)
ควำมมุ่งมั่นขององค์ กำร (Commitment)
ควำมพึงพอใจของบุคลำกรและลูกค้ ำ (Satisfaction)
แรงจูงใจขององค์ กำร (Motivation)
16
•
•
•
•
•
องค์ ประกอบกำรพัฒนำประสิทธิภำพในกำรทำงำน
ก. สิ่งแวดล้ อมนอกองค์ กำร
ข. สิ่งแวดล้ อมในองค์ กำร
ค. ปั จจัยขององค์ กำร
ง. กระบวนกำรขององค์ กำร
17
• บุคลิกภาพคือ
• บุคลิกภาพเป็ นลักษณะประจาตัวหรือเฉพาะตัวของบุคคลทีป่ รากฏเป็ นนิสัย
ซึ่งประกอบด้ วย
• ลักษณะทางร่ างกาย เช่ น รู ปร่ าง หน้ าตา กริยา ท่ าทาง
• ลักษณะทางจิตใจ อารมณ์ ความรู้ สึก เช่ น เป็ นคนใจกว้ าง-ใจแคบ ก้ าวร้ าวใจเย็น ขยัน-ขีเ้ กียจ
• ลักษณะทางสติปัญญา เช่ น ฉลาด-โง่ ริเริ่มสร้ างสรรค์ เก่ ง-ไม่ เก่ ง
• ลักษณะทางสั งคม เช่ น เก็บตัว-เปิ ดเผย พึง่ ตนเอง-พึง่ ผู้อนื่ ร่ วมมือ-ไม่
ร่ วมมือ
18
• องค์ ประกอบทีส่ ร้ างบุคลิกภาพ
19
• องค์ ประกอบด้ านพันธุกรรม
• เป็ นลักษณะบุคลิกภาพทีเ่ ป็ นผลของการถ่ ายทอดจากบรรพบุรุษในเรื่อง
ของลักษณะทางร่ างกาย สติปัญญา อารมณ์ และอุปนิสัยทีร่ ับมาจาก
สภาพแวดล้อมของครอบครัว
20
• องค์ ประกอบด้ านความสั มพันธ์ ในครอบครัว
• โดยแสดงถึงการอบรมเลีย้ งดู เช่ น โภชนาการในครอบครัว ความรัก
ความอบอุ่นของครอบครัว การอบรมเลีย้ งดูจากครอบครัว
21
• องค์ ประกอบด้ านกลุ่มคนทีเ่ ป็ นสมาชิก
• กลุ่มคน หรือสั งคมทีเ่ กีย่ วข้ อง ตั้งแต่ วยั เด็กจนถึงวัยทางาน เช่ น เพือ่ น
ในชุ มชน หรือสถานศึกษา
22
• องค์ ประกอบด้ านวัฒนธรรม
• กระแสวัฒนธรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับกิจกรรมในสั งคม ทั้งทางเศรษฐกิจ
การเมือง การปกครอง ทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อการอบรมเลีย้ งดูในครอบครัว
เช่ น วัฒนธรรมสั งคมตะวันตก หรือวัฒนธรรมไทย
23
• ทฤษฎีลกั ษณะนิสัย (Trait Theories)
• Gordon Allport : เชื่อว่ าบุคลิกภาพของบุคคล คือ ลักษณะ
นิสัยหรืออุปนิสัยทีช่ ี้นา ควบคุม ให้ แสดงพฤติกรรมทีส่ อดคล้องกับ
อุปนิสัยของบุคคลนั้นๆ เช่ น เก็บกด-ปล่อยวาง ยอมรับความจริง-เพ้อ
ฝัน แจ่ มใสร่ าเริง-เครียด หรือ ถ่ อมตน-โอ้อวด
24
• ทฤษฎีแรงขับในจิตใจ (Psychodynamic Theories)
• Sigmund Freud : เชื่อว่ าบุคลิกภาพของคนมีพนื้ ฐานมาจากแรง
ขับภายในจิตใจของตนแล้วส่ งผลให้ แสดงพฤติกรรมออกตามแรงขับ
นั้นๆ เช่ น เชื่อและยึดถือในสิ่ งทีด่ ีงาม หรือเชื่อในการแสวงหา
ผลประโยชน์ ทุกวิถีทางเพือ่ ให้ ได้ มา
25
• ทฤษฎีมานุษยนิยม (Humanistic Theories)
• Carl Rogers : เชื่อว่ าบุคลิกภาพของคนเป็ นเช่ นไร ขึน้ อยู่กบั การที่
บุคคลมองตนเอง และมองสิ่ งแวดล้อม โดยกาหนดเป้าหมายของตนไว้
แล้วจึงแสดงพฤติกรรมตามแรงผลักดันนั้นๆ เพือ่ ให้ บรรลุเป้าหมาย เช่ น
มองว่ าตนเองไม่ มีคุณค่ า จึงขาดความเชื่อมั่นในตนเอง และแสดงออก
ถึงความก้าวร้ าว เพือ่ เรียกร้ องความสนใจหรือเพือ่ ประชดสั งคม
26
• การใช้ ประโยชน์ เรื่องบุคลิกภาพ
• ใช้ ประโยชน์ ในการมอบหมายงานทีเ่ หมาะสมกับบุคลิกภาพ เช่ น
บุคลิกภาพทีม่ ุ่งความจริง มุ่งคิดค้น มุ่งสั งคม มุ่งอนุรักษ์ มุ่งจัดการ
มุ่งศิลปะ
27
• ใช้ ประโยชน์ ในการทาความเข้ าใจของพฤติกรรมของบุคคล ว่ ามี
บุคลิกภาพ หรือ อุปนิสัยทีพ่ งึ ปรารถนาหรือไม่ เพือ่ จะได้ควบคุม หรือ
จัดสิ่ งแวดล้อมให้ เหมาะกับบุคคลนั้น
28
• ใช้ ประโยชน์ ในการวัด และประเมินคุณภาพ โดยนาผลทีไ่ ด้ มาประมวล
คาดคะเนว่ าเขามีบุคลิกภาพแบบใด และสามารถนามาใช้ เป็ นข้ อมูล
ส่ งเสริมผู้มีบุคลิกภาพทีด่ ี หรือชี้แนะเพือ่ แก้ไขปรับปรุงพัฒนาบุคคลทีม่ ี
บุคลิกบกพร่ อง
29
• ลักษณะบุคลิกภำพที่สำคัญของผู้บริหำร
• 1. คุณลักษณะบุคลิกภำพที่เกี่ยวกับกำรครองตน
มีประสิทธิภาพ
* อดทน ใจเย็น
* เชื่อมัน่ ในตนเอง
* ซื่อสัตย์
* เห็นแก่สว่ นรวมมากกว่าตนเอง
* กระตือรื อร้ น
* กล้ ายืนหยัดความถูกต้ อง
* ค่านิยมประชาธิปไตย
* ยึดหลักเหตุผล
* ใฝ่ เรี ยนรู้
* คิดกว้ างมองไกล
ด้ อยประสิทธิภาพ
* ไม่อดทน ใจร้ อน
* ไม่เชื่อมัน่ ในตนเอง
* ไม่ซื่อสัตย์
* เห็นแก่ตวั
* เฉื่อยชา
* ไม่กล้ ายืนหยัดความถูกต้ อง
* ค่านิยมเผด็จการอานาจนิยม
* ยึดอารมณ์มากกว่าเหตุผล
* ไม่ใฝ่ เรี ยนรู้
* คิดแคบมองเฉพาะหน้ า
30
• 2.
*
*
*
*
*
*
*
*
*
คุณลักษณะบุคลิกภาพของผู้บริหารเกีย่ วกับการครองคน
มีประสิทธิภาพ
รับรู้ความรู้สกึ ของคนอื่นได้ ไว
มีความสามารถในการสื่อสาร
ให้ ความเชื่อถือยอมรับนับถือผู้อื่น
ใจกว้ างให้ ผ้ อู ื่นมีสว่ นร่วม
มีความจริ งใจ
มีศิลปะการโน้ มน้ าวใจคน
มนุษยสัมพันธ์สงู
ยึดหลักนิติธรรม ไม่เลือกปฏิบตั ิ
ยึดหลักคุณธรรม เช่น เมตตา
*
*
*
*
*
*
*
*
*
ด้ อยประสิทธิภาพ
ไม่รับรู้ความรู้สกึ ของผู้อื่น หรื อรับรู้ได้ ช้า
ด้ อยความสามารถในการสื่อสาร
ไม่ให้ ความเชื่อถือยอมรับนับถือผู้อื่น
ใจแคบยึดความคิดของตนเท่านัน้
ไม่จริ งใจ
ขาดศิลปะการโน้ มน้ าว
มนุษยสัมพันธ์ต่า
ไม่ยดึ หลักนิติธรรม เลือกปฏิบตั ิ
ไม่ยดึ หลักคุณธรรม
31
• 3. คุณลักษณะบุคลิกภำพของผู้บริหำรที่เกี่ยวกับกำรครองงำน
*
*
*
*
*
*
*
มีประสิทธิภาพ
มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
รับผิดชอบต่อผลการตัดสินใจของตน
ทังผลดี
้ ผลเสีย
ทางานโปร่งใสตรวจสอบได้
ปรับปรุงกระบวนการทางานตาม
ข้ อมูลที่มีเหตุผล
มีความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์
มีทกั ษะการจัดการที่ดี
ใช้ กระบวนการที่ดี มีความคุ้มค่า
รับประกันการสัมฤทธิ์ผล
*
*
*
*
*
*
*
ด้ อยประสิทธิภาพ
ไม่ม่งุ ผลสัมฤทธิ์ของงาน
ไม่รับผิดชอบต่อผลการตัดสินใจ อาจ
กล่าวโทษว่าเป็ นความผิดของผู้อื่น
ทางานไม่โปร่งใส ไม่พอใจการตรวจสอบ
ไม่นาข้ อมูลมาใช้ ในการปรับปรุงงาน
ขาดความคิดริ เริ่ มสร้ างสรรค์
ขาดทักษะการจัดการที่ดี
ไม่รับประกันการมีกระบวนการที่ค้ มุ ค่า
ไม่แน่ใจการสัมฤทธิ์ผล
32
• กำรพูดกับตัวเองด้ ำนบวก
(Positive self-talk)
• 1. ฉันทาได้
• 2. ฉันไปถึงจุดมุง่ หมายที่ตงไว้
ั ้ ได้
• 3. ฉันแข็งแรงขึ ้นทุกวัน
• 4. ฉันมัง่ มีเงินทอง
• 5. ฉันเรี ยนเก่ง
• 6. ฉันมีความจาดี
• 7. ฉันมีเจตคติด้านบวก
•
•
•
•
•
8. ฉันเข้ าใกล้ จดุ หมายของฉัน
9. น ้าหนักตัวของฉันลดลง
10. ฉันเป็ นคนกระตือรื อร้ น
11. ฉันอ่านหนังสือได้ รวดเร็ว
12. ฉันจับใจความหนังสือที่อ่าน
ได้ มาก
• 13. ฉันได้ อยู่กบั ลูกๆ
• 14. ฉันสุขสบายดี
• 15. ฉันมีคนรักฉัน
33
• ทาไมต้ องสร้ างแรงจูงใจ
• เพือ่ ช่ วยกระตุ้น ผลักดัน ชักจูงให้ บุคคล ทา หรือ ไม่ ทา พฤติกรรมไป
ในแนวทางใดแนวทางหนึ่ง
• ช่ วยให้ เกิดความเข้ าใจถึงปัจจัยที่มอี ทิ ธิพลต่ อการกาหนดลักษณะ
แรงจูงใจของบุคคลในการทางาน (ว่ าอะไรคือสิ่ งทีเ่ ขาต้ องการ)
• ช่ วยให้ สามารถจัดสภาพแวดล้อม และเงื่อนไขในการทางาน ให้ เป็ นที่
พึงปรารถนาต่ อบุคคล
34
• แรงจูงใจเกิดขึน้ จากอะไร
• เกิดจากความต้ องการ (Needs) ของมนุษย์ จึงเป็ นแรงกระตุ้น
ผลักดันให้ เกิดการใช้ สิ่งจูงใจ (Motivation) เพือ่ ให้ บุคคลมี
พฤติกรรมอย่ างใดอย่ างหนึ่ง (ในการทางาน)
35
36
• ทฤษฎีการจูงใจ (Theory of Motivation)
• ทฤษฎีการจูงใจของมาสโลว์ (Abraham H. Maslow) : เชื่อ
ว่ า...พฤติกรรมของบุคคลเป็ นผลมาจากการสนองความต้ องการ
ตามลาดับขั้น ดังนี.้ ..
37
• ทฤษฎีแรงจูงใจของแมคเคลแลนด์ (Mc Clelland) : เน้ นความ
ต้ องการของมนุษย์ 3 ประการด้ วยกัน คือ
• ความต้ องการความสาเร็จ (Need for achievement) มี
ความสามารถในการปฏิบัติงานและดาเนินงานจนบรรลุเป้าหมาย
• ความต้ องการความสั มพันธ์ ทดี่ ี (Need for affiliation)
ต้ องการความรักใคร่ ชอบพอ ความเป็ นมิตรจากบุคคลรอบข้ าง
• ความต้ องการอานาจ (Need for power) ต้ องการมีตาแหน่ ง
หน้ าที่ มีอานาจในการบังคับบัญชาและมีอทิ ธิพลเหนือผู้อนื่
38
• ทฤษฎีการจูงใจของเฮิร์ซเบิร์ก (Herzberg) : เน้ นการกระตุ้นให้
ผู้ปฏิบัติงานทางานด้ วยความพึงพอใจ
ทฤษฎีสององค์ประกอบ (Herzberg’s Tow – Factors Theory)
องค์ประกอบการจูงใจ (Motivators
องค์ประกอบการบารุงรักษา (สุขอนามัย)
Factors (Needs))
(Hygiene Factor (Needs))
ความไม่พงึ พอใจ ความพึงพอใจในงาน
ไม่พงึ พอใจ ไม่ปรากฏความไม่พงึ พอใจ
(The job)
สิ่งแวดล้ อม (Environment)
งานที่ท้าทาย การยอมรับ ความรับผิดชอบ การจ่ายค่าตอบแทน สถานภาพ ความมัน่ คง
สภาพการทางาน ผลประโยชน์ นโยบายการ
ลักษณะของงาน โอกาสความก้ าวหน้ า
ความรู้สกึ ต่อความสาเร็จ
บริ หาร ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
39
• การใช้ แรงจูงใจเพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพการทางาน
• 1. การใช้ แรงจูงใจด้ วยรางวัลตอบแทน
• ค่ าตอบแทน
• การเลือ่ นขั้น / ตาแหน่ ง
• สวัสดิการและบริการต่ างๆ
• การให้ เครื่องอานวยความสะดวก
• ให้ โอกาสไปศึกษาอบรมสั มมนา
• การยกย่ องเชิดชู เกียรติ เกียรติบัตร ประกาศเกียรติคุณ
40
• 2. การจูงใจด้ วยงาน
• การหมุนเวียนงาน
• การขยายขอบเขตเนือ้ หางาน
• การมอบหมายงานที่ท้าทาย
• การมอบหมายอานาจหน้ าที่ให้ เพิม่ ขึน้
• 3. การจูงใจด้ วยวัฒนธรรมองค์ การ
• ใช้ วสิ ั ยทัศน์ สร้ างเป้ าหมายอนาคตขององค์ การ
• ใช้ กระบวนการมีส่วนร่ วมในการคิดและตัดสิ นใจ
• ให้ ความสาคัญต่ อความต้ องการของบุคลากร
• ติดตามประเมินผลด้ วยวิธีธรรมชาติ
41
• การสร้ างแรงจูงใจในการทางานและความผูกพันในองค์ การ
• 1. สื่ อสารอย่ างชัดเจนถึงความเชื่อมโยงระหว่ างผลการปฏิบัติงานและ
ผลตอบแทนของพนักงาน
• 2. สร้ างความมัน่ ใจในการประเมินผลการปฏิบัติงานทีส่ ามารถแยกแยะผู้มีการ
ปฏิบัตงิ านดีได้
• 3. ขจัดอุปสรรคในการทางานทีส่ ามารถส่ งผลกระทบในเชิงลบต่ อการสนับสนุน
พนักงาน เช่ น งานทีไ่ ม่ จาเป็ นหรือซ้าซ้ อน
• 4. เลือกคนให้ เหมาะสมกับงาน โดยคานึงถึงคุณสมบัตขิ องตาแหน่ งงานและ
ความสามารถของผู้ทจี่ ะดารงตาแหน่ งงานนั้น
• 5. ติดตามและพัฒนาบรรยากาศในการทางานโดยผู้นา ต้ องมีความสามารถและ
42
มีรูปแบบการบริหารงานทีเ่ หมาะสมเพือ่ จูงใจพนักงาน
• ค่ านิยม คือ
• ความเชื่อทีบ่ ุคคลยึดถือว่ าอะไรคือเป้าหมายทีต่ ้ องการ และอะไรคือ
เป้าหมายทีไ่ ม่ ต้องการ ซึ่งจะเป็ นวิถีทางให้ บุคคลนั้นเชื่อว่ า ถ้ าปฏิบัติ
แล้ว จะไปถึงเป้าหมายทีเ่ ขาต้ องการ
43
• ส่ วนประกอบของค่ านิยมของบุคคล
• 1. ส่ วนประกอบด้ านความรู้ความคิด เช่ น เชื่อว่ าความขยันคือที่มาของ
ความสาเร็จ หรือเชื่อว่ า ค่ าของคนอยู่ทคี่ นของใคร
• 2. ส่ วนประสมด้ านอารมณ์ และความรู้สึก เช่ น มีความสุ ข และพึง
พอใจทีจ่ ะช่ วยกันประหยัดการใช้ พลังงาน หรือรู้สึกว่ าไม่พอใจทีจ่ ะต้ อง
ทางานเพิม่ ขึน้ โดยทีไ่ ม่ ได้ รับผลตอบแทน
• 3. ส่ วนประกอบของการแสดงออกทางพฤติกรรม เช่ น พฤติกรรม
ค่ านิยมทางบวก หรือ พฤติกรรมค่ านิยมทางลบ
44
• ลักษณะค่ านิยมใช้ ชีวติ ประจาวัน
• 1. ค่ านิยมต่ อวัตถุ สิ่ งของ เครื่องใช้ เช่ น พออยู่พอกิน หรือ หรูหรา
ฟู่ ฟ่ า
• 2. ค่ านิยมต่ อลักษณะบุคคล โดย ชื่นชมยกย่ อง ในบุคคลทีม่ ลี กั ษณะ
แตกต่ างกัน เช่ น มีเกียรติ ร่ารวย หรือทุจริตทาผิดกฎหมาย
• 3. ค่ านิยมที่มีต่อการกระทา หรือ กิจกรรมที่ปฏิบัติ เช่ น การปฏิบัติ
ตามประเพณี รักษาศีล 5 หรือ 8 การทดลองอยู่ด้วยกันก่อนแต่ งงาน
หรือการเทีย่ วสถานอบายมุข
45
• คุณสมบัตขิ องคนญี่ปุ่นที่ปลูกฝังให้ กบั พนักงาน
• 1. ตรงต่ อเวลา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
2. รับผิดชอบต่ องานที่ได้ รับมอบหมาย
3. ทางานด้ วยความกระตือรือร้ น
4. สะอาดเป็ นระเบียบ
5. อ่ อนน้ อมถ่ อมตน ไม่ พูดโอ้ อวด
6. ประหยัด รู้ คุณค่ าของเงิน สิ่ งของ และเครื่องใช้ ต่างๆ
7. พิถีพถิ ัน ใส่ ใจในรายละเอียด
8. ซื่อสั ตย์ สุจริต ไม่ คดโกง ระลึกถึงบุญคุณของผู้มพี ระคุณ
9. แยกแยะเรื่องส่ วนตัว และความรับผิดชอบในหน้ าที่
10. ทางานเป็ นทีม
46
• ค่ านิยมทีพ่ งึ ปรารถนา
• 1. ค่ านิยมคุณธรรมจริยธรรม เช่ น การยึดถือหลักธรรมคาสอนทางศาสนา
หรือความขยันหมั่นเพียร ซื่อสั ตย์ มีวนิ ัยในตนเอง ความรับผิดชอบ
• 2. ค่ านิยมประชาธิปไตย เช่ น การเคารพสิ ทธิเสรีภาพของกันและกันให้
โอกาสการมีส่วนร่ วม หรือ ใช้ หลักการแห่ งเหตุผลในการตัดสิ นใจ
• 3. ค่ านิยมวิทยาศาสตร์ เช่ น แก้ ปัญหาด้ วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ เชื่อถือสิ่ งที่
มีหลักฐานความจริง ใช้ เหตุผลในการตัดสิ นใจ รู้ จักการสั งเกต และหา
ความรู้ ความจริงด้ วยตนเอง
• 4. ค่ านิยมการทางาน เช่ น มีความรับผิดชอบในหน้ าที่ ขยัน ไม่ ท้อถอย รัก
และพอใจในงาน เพือ่ ให้ งานสาเร็จ
47
• เจตคติ (Attitude)
• คือการประเมินหรือตัดสิ นเกีย่ วกับความชอบหรือไม่ ชอบในวัตถุ คน
หรือเหตุการณ์ ซึ่งจะสะท้ อนให้ เห็นถึงความรู้สึกของคนคนหนึ่ง
เกีย่ วกับบางสิ่ งบางอย่ าง หรือเป็ นท่ าที หรือแนวโน้ มของบุคคลที่แสดง
ต่ อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งอาจเป็ นบุคคล กลุ่มคน ความคิด หรือสิ่งของก็ได้ โดย
มีความรู้สึกหรือความเชื่อเป็ นพืน้ ฐาน
48
• องค์ ประกอบและปัจจัยที่มีผลกระทบต่ อเจตคติ
• 1. องค์ ประกอบ
• 1.1 ด้ านความรู้ ความเข้ าใจ
• 1.2 ด้ านอารมณ์ และความรู้ สึก
• 1.3 ด้ านพฤติกรรม
• 2. ที่มาของเจตคติ
• 2.1 จากประสบการณ์
• 2.2 จากการเรียนรู้
• 2.3 จากการเลียนแบบผู้อนื่
49
•
3.
หน้ าทีข่ องเจตคติ
• 3.1 หน้ าที่เป็ นเครื่องมือ
• 3.2 ทาหน้ าที่ปกป้ องอัตตาของตน
• 3.3 หน้ าที่แสดงออกซึ่งค่ านิยม
• 3.4 หน้ าที่ด้านความรู้
•
4.
ประโยชน์ เจตคติ
• 4.1 กระตุ้นความกระตือรือร้ น
• 4.2 เพิม่ พูนความคิดริเริ่ม
• 4.3 เป็ นเหตุให้ สิ่งทีด่ เี กิดขึน้
•
5.
ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่ อเจตคติ
คลืน่ สภาพแวดล้อม
• 5.2 ปัญหาภาพลักษณ์ ของตนเอง
• 5.3 ลอยไปตามกระแสลม
• 5.1
50
• วัฒนธรรมองค์ การ
• วัฒนธรรมองค์ การคือ ปรัชญา ความเชื่อร่ วมกันขององค์ การ ที่
สะท้ อนถึงค่ านิยม และเจตคติร่วมกัน
• เป็ นมาตรฐานกระบวนการของการปฏิบัติ และเป็ นสิ่ งประดิษฐ์ คิดค้ น
ด้ านวัตถุ
51
• ลักษณะวัฒนธรรมทีด่ ี
• 1. เป็ นวัฒนธรรมที่มาจากสมาชิกในองค์ การ ร่ วมกันกาหนดขึน้ มา
เช่ น ปรัชญา อุดมการณ์ สั ญลักษณ์ เอกลักษณ์
• 2. เป็ นวัฒนธรรมทีอ่ ยู่บนผลประโยชน์ ความสนใจ ความจาเป็ น และ
ความต้ องการร่ วมกัน เช่ น การลดต้ นทุน แต่ รักษาคุณภาพสิ นค้าไว้
การคืนกาไรแก่ลูกค้ า การประหยัดพลังงานและทรัพยากรร่ วมกัน
• 3. เป็ นวัฒนธรรมที่พร้ อมต่ อการปรับเปลีย่ นให้ ทันสมัยต่ อการ
เปลีย่ นแปลงของโลก เช่ น การบริหารจัดการรูปแบบใหม่ ๆ (TQM /
MBO / Balance Scorecard)
52
• บทบาทของผู้บริหารจัดการในการสร้ างวัฒนธรรมเพือ่ เพิม่
ประสิ ทธิภาพ
• 1. การสร้ างวัฒนธรรมชี้นาองค์ การ
• 2. การสร้ างวัฒนธรรมความทันสมัย
• 3. การสร้ างวัฒนธรรมผนึกกาลังสามัคคี
• 4. การสร้ างวัฒนธรรมค่ านิยมที่ดงี าม
• 5. การสร้ างวัฒนธรรมจงรักภักดีและความพอใจ
53
• การสร้ างวัฒนธรรมชี้นาองค์ การ
• ศึกษาแนวโน้ มการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติและของโลก
• การกาหนดวิสัยทัศน์ ขององค์ การในอนาคต
• ประเมินจุดอ่ อน และจุดแข็งขององค์ การ เพือ่ กาหนดแนวทางการพัฒนา
• การกาหนดยุทธศาสตร์ โดยสอดคล้ องกับจุดเด่ นขององค์ การ
• ทดลอง และประเมินแนวคิดตามยุทธศาสตร์ ทเี่ ลือก
• ประกาศนโยบาย และทิศทางการดาเนินงาน
• ประเมินผลการบรรลุเป้ าหมายเพือ่ สร้ างความภาคภูมใิ จในผลงานร่ วมกัน
54
• การสร้ างวัฒนธรรมความทันสมัย
• ความต้ องการของลูกค้า คือ เป้าหมายสู งสุ ด
• ใช้ หลักการมีส่วนร่ วมในองค์การ
• สร้ างผลผลิต และบริการทีไ่ ด้ มาตรฐาน
• นาเทคโนโลยีมาใช้ เพือ่ คุณภาพของงานและการประหยัด
• สามารถตรวจสอบการทางานได้ อย่ างโปร่ งใสในทุกขั้นตอน
55
• การสร้ างวัฒนธรรมผนึกกาลังสามัคคี
• การสร้ างปรัชญา คาขวัญ คติพจน์ ขององค์การ
• กาหนดสั ญลักษณ์ และเอกลักษณ์ ขององค์ การ
• มีการออกแบบอาคารสถานที่ ให้ มีลกั ษณะเฉพาะ
• การกาหนดเครื่องแต่ งกาย และเครื่องใช้ ที่ออกแบบเป็ นของ
องค์ การ
• มีการกาหนดประเพณีต่างๆ ขององค์ การ เป็ นกิจกรรมร่ วมกัน
56
• การสร้ างวัฒนธรรมค่ านิยมทีด่ ีงาม
• ความมีระเบียบวินัย ความซื่อสั ตย์ ความเพียรพยายาม
• ความรักเมตตา เอาใจใส่ และความเอือ้ อาทรต่ อกัน
• ความรับผิดชอบ และการมีอุดมการณ์ ในการทางานเพือ่ ส่ วนรวม
57
• การสร้ างวัฒนธรรมจงรักภักดีและความพอใจ
• สมาชิกมีความพอใจในการทางานของตน
• สมาชิกมีความพอใจในผลงานขององค์การ
• การสร้ างบรรยากาศการทางานทีม่ ีความรักและความอบอุ่น
• จัดระบบให้ สมาชิกมีสิทธิ์ในการมีส่วนร่ วมเป็ นเจ้ าขององค์ การ
• จัดระบบการสื่ อสารข้ อมูลข่ าวสารต่ อสมาชิกอย่ างทัว่ ถึง
58
• วัฒนธรรมองค์ กรแห่ งการเรียนรู้ (Learning Organization)
• 1. Personal Mastery : มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศและรอบรู้
• 2. Mental Model : มีรูปแบบวิธีการคิดและมุมมองทีเ่ ปิ ดกว้ าง
• 3. Share Vision : การสร้ างและสานวิสัยทัศน์
• 4. Team Learning : การเรียนรู้ร่วมกันเป็ นทีม
• 5. System Thinking : มีความคิดเข้ าใจเชิงระบบ
59
• วัฒนธรรมองค์ กรอัจฉริยะ
(Intelligence Culture)
• 1. มีความมุ่งมัน
่ ที่ชัดเจน
• 2. ตั้งอยู่ในความไม่ ประมาท
• 3. ต้ องมีแผนยุทธศาสตร์
• 4. ใช้ ภาวะผู้นาและแกนนา
• 5. จัดการความสั มพันธ์ ระหว่ างคน
• 6. ทักษะพืน้ ฐานของพนักงาน
• 7. ทักษะการใช้ เครื่องมือให้ เกิดการ
เรียนรู้ อย่ างมีพลัง
•
•
•
•
•
8. ไร้ กาแพง
9. อิสรภาพ บรรยากาศเชิงบวก
10. มีและใช้ การจัดการคนเก่ง
11. มีและใช้ ระบบบันทึกขุมคลังความรู้
12. มีและใช้ ระบบ ICT
(Information
Communication
Technology)
60
•
•
•
•
•
•
•
•
วัฒนธรรมแห่ งการตื่นรู้ (Awakening Culture)
1. ระดับความตื่นเต้ น การตื่นตัว ความฮึกเหิม อยู่ในระดับสู ง
2. มีความร่ วมมือร่ วมใจกันสู ง
3. เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่ าประโยชน์ ส่วนตน
4. มีความไว้ วางใจกันสู ง
5. มีความยืดหยุ่น
6. มีค่านิยมร่ วมกัน
7. มีความเจริญเติบโต ก้าวหน้ าของบุคลากร
61
• เป้าประสงค์ แตกต่ างจากวัตถุประสงค์ กบั ความมุ่งหมายอย่ างไร
• วัตถุประสงค์ : เป็ นผลทีต่ ้ องการได้ รับทันทีทปี่ ฏิบัติกจิ กรรม หรือ
กระบวนการเสร็จสิ้นลง
• ความมุ่งหมาย : เป็ นผลรวมของการปฏิบัติกจิ กรรมหลายๆ อย่ าง แล้ว
ทาให้ บังเกิดผลขึน้ หลังจากทีม่ ีการปฏิบัติกจิ กรรม หรือกระบวนการ
ต่ างๆ แล้ว
• เป้าประสงค์ : เป็ นผลในระยะยาวที่ค่อนข้ างถาวร ที่เกิดขึน้ จากการ
ได้ ผลตามความมุ่งหมายแล้ว
62
• โครงสร้ างของผลระดับต่ างๆ
63
•
•
•
•
•
•
•
เป้าประสงค์ มีความสาคัญต่ อชีวติ และการทางานอย่ างไร
ช่ วยกาหนดทิศทางการดาเนินชีวติ และการทางาน
ช่ วยเพิม่ ความหมายของการดารงชีวติ และการทางาน
ช่ วยเพิม่ แรงจูงใจในการปฏิบตั ิหน้ าทีห่ รือกิจกรรมต่ างๆ
ช่ วยเพิม่ ความพยายามในการปฏิบัติกจิ กรรมต่ างๆ
ช่ วยพัฒนาคุณภาพชีวติ และประสิ ทธิภาพการทางาน
ช่ วยให้ รางวัลตอบแทนเป็ นความภาคภูมิใจ
64
• โดยทัว่ ไปแล้ วเป้ าประสงค์ จะมี 2 ลักษณะคือ
• 1. เป้ าประสงค์ ทแี่ สดงผลเชิงปริมาณ (Quantitative)
ออมเงินได้ เดือนละ 20%
• 1.2 เพิม่ ผลกาไรไม่ ต่ากว่ า 40%
• 1.3 โครงการวิจัยต้ องเสร็ จภายใน 3 เดือน
• 1.4 ผลิตอาหารสาเร็จรู ปได้ ครบทุกชิ้น 100%
• 1.1
• 2.
เป้าประสงค์ ทแี่ สดงผลเชิงคุณภาพ (Qualitative)
ต้ องมีความสามารถในระดับเชี่ยวชาญ
• 2.2 ผลงานมีคุณภาพตามนโยบายที่ต้งั ไว้
• 2.3 เป็ นคนเก่ง มนุษยสั มพันธ์ ดี จิตใจงดงาม
• 2.1
65
• ลักษณะของเป้าประสงค์ ที่ดี
• มีความหมายต่ อตนเอง
• เป็ นเป้ าประสงค์ ทที่ าได้
• เป็ นเป้ าประสงค์ ทวี่ ดั ได้
• เป็ นเป้ าประสงค์ ทสี่ อดคล้ องกับปรัชญาและอุดมการณ์
• เป็ นเป้ าประสงค์ ทมี่ ่ ุงอนาคต
• เป็ นเป้ าประสงค์ ทสี่ อดคล้องกับเป้ าประสงค์ ขององค์ การ
66
• หลักการกาหนดเป้าประสงค์ ของชีวติ และการทางาน
• สารวจจุดเด่ น-จุดด้ อยของตนเอง
• ศึกษาโอกาสในสิ่ งแวดล้อม
• ประเมินทางเลือก
• เป้ าประสงค์ ควรมีลาดับชั้น
• หมัน่ ตรวจสอบและปรับปรุ งเป้ าประสงค์
• พยายามปรับปรุ งวิธีการไปสู่ เป้ าประสงค์
67
• ลักษณะของผู้ทมี่ ีความเชื่อมั่นในตนเอง
• เป็ นคนที่พงึ่ ตนเองและนาตนเองได้
• เป็ นคนนับถือตนเอง เชื่อในความสามารถของตน และไม่ ดูถูกเหยียด
หยามตนเอง
• เป็ นคนทีม่ คี วามคิดเป็ นของตนเอง ไม่ ตกเป็ นทาสความคิดของผู้อนื่
• เป็ นคนที่คดิ ทางบวกว่ าตนเองมีความสามารถทาได้ ไม่ คดิ ทางลบ ว่ าตัว
เราแย่ ไม่ เอาไหน ไม่ ไหว ไม่ ส้ ู
• เป็ นคนทีม่ อี ุปนิสัยทีด่ ี เช่ น เข้ มแข็ง กล้ าหาญ ไม่ ท้อถอย ไม่ หวาดหวัน่
ต่ อความลาบาก มีเหตุผล
68
• แนวทางการพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองของโลว์สตูเลอร์ และโรเบิร์ทสั น
• จัดการกับอารมณ์ และความรู้ สึกทีไ่ ม่ ก่อให้ เกิดผลดีกบั ตนเอง
• เป็ นความคิดทีม่ ตี ่ อสิ่ งต่ างๆ ในแง่ มุมใหม่
• เรียนรู้ แบบของความสาเร็จ
• สร้ าง / พัฒนาความสามารถทีแ่ ตกต่ างจากผู้อนื่ เพือ่ นาไปสู่ ความสาเร็จ
กาหนดผลที่ต้องการและนามายึดถือเพือ่ ปฏิบัติ
• มีความมุ่งมัน่ ไปสู่ ความสาเร็จ
• ทบทวนวิธีการดาเนินการให้ ยดื หยุ่นเพือ่ ไปสู่ เป้ าหมาย
69
• การสร้ างความเชื่อมั่นให้ เกิดกับตนเอง
• ต้ องรู้ และมีความสามารถในเรื่องราวนั้นๆ
• สามารถแสดงพฤติกรรมในสถานการณ์ น้ันได้ ถูกต้ อง และตรงกับความ
คาดหวังของผู้ร่วมสถานการณ์ น้ันๆ
• กล้าแสดงออก
• ยอมรับปฏิกริ ิยาทีอ่ าจได้ รับจากบุคคลอืน่ ๆ
• เด็ดเดีย่ ว มั่นคงในความคิดของตนเอง และพร้ อมทีจ่ ะรับฟังและปรับปรุ ง
เมือ่ พบว่ ามีเหตุผลหรือข้ อมูลทีด่ กี ว่ าจริงๆ
70
•
•
•
•
•
•
•
•
การสร้ างความเชื่อมั่นในตนเอง
1. ต้ องรู้ จักพึง่ ตนเอง
2. ต้ องรู้ จักนั่งแถวหน้ า
3. ต้ องมีความกระตือรือร้ น
4. ต้ องฝึ กการพูดต่ อหน้ าทีช่ ุ มชน และฝึ กพูดแสดงความคิดเห็นในทีป่ ระชุ ม
5. ต้ องฝึ กพูดบวกกับตัวเองบ่ อยๆ ว่ า “ฉันทาได้ ” “ฉันสู้ ตาย”
6. ต้ องฝึ กสบสายตา
7. ต้ องฝึ กมองโลกในแง่ ดี
71
•
•
•
•
•
•
•
•
กลยุทธ์ โครงสร้ างความเชื่อมัน่ ศรัทธาในตัวเอง
1. พึง่ ตนเองได้
2. รู้จักตนเอง
3. ศรัทธาในตนเอง
4. การวัดความกลัว
5. การมีชีวติ อยู่กบั ปัจจุบัน
6. คิดในทางบวก
7. ปลูกฝังอุปนิสัยทีด่ ี
72
• วิธีเพิม่ ความเชื่อมั่นในตนเอง
1.ชมเชยงำนที่ทำ
11. ให้ รำงวัลที่เป็ นตัวตน เช่ น ปำกกำหนึ่ง
ด้ ำม นำ้ ปลำหนึ่งขวด
2.ให้ งำนพิเศษ
12.ยอมรับกฎเกณฑ์ สำคัญในชีวิตของคนอื่น
3. ให้สัญญำณว่ ำ OK เมื่อเห็นด้ วยกับผู้อ่นื
13.บันทึกเหตุกำรณ์ สำคัญ
4.ฟั งอย่ ำงกระตือรือร้ น
14. จัดให้ ผ้ ูบงั คับบัญชำ ชื่นชม ผลงำน
5.เขียนควำมคิดคนอื่นไว้
15.ชีใ้ ห้ เห็นผลดีของกำรกระทำของคนอื่น
6. คิดอย่ ำงเอำจริงเอำจัง
16.ให้ เวลำกับคนอื่น
7.ยอมรับควำมคิดของคนอื่น
17.สนับสนุนกำรกระทำของคนอื่น
8.ยอมรับว่ ำคนอื่นมีควำมแตกต่ ำง
18.ถำมควำมคิดเห็นเรื่องวิธีกำรแก้ ปัญหำ
9.แสดงควำมรู้สึกออกมำ
19.มอบหมำยงำน
10. รับรู้ควำมรู้สึก
20. ขอควำมช่ วยเหลือ
73
• วิธีเพิม่ ความเชื่อมั่นในตนเอง
21.แบ่ งปั นประสบกำรณ์
31. ถำม (ด้ วยควำมเห็นอกเห็นใจเกี่ยวกับ
ปั ญหำของคนอื่น)
22.ยอมรับว่ ำตนผิด
32.จัดหำอุปกรณ์ ชิน้ ใหม่
23. พูดว่ ำ “คุณถูก”
24.กล่ ำวซำ้ คำชมเชย
33.ขอให้ คนอื่นนำกำรประชุมทัง้ สมัย
ประชุมหรือบำงส่ วน
34. สอน สอนงำน สอนสั่ง
25. ทัก “สวัสดี สบำยดี”
35.เรียกชื่อผู้ใต้ บงั คับบัญชำ
26.แสดงควำมคิดด้ ำนบวกเกี่ยวกับผล
ปฏิบตั งิ ำนที่มีปัญหำ
36. กำหนดวัน แล้ วตำมงำน
27. ยกมือไหว้ / จับมือ
37.แบ่ งปั นข่ ำวสำรข้ อมูล
28.ยิม้
38. ให้ เหตุผลอย่ ำงหมดเปลือกสำหรับ
ทิศทำงต่ ำงๆ
29. ถำม-คุย เรื่องที่คนสนใจ
74
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
สาเหตุของการขาดความมัน่ ใจในตัวเอง
1. มักเป็ นคนที่ถูกช่ วยเหลือหรือโอบอุ้มมากไปตั้งแต่ วยั เด็ก
2. มีประสบการณ์ ในชีวติ ที่ไม่ ดี
3. มีสิ่งแวดล้ อมในปัจจุบันที่ไม่ ดี
4. เป็ นคนระแวง มองคนอืน่ ไม่ ดี
5. ตั้งมาตรฐานตัวเองไว้ สูงมาก แล้ วทาตามมาตรฐานที่ต้งั ไว้ ไม่ ได้
6. ชอบดูถูกตัวเอง มีนิสัยจับผิดตัวเองตลอดเวลา
7. พวกอวดเก่ ง หลงตัวเอง
8. ไม่ รู้ จักตัวเองทั้งจุดดี-จุดด้ อย
9. ขาดตัวอย่ างของคนที่มนั่ ใจตัวเองอย่ างเหมาะสมในชีวติ จริง
10. ขาดแรงบันดาลใจที่จะเชื่อมัน่ ตัวเอง
75
• ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์
• 1. วิเคราะห์ โอกาส ข้ อจากัด จุดเด่ น จุดด้ อย (SWOT
Analysis)
• 2. พัฒนาวิสัยทัศน์ (Vision)
• 3. กาหนดพันธกิจ (Mission)
• 4. จัดทาหลักการทีจ
่ ะนาทาง (Guiding Principles)
• 5. พัฒนาวัตถุประสงค์ (Objective)
• 6. กาหนดกลยุทธ์ เฉพาะ (Specific Tactics)
76
•
•
•
•
•
•
•
การใช้ กลยุทธ์ เพือ่ การพัฒนาการบริหารองค์ การ
1. การเสริมสร้ างการสานึกและความมุ่งมั่น
2. การปรับโครงสร้ างขององค์ การ
3. การรื้อปรับระบบกระบวนการดาเนินงาน
4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
5. การจัดการระบบสารสนเทศ
6. การจัดระบบคุณภาพ
77
• การปรับปรุงคุณภาพอย่ างต่ อเนื่อง PDCA
• 1. ขั้นสร้ างแผนการปรับปรุง (Plan)
• 2. การปฏิบัติตามแผนการปรั บปรุ ง (Do)
• 3. การตรวจสอบผล (Check)
• 4. การปฏิบัติเพือ
่ ปรับปรุง (Act)
78
• การประเมินผลงานโดยใช้ Balanced scorecard
• 1. มิติด้านการเงิน (Financial Perspective)
• 2. มิติด้านลูกค้ า (Customer Perspective)
• 3. มิติด้านกระบวนการภายใน (Internal Process
Perspective)
• 4. มิติด้านนวัตกรรมและการเรี ยนรู้ (Learning and
Growth Perspective)
79
• วิธี Six Sigma เพือ่ การสร้ างระดับคุณภาพ
• Six Sigma เป็ นวิธีการเพิม่ คุณภาพของผลผลิตและบริการอย่ าง
เฉียบพลัน ด้ วยการควบคุมปริมาณของความบกพร่ องสู ญเสี ยของ
ผลผลิตหรือการบริการ เพือ่ สร้ างความพึงพอใจสู งสุ ดให้ กบั ลูกค้า
80
• การแบ่ งกระบวนการ Six Sigma
• 1. การปรับปรุงกระบวนการ (Process Improvement)
• 2. การออกแบบกระบวนการ (Process Design and
Redesign)
• 3. การจัดการกระบวนการ (Process management)
81
• กิจกรรม 5 ส
• คือการปรับปรุงสภาพการทางาน เพือ่ เอือ้ อานวยให้ เกิดประสิทธิภาพใน
การทางาน ความปลอดภัย และคุณภาพของงาน
• 5 ส ได้ แก่
•
•
•
•
•
สะสาง (Seiri)
สะดวก (Seiton)
สะอาด (Seiso)
สุ ขลักษณะ (Seiketsu)
สร้ างนิสัย (shitsuke)
82
•
•
•
•
ลักษณะของกิจกรรม 5 ส
1. เป็ นพืน้ ฐานของการบริหารงานอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
2. ทุกคนต้ องมีส่วนร่ วมกับงานในกลุ่มคน
3. ต้ องทางานกันอย่ างต่ อเนื่องเพือ่ ทันต่ อเวลา
83
• วิธีการบริหารจัดการทีด่ ี
• 1. การรับผิดชอบต่ อผล (Accountability)
• 2. การให้ มีส่วนร่ วม (Participation)
• 3. มีความโปร่ งใส (Transparency)
• 4. การยึดหลักความคุ้มค่ า (Cost Effectiveness)
• 5. การยึดหลักนิติธรรม (Legality)
• 6. การยึดหลักคุณธรรม (Ethics)
• 7. ให้ มีการตรวจสอบได้ และรายงานผล (Audit and
Evaluation)
84
• การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน (Sustainable Development)
• คือการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงทีม่ คี วามต่ อเนื่อง สม่าเสมอ มี
กระบวนการสร้ างความเจริญเติบโต และความมีประสิ ทธิภาพของคน
และขององค์ การอย่ างถาวร
85
• การพิชิตหรือเอาชนะ (Overcome)
• คือการกระทาได้ สาเร็จในสิ่ งทีย่ ากลาบาก การแก้ปัญหาให้ หมดไป หรือ
ปัญหาลดลง กระทาตัวรอดพ้นจากสิ่ งขัดขวาง หรือข้ อยุ่งยากต่ างๆ ได้
สาเร็จ
86
•
•
•
•
•
การเข้ าใจพืน้ ฐานเกีย่ วกับปัญหา
1. ปัญหาทีแ่ ท้ จริงคืออะไร
2. ปัญหาเกิดขึน้ ได้ อย่ างไร
3. ปัญหาที่เกิดขึน้ เป็ นวิกฤตหรือไม่
4. ต้ องการอะไรในการแก้ปัญหา
87
•
•
•
•
•
•
กระบวนการในการแก้ปัญหา
1. พบปัญหา
2. หาสาเหตุของปัญหา
3. หาวิธีแก้ปัญหา
4. ตัดสิ นใจว่ าวิธีได้ ดีทสี่ ุ ดในการแก้ปัญหา
5. ลงมือแก้ปัญหา
88
• ตัวอย่ างของปัญหา และการพิชิตปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
ขาดความรู้ความสามารถในเทคโนโลยี
และใช้ เทคโนโลยีไม่ ได้
1
การพิชิตปัญหาและอุปสรรค
พัฒนาตนเองด้ วยการเพิม่ พูนความรู้และความสามารถ ด้ วยการ
เรียนรู้จากแหล่งต่ างๆ
ไม่ ได้ รับการยอมรับจากกลุ่มสาเหตุจาก
การขาดความรับผิดชอบ และแล้งนา้ ใจ
2
ปรับปรัชญาและอุดมการณ์ ของชีวติ เพิม่ การมีค่า ด้ วยการปรับปรุง
บุคลิกภาพอย่ างมุ่งมั่น
งานที่ทาน่ าเบื่อหน่ ายจึงอยากหลบเลีย่ ง
งาน และลาหยุดบ่ อย
มีความท้ อแท้ หมดกาลังใจรู้สึกเป็ นผู้แพ้
ตลอดกาลสิ้นหวังในชีวติ
3
สารวจความถนัด ความสนใจ ความต้ องการของตน และนามาใช้ ใน
การเลือกงานที่ตนถนัดและสนใจ
พบจุดเด่ นของตนเอง เห็นคุณค่าของตนเอง ตั้งเป้ าหมายไม่ สูง
เกินไป เริ่มจากมุ่งปฏิบัตใิ นสิ่งที่ตนทาได้ ภูมิใจในความสาเร็จของ
ตนแม้ จะเป็ นเรื่องเล็กน้ อย ไม่ สนใจที่จะเปรียบเทียบกับผู้อนื่
ทีมงานไม่ ให้ ความร่ วมมือการทางาน
ของกลุ่มล่าช้ าไม่ ได้ ทางานหนักกว่า
ผู้อนื่ แต่ ไม่ สาเร็จเพราะปริมาณงานมาก
เกินไป เวลาไม่ พอ
5
4
สร้ างความเป็ นผู้นาในตนสร้ างความสัมพันธ์ ที่ดใี นกลุ่มแสดงนา้ ใจต่ อ
กัน และให้ ทุกคนมีส่วนร่ วมวางแผน ช่ วยกันกาหนดมาตรฐานการ
ปฏิบัติ วางแผนให้ สอดคล้องกับเวลาและบริหารเวลาเป็ น
89
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
คุณลักษณะของผู้มคี วามสามารถพิชิตปัญหาและอุปสรรค
1. มีปรัชญาและอุดมการณ์ ของชีวติ การทางานที่เหมาะสม
2. มีแรงจูงใจใฝ่ สั มฤทธิ์
3. เห็นคุณค่ าของตนเอง
4. มีค่านิยมที่ดี
5. ใฝ่ รู้ สนใจศึกษาเพือ่ พัฒนาตนให้ ดขี นึ้
6. เชื่อในหลักของสาเหตุและผล
7. มีวธิ ีพชิ ิตปัญหาและอุปสรรคอย่ างมีเหตุผล
8. มีความสามารถในการคิดที่ยดื หยุ่นไม่ ยดึ ติด
9. เชื่อมัน่ กล้ าที่จะคิดทาสิ่ งใหม่ ๆ
90
• กระบวนการแก้ปัญหาและพิชิตอุปสรรค
• 1. กลวิธานปกป้องตนเอง แก้ปัญหาด้ วยวิธีหาเหตุอ้างให้ กบั
ข้ อบกพร่ องของตน
• 2. ใช้ วธิ ีวทิ ยาศาสตร์ แก้ปัญหาโดยการแสวงหาข้ อเท็จจริงจากการ
ตั้งสมมติฐาน เพือ่ แก้ปัญหา โดยการทดสอบ และวิเคราะห์ ข้อมูล เพือ่
นาไปสู่ การตัดสิ นใจต่ อไป
91
• 3. การแก้ปัญหาเชิงประสานสั มพันธ์ ที่ดาเนินการโดยหลายฝ่ าย เพือ่
กาหนดปัญหา พัฒนาแผน พัฒนาปฏิบัติการลงมือทา และติดตาม
ผลงาน
• 4. การใช้ วธิ ีการเชิงระบบ โดยการศึกษาถึงปัญหาและสาเหตุ หลังจาก
นั้นก็จะกาหนดวัตถุประสงค์ และแสวงหาแนวทางเลือก เพือ่ นาไปสู่
วัตถุประสงค์ จากการประเมินทางเลือกทีเ่ หมาะสมเพือ่ นามาใช้
แก้ปัญหา
92
• การพัฒนาตนเพือ่ พิชิตปัญหาและอุปสรรค
• พัฒนาวิธีคดิ แบบโยนิโสมนสิ การ การคิดเป็ น ถูกต้ องตามความจริง โดย
อาศัยการเก็บข้ อมูลอย่ างเป็ นระบบ และคิดเชื่อมโยง ตีความข้ อมูล เพือ่
นาไปใช้ ต่อไป
• การใช้ หลักธรรมในการดาเนินชีวิต เป็ นการดาเนินชีวติ ในวิถีทถี่ ูกต้ อง ดี
งาม ใช้ ปัญญาเป็ นตัวนาในการดาเนินชีวิต แก้ปัญหาด้ วยปัญญา
• การพัฒนากระบวนการทางปัญญา โดยฝึ กในเรื่องดังต่ อไปนี้ สั งเกต
บันทึก นาเสนอ ฟัง ถาม-ตอบ ตั้งสมมติฐาน และตั้งคาถาม ค้ นหา
คาตอบ วิจัย เชื่อมโยงบูรณาการ
• การวางแผนปฏิบัติทดี่ ี ซึ่งเป็ นยุทธศาสตร์ หนึ่งทีช่ ่ วยป้ องกันปัญหา
93
• กระบวนการแก้ปัญหา
94
• หลักการในการแก้ปัญหา
ทุกฝ่ ายต้ องช่ วยหาทางแก้ ไข ทุกคนในหน่ วยงานต้ องร่ วมมือ ร่ วมใจกัน ไม่ ปล่ อยให้
เป็ นของคนใดคนหนึ่ง
2. ช่ วยกันค้ น ช่ วยกันเปิ ดเผย ช่ วยกันค้ นหาว่ า มีปัญหาอะไรบ้ าง เกิด ณ ที่ใด แล้ ว
เปิ ดเผยออกมา
3. คนที่ค้นพบปัญหา จะได้ รับคาชมเชย คนที่หาทางแก้ ไขปัญหา ก็ได้ รับความชื่นชม
4. เมือ่ มีมติหรือรู้ ทางแก้ ไขปัญหาแล้ ว ทุกคนต้ องช่ วยร่ วมแรงร่ วมใจในการแก้ ไข คนที่ไม่
มีส่วนร่ วมต้ องถูกต่ อว่ า
5. กล้ าพูดว่ า มีปัญหา ยอมรับ แล้ วหาทางแก้ ไม่ ใช่ ปกปิ ด ซุกไว้ ใต้ พรม หรือนั่งทับไว้
6. ยอมรับปัญหา แล้ วหาทางแก้ ไข ช่ วยกันออกความคิด หาทางออก หาทางเลือกเพื่อขจัด
ปัญหา
• 1.
•
•
•
•
•
95
• 7. ไม่ โทษหน่ วยงานอืน่ ดูทหี่ น่ วยงานของตนก่ อนว่ า เป็ นต้ นเหตุหรือไม่ ขณะเดียวกัน ไม่
กล่ าวโทษคนอืน่ มีความเห็นอกเห็นใจ ให้ อภัยแล้ วร่ วมมือร่ วมใจขจัดปัดเป่ าปัญหา
• 8. ตอบสนองหน่ วยงานถัดไป โดนการส่ งมอบผลงานคุณภาพแก่ หน่ วยงานถัดไป เรียนรู้ ว่า
หน่ วยงานต่ อจากตนมีความต้ องการ ความจาเป็ นอะไร ทาให้ ได้ ตอบสนองความต้ องการนั้น
• 9. อาศัยข้ อมูล ข้ อเท็จจริง โดยการใช้ 5W 2H (What Where When Why
Who How และ How much, How many)
• 10. ทาตามวงจรเดมมิง่ หรือวงจร 4 ป. (Plan-แปลน, Do-ปฏิบตั ิ, Check-ประเมิน,
Act-ปรับ) ในการวางแผน ในการแก้ ปัญหา
• 11. เมือ่ ได้ ข้อสรุปแล้ ว ทาเป็ นมาตรฐานแล้ วทาตามมาตรฐานนั้น
• 12. หาทางปรับปรุ งอย่ างต่ อเนื่อง ทุกอย่ างมีทางดีขนึ้ กว่ าเดิมเสมอ วันนีด้ กี ว่ าวันวาน พรุ่ งนีม้ ี
ทางดีกว่ าวันนี้
96
• การสร้ างองค์ กรแห่ งความสุ ข (Happy workplace)
• การสร้ างองค์ กรแห่ งความสุ ข คือ การทางานและมีความสุ ขด้ วย “งาน
ทีด่ ีทสี่ ุ ดมาจากคนทีด่ ีทสี่ ุ ด” เพือ่ ที่องค์ กรจะได้ อยู่อย่ างยัง่ ยืน การสร้ าง
ความสุ ขในองค์ กรจึงเป็ นสิ่ งสาคัญในการพัฒนาองค์ กรให้ ประสบ
ผลสาเร็จได้ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริมสุ ขภาพ (สสส.)
ได้ เสนอแนวทางการสร้ างองค์ กรแห่ งความสุ ขประกอบด้ วยความสุ ข
Happy 8 ประการ
97
• 1. Happy Body : การส่ งเสริมสุ ขภาพของพนักงานทั้งกายและใจ
• 2. Happy Heart : กระตุ้นให้ เกิดความเอือ้ อาทรต่ อกันและกัน
• 3. Happy Society : สนับสนุนให้ เกิดความรักความสามัคคีเอือ้ เฟื้ อต่ อชุ มชนและ
สั งคม
• 4. Happy Relax : การสร้ างกิจกรรมบันเทิงผ่ อนคลาย ความเครียดในการทางาน
• 5. Happy Brain : ส่ งเสริมให้ พนักงานหาความรู้ พงึ่ พาตนเอง
• 6. Happy Soul : การส่ งเสริมกิจกรรมทางศาสนา มีศีลธรรมในการดาเนินชี้วดั
• 7. Happy Money : การสนับสนุนให้ พนักงานบริหารการใช้ จ่ายของตนเองอย่ างถูก
วิธี ไม่ เป็ นหนี้
• 8. Happy Family : ส่ งเสริมการสร้ างครอบครัวที่เข้ มแข็งและอบอุ่น
98
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ตัวอย่ างกิจกรรมเพือ่ ก่ อให้ เกิด Happy Woikplace
1. การจัดกิจกรรมกีฬาต่ างๆ การเต้ นแอโรบิค
2. การจัดทาโครงการอาหารสุ ขลักษณะในที่ทางาน
3. การณรงค์ เลิกเหล้ า เลิกบุหรี่
4. การลดอุบัติเหตุ การใส่ อุปกรณ์ ป้องกันทั้งในเวลาทางานและขับขีย่ านพาหนะ
5. การเสริมสร้ างอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ
6. การจัดแข่ งกีฬาที่เน้ นรักความสามัคคี
7. การบริจาคโลหิต
8. การร่ วมงานพิธีกรรมต่ างๆ ของพนักงาน
9. การส่ งเสริมกิจกรรมช่ วยกันดูแลความปลอดภัยในการทางาน
99
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การส่ งเสริมความสุ ขในทีท่ างาน
1. การมองในแง่ ดี (Optimism)
2. การแสดงความขอบคุณ (Gratitude)
3. การให้ อภัย (Forgiveness)
4. การพัฒนาตนเองทางการพูด (Improve yourself-talk)
5. การปลดปล่ อย (Flow)
6. การมีความสุ ขหรือเพลิดเพลินกับสิ่ งทีท่ า (Savor)
7. การมองมุมใหม่ (Reframe)
8. การสร้ างความสุ ขจากสิ่ งทีเ่ ราทาได้ ดี (Building on
strength)
100
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ประโยชน์ การสร้ างความสุ ขในที่ทางาน
ประโยชน์ ต่อพนักงาน
1. มีความสุ ขในการดารงชีวติ อย่ างเหมาะสม
2. มีผลงานที่ดี มีความมัน่ คงในอาชีพ
3. ได้ รับค่ าตอบแทนและสวัสดิการที่ดี
4. เกิดความรู้ สึกว่ าตนเองเป็ นทรัพยากรที่มคี ุณค่ าและมีความสาคัญต่ อองค์ การขึน้
5. มีความสั มพันธ์ ระหว่ างพนักงานและผู้บริหารที่ดขี นึ้
6. มีแรงจูงใจในการทางานมากขึน้
7. มีความรู้ การพัฒนาคุณภาพชีวติ นาไปเผยแพร่ ต่อบุคคลในครอบครัว และชุ มชน
เป็ นประชากรที่มคี ุณค่ า
101
•
•
•
•
•
•
•
การทางานร่ วมกับผู้อนื่ อย่ างมีความสุ ข
1. Positive Thinking คิดแต่ ทางบวก สร้ างโลกสวยงาม
2. Smile การสร้ างความประทับใจ
3. Yours จริงใจให้ กนั ช่ วยเหลือการงาน
4. Compromise สมานสามัคคี ด้ วยการประนีประนอม
5. Human Relations สั มพันธ์ ทดี่ ี สร้ างมิตรผูกพัน
6. Oral Communication สื่ อสารชัดเจน แก้ไขข้ อขัดแย้ ง
102
• เคล็ดลับทางานดีมีความสุ ข
• 1. ปัญหาส่ วนตัวทิง้ ไว้ ที่บ้าน
•
•
•
•
•
•
•
•
•
2. สร้ างพืน้ ที่ผ่อนคลายส่ วนตัว
3. เพือ่ นคือสิ่ งที่ขาดไม่ ได้
4. กินดีสุขภาพดี
5. จัดระเบียบการทางาน
6. เคลือ่ นไหว เดินไปมาบ้ าง
7. อย่ าพยายามเปลีย่ นเพือ่ นร่ วมงาน
8. ให้ รางวัลตัวเองบ้ าง
9. มองโลกในแง่ บวก
10. กล่ าวคาทักทายยามเช้ า
103
•
•
•
•
•
•
•
การทางานอย่ างมีความสุ ข (6Ps)
1. Positive Thinking การมองโลกในแง่ ดี
2. Peaceful Mind
การมีจิตใจที่สงบ
3. Patient
การมีความอดทน
4. Punctual
การตรงต่ อเวลา การมีวินัย
5. Polite
ความสุ ภาพอ่อนน้ อมถ่ อมตน
6. Professional
ความเป็ นมืออาชีพ
104
•
•
•
•
•
•
•
เทคนิคการทางานให้ สาเร็จ
1. การมีทัศนคติทดี่ ีคดิ ในทางบวก
2. การมีจิตใจที่สงบ
3. การมีความอดทน
4. การเป็ นคนตรงต่ อเวลา
5. การเป็ นคนสุ ภาพ อ่อนน้ อมถ่ อมตน
6. ความเป็ นมืออาชีพ
105
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
9 เคล็ดลับการทางานประสบความสาเร็จ
1. ทางานให้ ไปถึงเป้าหมาย
2. เอาใจเขามาใส่ ใจเรา
3. สื่ อความกันให้ มากขึน้
4. มีความคิดไม่ หยุดนิ่ง
5. มุ่งมัน่ ขยันหมัน่ เพียร
6. มีคุณธรรม
7. รักความก้ าวหน้ า
8. ตั้งใจทางานทุกอย่ างให้ ดที ี่สุด
9. วางตัวเป็ นหัวหน้ าที่ดี
106
•
•
•
•
การใช้ หลักธรรมเพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการทางาน
1. มีคุณธรรมต่ อตนเอง คือ มีการครองตนอย่ างเหมาะสม
2. มีคุณธรรมต่ อผู้ร่วมงาน คือ มีการครองคนอย่ างเหมาะสม
3. มีคุณธรรมต่ อหน้ าทีก่ ารงาน คือ มีการครองงานอย่ างเหมาะสม
107
• หลักพุทธธรรม สั งหวัตถุ 4
• เป็ นหลักพุทธธรรม ซึ่งจะเป็ นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจซึ่งกันและกัน เป็ น
เหตุให้ เกิดความรัก ความสามัคคี ดาเนินชีวติ ด้ วยความสุ ข ดังนี้
• 1. ทาน คือ การให้ เป็ นสิ่ งของแก่คนที่ควรมีจิตอาสา มีความเสี ยสละ
• 2. ปิ ยวาจา คือ การเจรจาด้ วยวจีทอี่ ่อนหวาน มีวาจาเป็ นมิตร
• 3. อัตถจริยา คือ การประพฤติในสิ่ งทีเ่ ป็ นประโยชน์ ท้งั ตนเองและผู้อนื่
• 4. สมานนัตตา คือ การวางตนให้ เหมาะสมกับฐานะตนเอง
108
•
•
•
•
พรหมวิหาร 4
1. เมตตา : คือให้ มีความรักใคร่ และปรารถนาทีจ่ ะให้ ผู้อนื่ มีความสุ ข
2. กรุณา : ให้ มีความสงสาร และคิดช่ วยเหลือให้ ผู้อนื่ ดับทุกข์
3. มุฑติ า : คือ มีความยินดีเมื่อผู้อนื่ ได้ ดี มีความสุ ขประสบผลสาเร็จ
ในการดาเนินชีวติ และหน้ าทีก่ ารงาน และพร้ อมกับสนับสนุน
ผู้ใต้ บังคับบัญชา เพือ่ นร่ วมงาน มีความเจริญก้าวหน้ า
• 4. อุเบกขา : คือ วางตนเป็ นกลางปฏิบัติต่อทุกคนเกีย่ วข้ องด้ วยความ
ยุติธรรม เสมอภาคปราศจากความลาเอียง
109
• หลักพุทธธรรม อิทธิบาท 4 เป็ นหลักพุทธธรรมทีท่ าให้ ประสบ
ผลสาเร็จในการทางาน คือ
• 1. ฉันทะ คือ มีความพึงพอใจในงานที่รับผิดชอบ
• 2. วิริยะ คือ มีความขยันหมั่นเพียร อดทน เสี ยสละในการทางานโดย
มุ่งหวังให้ งานประสบผลสาเร็จ
• 3. จิตตะ คือ มีความฝักใฝ่ เอาใจใส่ งานอย่ างต่ อเนื่อง และการทางาน
ด้ วยความระมัดระวัง โดยหวังผลให้ งานประสบผลสาเร็จ
• 4. วิมังสา คือ มีความคิดไตร่ ตรอง หาเหตุผลคิดแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้
และการพัฒนางาน
110
• หลักธรรม อริยทรัพย์ 7 เป็ นหลักพุทธธรรมทีเ่ กีย่ วข้ องกับการครอง
ตน ครองคน ครองงาน คือ
• 1. ศรัทธา คือ เชื่อในสิ่ งทีค่ วรเชื่อ
• 2. ศีล คือ มีความประพฤติเรียบร้ อย
• 3. หิริ คือ มีความละอายต่ อบาป การทุจริตไม่ ซื่อตรง
• 4. โอตตัปปะ คือ มีความสะดุ้ง เกรงกลัวต่ อบาป
• 5. พาหุสัจจะ คือ ความเป็ นคนทีไ่ ด้ รับฟังมามาก
• 6. จาคะ คือ การให้ เป็ นสิ่ งของสาหรับคนทีค่ วรให้
111
112